【#JW部長 視訊出席🇺🇸華府智庫線上研討會 】
昨晚的大家在做什麼啊~
跟朋友吃飯聊天? 趕期末報告?
還是在家翹腳看政論節目?
JW部長 昨晚九點 還在 #魔法部 裡
以多人視訊方式參與華府智庫 #德國馬歇爾基金會
舉辦的 #布魯塞爾論壇 線上研討會呢
部長在這場「後疫情秩序:探討對中國策略」
為主題的會議中分享
🔺台灣面對中國威脅的經驗
🔺台灣在全球關鍵物資產業鏈重組可扮演的角色
🔺我們協助國際社會因應全球性挑戰的努力
JW與談時強調
台灣長年面對中國在國際上的壓迫
而在 #武漢肺炎 疫情大爆發期間
中國的做法更是變本加厲
身處對抗中國壓力的前線
台灣將持續堅守 #民主 的防線
會中多位與談人包括
美國聯邦參議員布蕾波恩 Sen. Marsha Blackburn
美國聯邦參議員昆斯 U.S. Senator Chris Coons
歐洲議會議員包瑞翰 Reinhard Bütikofer
都談到 #武漢肺炎 疫情
凸顯過度依賴中國所主導
關鍵物資產業鏈可能產生的風險
本部新聞稿👉 https://bit.ly/2UrISpO
📖 德國馬歇爾基金會 📖
總部設於美國華府,並在柏林、巴黎、布魯塞爾、華沙等多個歐洲首都設置辦事處,成立宗旨為促進北美及歐洲對跨大西洋及全球議題的瞭解及合作,「布魯塞爾論壇」為該會年度大型會議,議題涵蓋當前重大議題,為美、歐高層政要及意見領袖交流意見的重要平臺。
MOFA minister Joseph Wu took part in the The German Marshall Fund of the United States’ #BrusselsForum online yesterday evening on the theme ‘The Post Pandemic Order: Navigating Approaches to China,’ alongside US senators Sen. Marsha Blackburn and U.S. Senator Chris Coons, MEP Reinhard Bütikofer and senior visiting fellow at the fund, Noah Barkin. During the meeting Minister Wu discussed the shifts in the global geopolitical order in the wake of the #COVID19 pandemic and how democratic principles and transparency helped Taiwan in combating the virus as well as making us an ideal partner for the #US and the #EU.
Watch it here: http://bit.ly/2UuBHNN
#SDG3 #Health #Wellbeing #TaiwanCanHelp #TaiwanIsHelping #TaiwanModel #PostPandemic
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過62萬的網紅Bryan Wee,也在其Youtube影片中提到,...
「postpandemic」的推薦目錄:
- 關於postpandemic 在 外交部 Ministry of Foreign Affairs, ROC(Taiwan) Facebook
- 關於postpandemic 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook
- 關於postpandemic 在 外交部 Ministry of Foreign Affairs, ROC(Taiwan) Facebook
- 關於postpandemic 在 Bryan Wee Youtube
- 關於postpandemic 在 Travel Thirsty Youtube
- 關於postpandemic 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube
postpandemic 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 八卦
"งานวิจัยใหม่บอกว่า เราต้องอยู่ห่างกัน เพื่อรับมือกับโรคโควิด-19 ไปอีกอย่างน้อย 2 ปีครับ" ... และข้อเสนอของผม ในการให้สังคมไทยเดินหน้าต่อไปได้
งานวิจัยใหม่ล่าสุด ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิจัยระดับโลก Science ที่ทำแบบจำลองประเมินการระบาดของโรคโควิด-19 ระบุว่า "มันจะกลับมาระบาดใหม่หรือไม่ในช่วงนี้จนถึงปี 2025 นั้น ขึ้นอยู่กับว่ามนุษยชาติจะมีภูมิต้านทานต่อโรคหรือไม่ ... การทำ Social distancing เป็นระยะทางสังคมนั้น อาจจะต้องยาวนานไปจนถึงปี 2022 (อีก 2-3 ปี) ถึงจะหลีกเลี่ยงไม่ให้มีผู้ป่วยมากจนเกินที่ระบบสาธารณสุขรองรับได้" (ดูรายละเอียดงานวิจัยด้านล่าง)
ผลที่ออกมานี้ ก็ค่อนข้างสอดคล้องกับที่ผมคิดไว้นะ คือเราไม่สามารถสู้จนชนะเชื้อโรคมันได้ อย่างที่หลายๆ คนพยายามจะพูดกัน แต่ต้องหาทางอยู่ร่วมกับมัน จนกว่ามันจะกลายเป็นโรคประจำฤดูกาลไปในที่สุด
วลีที่ว่า "ปิดประเทศ ให้เจ็บแล้วจบ" หรือ "การ์ดห้ามตก ต้องล็อคดาวน์ต่อไป" ก็ไม่น่าจะได้ผลจริง เพราะไม่มีใครตอบได้ชัดเจนว่าจะจบเมื่อไหร่ ขนาดวัคซีนก็ยังไม่รู้เลยว่าจะเสร็จเมื่อไหร่กัน เสร็จแล้วจะมีให้คนไทยเราใช้ได้อย่างปลอดภัยหรือเปล่า หรือต้องมาลุ้นกันอีก
แต่ในมุมกลับข้าง สิ่งที่เห็นแล้วจริงๆ ก็คือสภาพเศรษฐกิจสังคมที่เสื่อมสลายลงเรื่อยๆ ถ้าเป็นมนุษย์เงินเดือนที่ยังไม่ตกงาน หรือข้าราชการ มีคนที่มีเงินเก็บมากๆ ก็คงยังไม่รู้สึกอะไร ... แต่ถ้าเป็นกลุ่มที่หาเช้ากินค่ำ แรงงานรายวัน หรือคนที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว-เดินทาง-บริการต่างๆ ได้รับผลกระทบอย่างแสนสาหัสแน่ๆ ในช่วงเวลาไม่กี่เดือน
แล้วผลกระทบจะย้อนกลับมาที่สังคมโดยรวมอีกครั้ง เมื่อคนยากจนมากขึ้น จะทำให้อาชญากรรมสูงขึ้น ลักเล็กขโมยน้อย จนไปถึงจี้ชิงปล้น ฯลฯ
ผมว่าเราควรจะต้องกลับมาทบทวนกันใหม่ได้แล้วนะ ต้องหาทางออกให้กับธุรกิจและอาชีพต่างๆ ได้เดินหน้าต่อไป ในสภาพที่การ์ดก็ยังไม่ตกด้วย เอาแค่คำว่า social distancing นี่แหละเป็นเกณฑ์สำคัญที่สุดในการขออนุญาตประกอบการต่อ
รัฐบาลควรจะให้สมาคมวิชาชีพต่างๆ หรือห้างร้านหน่วยงานบริษัท รวมถึงสถาบันการศึกษา เขียนแผนประกอบการที่สร้างกฎเกณฑ์ว่า องค์กรของตัวเองจะดำเนินการอย่างไรให้เกิด social distancing ขึ้นบ้าง มีมาตรการด้านสุขลักษณะอย่างไร แล้วอนุญาตเป็นรายๆ ไปถ้าผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
อีกเรื่องที่น่าคิดคือ ช่วงอายุของผู้ติดเชื้อ ซึ่งเราพบว่า วัยเด็กถึงหนุ่มสาวจนถึงวัยทำงาน มักจะไม่ได้มีอาการป่วยอะไรรุนแรงเท่ากับคนที่อยู่ในวัยกลางคนไปจนถึงผู้สูงอายุ
ดังนั้น ก็น่าจะพิจารณาให้คนกลุ่มหนุ่มสาวนี้ได้กลับเข้าสู่สังคมร่วมกันก่อน เมื่อรัฐบาลตัดสินใจแล้วว่ามีความพร้อมที่จะเลิกการล็อคดาวน์ จะได้ไม่ขาดกำลังสำคัญในการดำเนินเศรษฐกิจต่อไป (อันนี้มีงานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ของประเทศอังกฤษ เสนอไว้)
ขณะเดียวกัน การแยกผู้สูงอายุให้ออกห่างจากความเสี่ยงที่จะติดเชื้อโรค จากคนหนุ่มสาวนั้น จะต้องเน้นให้มากขึ้นด้วย เพราะว่ามีโอกาสสูงที่จะเกิดภาวะวิกฤตจนถึงเสียชีวิตได้
--------
งานวิจัยเรื่อง Projecting the transmission dynamics of SARS-CoV-2 through the postpandemic period ของ
Stephen M. Kissler และคณะ ในสารสาร Science ฉบับ 14 Apr 2020
เป็นเรื่องเร่งด่วนที่เราจะต้องเข้าใจอนาคตของการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (SARS-CoV-2) นี้ เราจึงเอาค่าประมาณต่างๆ ที่เคยศึกษาไว้ของเชื้อเบต้าโคโรน่าไวรัส (betacoronavirus) สายพันธุ์ OC43 และ HKU1 จากสหรัฐอเมริกา มาสร้างแบบจำลองการแพร่ระบาดของเชื้อ SARS-CoV-2
เราคาดการณ์ว่า การแพร่ระบาดของเชื้อ SARS-CoV-2 ในหน้าหนาวนั้น อาจจะเกิดขึ้นได้อีก หลังจากคลื่นระลอกแรดของการแพร่ระบาดไปทั่วโลกอย่างรุนแรงนี้ผ่านไปแล้ว
ส่วนประเด็นที่ว่า ศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยขั้นฉุกเฉินนั้นจะเกินระดับที่รับมือไหวหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับความสำเร็จในการทำ social distancing เป็นปัจจัยหลักในการควบคุมโรค
เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดปัญหาดังกล่าว การทำ social distancing นั้นอาจจำเป็นที่จะต้องดำเนินต่อไปจนถึงปี ค.ศ. 2022 .. ในขณะที่การควบคุมโรคด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การรักษาที่มีประสิทธิภาพ และการขยายศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต จะช่วยเสริมความสำเร็จของการทำระยะห่างทางสังคม และการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ (herd immunity)
มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการศึกษาภูมิคุ้มกันวิทยา เพื่อดูว่าคนเราจะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 มากน้อยแค่ไหน และเป็นระยะเวลานานแค่ไหน
และถึงแม้ว่าจะหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคที่พบจะหมดไปแล้ว แต่ก็ต้องยังคงค้นหาผู้ติดเชื้อ SARS-CoV-2 ต่อไป เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคยังสามารถกลับมาเกิดขึ้นใหม่ได้ไปจนถึงปี ค.ศ. 2024.
ข้อมูลจาก https://science.sciencemag.org/content/early/2020/04/14/science.abb5793?utm_campaign=SciMag&utm_source=JHubbard&utm_medium=Facebook
postpandemic 在 外交部 Ministry of Foreign Affairs, ROC(Taiwan) Facebook 八卦
【#台亞會 2歲慶生!! 🎂】
轉眼間 #財團法人台灣亞洲交流基金會
成立兩周年了!!
今天 #JW部長 出席了台亞會的慶生酒會 🥂
見證台亞會成功將 #玉山論壇
打造為國際意見領袖的年度盛事
以及協助政府將 #新南向政策
形塑成台灣對外關係發展的優質品牌 👍🏻
吳部長在致詞時表示
今年 #武漢肺炎 疫情嚴峻
凸顯了全球醫衛合作的迫切性 ⚠️
在當前進入 #後疫情時代
更需仰賴國際間的互助合作
共同 #振興經濟 #防範新一波疫情 👊🏻
#台灣 有能力也願意做出更多貢獻
希望能夠充分展現玉山論壇的精神:
#台灣協助亞洲 #亞洲協助台灣 ❤️
台亞會楊昊執行長在會中宣布
「玉山論壇」專屬網站預計於8月底上線
今年的論壇主題為 #共同打造堅韌未來
將在 #10月8日 隆重登場 🎊
#生日快樂
#世界看見台灣
#台灣走向世界
⛽️ 資訊補給站 ─
台亞會於2018年成立,為台灣第一個聚焦於東南亞及南亞事務的民間政策智庫。在落實「新南向政策」精神下,台亞會宗旨為推動台灣與東協10國、南亞6國及紐澳地區的全方位交流,透過三大領域深度合作 (包含智庫、非政府組織與青年領袖) 以促進亞洲發展共同體意識,並建立長期合作夥伴關係。
台亞會透過五大行動計畫凸顯台灣對亞洲發展的承諾與貢獻:(1) 亞洲青年領袖倡議、(2) 公民社會鏈結計畫、(3) 智庫交流合作網絡、(4) 亞洲區域韌性計畫、(5) 文化藝術交流倡議。
此外,台亞會也舉辦各項國際會議,以及每年的旗艦活動「玉山論壇:亞洲進步與創新對話」系列,推動強化台灣與新南向夥伴國家及社會的雙邊關係,並進一步邀請其他理念相近的國家參與區域對話。
MOFA Minister Joseph Wu attended the two year anniversary celebration for the 臺灣亞洲交流基金會 Taiwan-Asia Exchange Foundation today. During his address, Minister Wu stated that the #COVID19 pandemic is evidence that #DiseasesKnowNoBorders and pointed out the urgent need for global and regional cooperation on #PublicHealth, reinvigorating the economy and preventing future epidemics, as we move into the #PostPandemic era. These will also be the main themes of this year’s #YushanForum, which will be held October 8-9. Minister Wu added that in line with the “Taiwan helps Asia, and Asia helps Taiwan” spirit of the forum, Taiwan will continue to lend assistance to our partners in the #IndoPacific region in the fight against COVID-19.
#TaiwanCanHelp #TaiwanIsHelping #SDG3 #Health #Wellbeing
#TaiwanHelpsAsia #AsiaHelpsTaiwan