น่ากลัวจังครับ ผมสรุปดังนี้สั้นๆ ตามอ่านรายละเอียดได้ครับ
***ไฟป่า/เขาหัวโล้น ทำให้เกิดการกัดเซาะหน้าดินเร็วกว่าปกติถึง 1 พัน – 1 หมื่นเท่า จากงานวิจัยล่าสุด คนไทยมีเวลาไม่นาน ***
ถามว่าเราทำไมแคร์หน้าดิน? รู้ไหมว่าลึกกว่าหน้าดินก็คือ ชั้นหิน ที่มันใช้เวลานานราว 5 หมื่นปีกว่าจะสลายกลายเป็นดินได้เมตรนึง (อ้างอิงลิ้งค์ 3, 5) กระบวนการเกิดอย่างช้าๆ และดินพวกนี้ก็อุดมไปด้วยธาตุอาหาร เพื่อเหมาะแก่การเพาะปลูกหรือป่าไม้ หากหน้าดินพวกนี้ถูกกัดเซาะหลังฝนตกและพัดพาไปลงแม่น้ำ (จึงเห็นว่าแม่น้ำจะสีขุ่นขลั่ก รูป 2-3 คือแม่น้ำน่านหลังฝนตก 2 วัน ในปีนี้) ด้วยอัตราที่รวดเร็ว
ที่หน้าเศร้าคือ ด้วยอัตราการสูญเสียหน้าดินทั่วโลกในปัจจุบัน นักวิทย์ในอเมริกาคำนวณว่า อีก 60 ปีแค่นั้น หน้าดินก็แทบจะไม่เหลือเลยทั่วโลก รายงานนี้ UN ได้กล่าวแถลงอย่างทางการ เดือน ธค. 2014 เกษตรกรปลูกไม่ได้อาหารแพงสุดๆ
แม่น้ำน่านดังรูป ปลาจำนวนมากในแม่น้ำเกิดอาการน็อกน้ำ ปรับสภาพไม่ทัน ขาดออกซิเจน ลอยคอตายเป็นเบือ ดูข่าวลิ้งข้างล่าง ดูเหมือนจะดีที่ชาวบ้านได้ปลาไปง่ายๆ แต่ลูกปลาก็ตายไปด้วย ไม่ทันโตไว้ให้จับทานกันต่อไปภายหน้า
โดย
ดร. ไพโรจน์ ฉัตรอนันทเวช
University of Arizona, USA, และที่ปรึกษา ศูนย์ภัยพิบัติ สถาบันนิด้า กทม.
***ไฟป่า/เขาหัวโล้น ทำให้เกิดการกัดเซาะหน้าดินเร็วกว่าปกติถึง 1 พัน – 1 หมื่นเท่า จากงานวิจัยล่าสุด คนไทยมีเวลาไม่นาน ***
ที่ผ่านมา แอดมินอาจโพสท์หลายเรื่อง แต่ขอบอกว่าหัวข้อนี้คือ specialty (ความเชี่ยวชาญ) ของฉันที่ร่ำเรียน/วิจัยมาในอเมริกาตลอด 14 ปี ในสาย Earth surface (พื้นผิวโลก) โดยเฉพาะเรื่องกัดเซาะและตะกอน ... ในสหรัฐอเมริกานั้น นักธรณีวิทยาตื่นตัวมากในการวิจัยเรื่องไฟป่าและการเคลื่อนที่ของดินหินจากภูเขาลงสู่แม่น้ำเมื่อฝนนำพาลงไป รัฐได้ทุ่มงบวิจัยมากมายหลาย 10 ล้านดอลล่ามาราว 30 ปีอัพ (บางทีก็ร่วมกับวิจัยเรื่องอื่นๆ) งานวิจัยล่าสุดที่ทำโดย ศาสตราจารย์ ดร. Jon Pelletier ที่ฉันกำลังจะทำวิจัยร่วมด้วย (ในเรื่องวิวัฒนาการของมนุษย์และการ ปป. ของพื้นผิวโลกและภูมิอากาศในยุค 2-5 ล้านปีก่อน) ที่มหาลัยรัฐอริโซน่า ท่านพึ่งได้ตีพิมพิ์งานใหม่เกี่ยวกับเรื่องการกัดเซาะหน้าดินบนภูเขาหลังไฟป่าพอดี ซึ่ง ดร. Pelletier กับ นศ ป เอก นั้นโชคดีมาก พวกเขาได้ศึกษาพื้นที่ภูเขาในรัฐนิวเม๊กซิโก ในปี 2007-2010 ในด้านการกัดเซาะของผิวดิน ภูเขานี้ก็มีต้นไม้พอควร พอๆกับในไทยทั่วไป ...ด้วยความโชคดี ปี 2011 มีไฟป่าในระแวกนั้นพอดี ครอบคลุม 2 ใน 7 หุบเขาลุ่มน้ำ (watersheds) ที่พวกเขากำลังศึกษา เขาพบว่า ในหุบเขาที่ถูกเผานี้ ดินและหินถูกกัดเซาะจากผิวและนำพาลงสู่แม่น้ำในที่สุดช่วงฝนตก ในระยะ 12 เดือน เร็วกว่าลุ่มน้ำอื่นที่ไม่โดนไฟป่าปี 2011 มากกว่า 1 พันเท่า ทีเดียว
ถามว่าเราทำไมแคร์หน้าดิน? รู้ไหมว่าลึกกว่าหน้าดินก็คือ ชั้นหิน ที่มันใช้เวลานานราว 5 หมื่นปีกว่าจะสลายกลายเป็นดินได้เมตรนึง (อ้างอิงลิ้งค์ 3, 5) กระบวนการเกิดอย่างช้าๆ และดินพวกนี้ก็อุดมไปด้วยธาตุอาหาร เพื่อเหมาะแก่การเพาะปลูกหรือป่าไม้ หากหน้าดินพวกนี้ถูกกัดเซาะหลังฝนตกและพัดพาไปลงแม่น้ำ (จึงเห็นว่าแม่น้ำจะสีขุ่นขลั่ก รูป 2-3 คือแม่น้ำน่านหลังฝนตก 2 วัน ในปีนี้) ด้วยอัตราที่รวดเร็ว ด้วยฝีมือมนุษย์ จากการเผาป่า หินข้างล่างมันก็เปลี่ยนเป็นดินด้วยกระบวนการทางเคมีธรณีหรือฟิสิกส์ธรณี (เรียกว่า weathering) ไม่ทันในยุคข้างหน้าอันใกล้ (10-50 ปี) สักวันความอุดมของดินก็จะหมดไปในบริเวณนั้น ไม่สามารถใช้เพาะปลูกหรือทำป่าไม้อะไรได้อีกต่อไป เหลือแต่โขดหินเป็นหย่อมๆ .....ปกติ ทั้งรากต้นไม้ ไส้เดือน สัตว์ใต้ดิน พวกนี้ก็ช่วยกระบวนการสร้างดินจากหินด้วย (หลักๆคือเคมี)
ที่หน้าเศร้าคือ ด้วยอัตราการสูญเสียหน้าดินทั่วโลกในปัจจุบัน นักวิทย์ในอเมริกาคำนวณว่า อีก 60 ปีแค่นั้น หน้าดินก็แทบจะไม่เหลือเลยทั่วโลก รายงานนี้ UN ได้กล่าวแถลงอย่างทางการ เดือน ธค 2014 (ดูลิ้งสุดท้าย) ปัญหาพวกนี้ซีเรียสมาก ทั้งในจีน แอฟริกา อินเดีย อเมริกาใต้ (แอดมินเคยบ่นบ่อยๆ ว่าประชากรล้นโลก ไม่งั้นจะมีคนอดตาย ยากจน ดิ้นรนกันขนาดนี้รึ อีกหน่อย สัก 40-50 ปี เมื่อเกษตรกรรมทำได้ยาก หน้าดินหดหาย อาหารขี้คร้านจะแพงสุดๆ คนที่ไม่ค่อยมีเงินก็จะซื้อไม่ได้) ..... นอกจากการเผาป่าแล้ว การใช้สารเคมี ยาฆ่าแมลง ในการเกษตร การพรวนดินทำเกษตร วัวควายกินหญ้า การเปลี่ยนป่าเป็นพื้นที่เกษตร พวกนี้ต่างทำให้หน้าดินหมดไปเร็วมากๆ
ไฟป่าตามธรรมชาตินั้นก็มีในไทย สมัย 25 ปีก่อน แอดมินนั่งรถทัวร์จากเชียงใหม่ไป กทม ก็เห็นได้ยามค่ำคืน ... แต่การเผาโดยมนุษย์นั้นทำให้มันแย่กว่าที่ธรรมชาติจะสมดุลได้ ....55 ปีก่อน ไทยมีประชากรแค่ 26 ล้านคน ตอนนี้เพิ่มขึ้นเป็น 67 ล้าน ทั้งการเกษตรกรรม การทำเพื่อส่งออก เพื่อความอยู่รอดของคนไทย และยังมีการอุตสาหกรรม ที่นายทุนส่งเสริมให้เผาป่า ...คิดไหมว่า ราว 50-60 ปีที่ผ่านมา ผืนป่าหน้าดินในไทยเสียสมดุลจากสิ่งต่างๆเหล่านี้โดยมนุษย์ด้วยอัตราที่รวดเร็วมากๆๆๆๆ มันใช้เวลาเป็นหลายแสนปีที่จะเปลี่ยนจากชั้นหินให้เป็นดิน ในภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ไทย ลึกสัก 5 เมตร (ภาคกลางเป็นเดลต้า ไม่เกี่ยว) แต่ใช้เวลาหลักไม่ถึง 100 ปีในการทำลายหน้าดินพวกนี้อย่างไว .... อย่างที่งานวิจัยข้างต้นแนะนำ การกัดเซาะผิวดินหลังไฟป่านั้น ในช่วง 12 เดือนหลังไหม้ ไวกว่าปกติ (ที่มีป่า) ถึงหลายพันเท่าตัว หากป่าในไทยยังถูกเผาและตัดและหัวโล้นไปเรื่อยๆ ครอบคลุมบริเวณมากขึ้น สักวันเราก็จะไม่เหลืออะไรเลย ไวกว่า “60 ปีข้างหน้า” ที่ UN ว่าไว้อีก ปลูกป่าก็ไม่ค่อยขึ้น ทำการเกษตรก็ไม่ได้ เพราะดินที่อุดมไปด้วยธาตุอาหาร ลงแม่น้ำ ลงอ่าวไทยไปหมดแล้ว .... ทีนี้ ปัจจุบัน ป่าไทยถูกเผาไปด้วยพื้นที่มากแค่ไหน ลองไปหาข่าวอื่นนะฮะ เพราะแอดมินไม่ทราบชัด แต่เท่าที่เห็นก็เยอะพอควร และมันควรจะหยุดได้แล้ว ....
ฝีมือมนุษย์ไม่ใช่แค่เผาป่าเท่านั้น ที่มีผลกระทบ ภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน ที่ CO2 ในบรรยากาศโลกสูงก็เพราะยุคอุตสาหกรรมที่ผ่านมา (โรงไฟฟ้าเผาถ่านหิน ควันรถ ฯลฯ) เมื่อโลกร้อนขึ้น หน้าร้อนร้อนมากแห้งมาก อย่างที่เห็นทุกวันนี้ ไฟป่าก็เกิดบ่อยขึ้นโดยธรรมชาติ เพราะอากาศร้อนและกิ่งไม้เสียดสีกัน อย่างที่เกิดขึ้นที่แคนาดา ไม่นานมานี้ (แอดมินเคยโพสท์ไป) และเป็นไปได้ว่าที่ไฟไหม้ใกล้พระธาตุดอยสุเทพเดือนก่อนก็คงภัยธรรมชาติเช่นกัน ...ในอเมริกาเป็นต้น น้อยมากที่ไฟป่าเพราะคนมือบอนเผา (แบบในไทย อินโดฯ) ส่วนมากแล้วเกิดเอง และงานวิจัยพบแล้วว่า เพราะโลกร้อนทำให้ไฟป่าเกิดบ่อยขึ้นและวงกว้างขึ้น
รูปที่เอามาให้ดูนี้ คือในไทยทั้งสิ้น ผลข้างเคียงของแม่น้ำโคลน ยังมีต่อสัตว์น้ำอีกด้วย แม่น้ำน่านดังรูป ปลาจำนวนมากในแม่น้ำเกิดอาการน็อกน้ำ ปรับสภาพไม่ทัน ขาดออกซิเจน ลอยคอตายเป็นเบือ ดูข่าวลิ้งข้างล่าง ดูเหมือนจะดีที่ชาวบ้านได้ปลาไปง่ายๆ แต่ลูกปลาก็ตายไปด้วย ไม่ทันโตไว้ให้จับทานกันต่อไปภายหน้า
บางคนอาจสงสัยว่า อ้าว ก่อนหน้าที่สยามประเทศจะกำเนิดมามีคนอยู่ เป็นล้านๆปี ธรรมชาติไม่สร้างดินลึกเป็นร้อยๆเมตรรึ ...คำตอบคือไม่ เมื่อดินถูกสร้างจากหินได้สัก 5-10 เมตร มันก็แทบจะหยุดสร้างละ เพราะอัตราการสร้างดินจะลดลงอย่างมากเมื่อชั้นดินหนาขึ้น เหตุเพราะกระบวนการเคมีที่ว่า มันอาศัย อากาศ ความร้อน ความชื้น เป็นปัจจัย...อันนี้คือ พื้นที่ๆเป็นเขา อย่างภาคเหนือไทยน่ะ ....แต่อย่างพื้นที่ กทม และปริมลฑล นี้เป็นเดลต้า/สามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (ดินเหนียว ที่ตวัดกวัดแกว่งในช่วงน้ำหลากน้ำท่วมทำให้ทับถมเป็นชั้นดินในที่ราบลุ่ม) จึงมีดินเหนียวลึกเป็น 30 เมตรได้
ก่อนจบ คนที่อยากรู้ลึกเรื่องธรณีวิทยา ว่า ดร. Pelletier รู้ได้ไงว่า การกัดเซาะหลังไฟป่า เร็วกว่าปกติถึง 1พัน-1 หมื่นเท่า ...เดี๋ยวนี้ในแวดวงธรณีในอเมริกา มีการบินเครื่องบินเล็กและยิงเลเซอร์ที่เรียก LiDAR เยอะมาก ผลที่ได้คือแผนที่แสดงระดับผิวดิน (เรียก topographic map or DEM) ในบริเวณกว้าง (ดูรูปสุดท้าย) เรียกได้ว่า pixel ขนาด 1 X 1 เมตรเลย และสามารถลบเอาต้นไม้ออกได้ด้วยในแผนที่ จึงได้แผนที่ ที่ละเอียดมาก แผนที่พวกนี้มีประโยชน์ในหลายด้าน เช่นการเปรียบเทียบแผนที่ก่อนและหลังไฟป่า (หลังไฟป่า เขาบินเก็บ LiDAR อีก 4 ครั้งใน 2 ปี) เพื่อคำนวณหาปริมาตรดิน/หินที่ถูกพัดพาไปตอนฝนตกหลังไฟป่า และการวัดหาอัตราการกัดเซาะของดินหรืออายุของมันในพื้นที่อื่นๆนั้น ยังใช้วิธีเคมีธรณีที่เรียก Geochronology กรณีนี้เขาใช้การวัดหาธาตุ beryllium-10 ในตัวอย่างน้ำที่เก็บในแม่น้ำในลุ่มน้ำบ่อยๆ ตลอด 5 ปี ธาตุนี้ถูกใช้บ่อยๆในการหาอายุของดิน/หิน (เช่นอายุของชั้นทรายจากสึนามิที่อินโดนีเซีย ทำให้รู้ว่า สึนามิตอนนั้นเกิดเมื่อไหร่? 500 ปีก่อน ทำนองนั้น) ...ปริมาณของธาตุไอโซโทป beryllium-10 นี้จะเปลี่ยนแปลงไปตามการ expose ของดิน/หินต่อแสงอาทิตย์ …….พวกเขาพบว่า การกัดเซาะหน้าดินในป่าธรรมชาตินั้น 90% เกิดหลังไฟป่านี้เอง ในช่วงที่ไม่โดนเผาแทบจะไม่ค่อยกัดเซาะเท่าไหร่
โดย
ดร. ไพโรจน์ ฉัตรอนันทเวช
University of Arizona, USA, และที่ปรึกษา ศูนย์ภัยพิบัติ สถาบันนิด้า กทม.
อ้างอิง
https://uanews.arizona.edu/…/postwildfire-erosion-can-sculp…
http://onlinelibrary.wiley.com/…/10.1…/2015JF003663/abstract
https://en.wikipedia.org/wiki/Topsoil
http://www.thaiday.com/Local/ViewNews.aspx…
http://world.time.com/…/14/what-if-the-worlds-soil-runs-out/
http://www.scientificamerican.com/…/only-60-years-of-farmi…/
un wiki 在 杰宇的法文邂逅 Facebook 八卦
【 🇨🇭瑞士甜點師傅把點心做成「金磚狀」、取名「銀行家」!? 這款點心竟然聞起來像「毒藥」😂! 】
連假期間,很多朋友,應該累積大量的『甜點經驗值』吧!那麼,你們最喜歡的『法式甜點』又是什麼呢?😙
到了法國,很多朋友會去甜點店 « les pâtisseries » 「朝聖」,品嚐著名的法式甜點,像是「馬卡龍」« les macarons » ,就是大家必嚐的點心。今天要推薦大家的,是一款「高貴不貴」的法式甜點 —「費南雪」« le financier »。原版的費南雪,是一款充滿杏仁香氣的蛋糕,不過現在法國的甜點店也推出很多新口味,像是巧克力、開心果都是常見口味。
費南雪的主要原料跟馬卡龍差不多,使用的都是杏仁粉、砂糖、蛋白、麵粉。但是費南雪的做法比馬卡龍容易得多,大家如果喜歡自己挑戰烘焙,可以試試看費南雪,因為它的「成功機率」很高!
費南雪在法國是一款銅板美食,在下午茶時間非常受歡迎。在法國的甜點店購買費南雪的時候,大家可能會注意到,費南雪其實有幾種不同名稱,其中最常見的就是:« le financier » 跟 « les visitandines »,下面跟大家分享關於這款國民美食的有趣故事!
👉🏽為什麼費南雪的法文跟「銀行家」是同一個字呢?
「金融」的法文是 « la finance »,「銀行家」則是是 « les financiers »,跟費南雪蛋糕是同一個字,大家知道為什麼嗎?
今日的費南雪大約在1890年開始流行。當時,有一位來自瑞士的甜點師傅,叫做 « Lasne »,他擁有一家甜點店,位於巴黎證券交易所的旁邊。
Lasne 的客戶大多是在證券交易所工作的「銀行家 」。這些銀行家工作非常忙碌,沒有時間好好吃飯。他們需要一款充飢的食物,既方便,又可以拿在手上吃,而不會髒手。
因此,Lasne為了這些客戶,使用一款來自中世紀的甜點,叫做 « les visitandines » ,加以改良,把原本橢圓的形狀,改成「金磚」« un lingot d'or » 的形狀,並將它命名為 « financier »,費南雪就此誕生了。
費南雪嚐起來軟綿綿又香噴噴,而且擁有亮眼的金磚造型,一推出就受到許多法國人的喜愛。
👉🏽除了「金融家」之外,費南雪也跟「修女」同名?
剛剛說到瑞士甜點師 Lasne,把原本的 « les visitandines » 改編成費南雪,那最初的« les visitandines » 是怎麼來的呢?
其實,這款蛋糕的歷史,最早可以追溯到17世紀,法國東北部洛林,天主教「聖母往見會」的修女發明了這款食物。這些修女也被稱作 « les visitandines »,中文翻譯成「天主教聖母往見會修女」,所以,當時的費南雪,是以「修女」為名的甜食!
為什麼修女們會製作原版的費南雪呢?有人說,這是為了「物盡其用」,因為當時人們把蛋黃,當作油漆的黏合劑使用,為了善用剩下來的蛋白,而發展出這道點心。也有人說,可能是因為當時修道院吃素,所以製作了這款糕點來滿足口腹之慾。
👉🏽歷史上,法國人一度不敢吃費南雪?
文藝復興時期,歐洲常常有人使用「毒藥」害人。例如「布蘭維利耶侯爵夫人」« la Marquise de Brinvilliers » ,就是17世紀法國著名的連環殺手,用毒藥殺死了自己的爸爸與兄弟姊妹,還害死許多其他人,最後被警方逮捕。
中毒案在文藝復興時期很常見。許多「煉金術師」« les alchimistes » 專門研究毒物學,以製作出最有效的毒藥。當時羅馬與威尼斯這兩個地方,甚至設有「毒物學校」。
「氰化物」是當時常常被使用的毒物。最常見的犯案手法,是在紅酒中滴入幾滴氰化鉀,喝下的人就會失去性命!「氰化物」直到今日仍然是有名的毒藥,日本的「名偵探柯南」跟英國女作家「阿嘉莎克莉絲蒂」,都常常提到「氰化物」殺人事件。朋友們喜歡的中國古裝劇「甄嬛傳」裡面,「安陵容」食用「苦杏仁」自殺,也是因為裡面含有高量的「氰化物」。
費南雪蛋糕的特色,是濃濃的杏仁香氣,但是,杏仁的味道跟「氰化物」很像,所以大家才不敢吃費南雪。事實上,文藝復興時期,大部分以杏仁為原料的糕點都沒落了。
一直到19世紀,Lasne重新製作費南雪,才讓這個一度「失寵」的甜點,重新得到巴黎人的喜愛!
👉🏽跪求大家推薦高CP值的法式甜點店😋
直到今日,好像還是很多朋友都不敢吃「杏仁」,但我想,大概是因為它的味道嗆鼻,而不再是因為擔心被毒殺😂
不敢吃杏仁的朋友,我也推薦你們嚐嚐看巧克力口味的費南雪!🤗
台灣哪裡可以吃到好吃的費南雪蛋糕呢?歡迎留言來告訴我😊
很可惜家裡沒有烤箱,不然很希望自己做做看!😂 (呼喚🙋♂️!有哪位粉絲也喜歡在家,自己烤甜點呢?)
#杰宇的法文邂逅
#法式甜點
#國民美食
#甜點魂
#financier
📌參考資料
http://www.slate.fr/culture/73181/nouvelles-tendances-street-food
https://www.lefigaro.fr/sortir-paris/2011/01/17/03013-20110117ARTFIG00754-les-meilleurs-financiers-de-paris.php
http://www.lespetitsgateaux.fr/fiche/financiers/
https://dumas.ccsd.cnrs.fr/dumas-01237734/document
📍圖片來源
https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Financier_(cake).jpg
un wiki 在 何志偉 Facebook 八卦
剛收到一封求救信件:
上千位難民正在海域載浮載沉!東協國家的冷漠令難民就像"人肉兵乓球"上岸後又被趕回海上。絕大部分為婦女及幼童。部分難民在海上緊抓著廢棄的浮板,我們請求聯合國及東協國家即刻人道救援,提供醫療援助!《難民來自於:緬甸、孟加拉》《地點:安達曼海》
(來源:亞洲自由民主聯盟,志偉摘要簡譯)
《敬請一同呼籲外交部聲援該難民事務》一通電話一千人的生死! 本文不募款!僅要求國際社會正視問題!
羅興亞人(Rohingya people),或譯洛興亞人、羅辛亞人或羅興迦人 ,又稱阿拉干人,是緬甸若開邦阿拉干地區的一個穆斯林族群(集中在若開邦北部近孟加拉邊界一方的貌奪和布帝洞鎮區),是自7-8世紀以來阿拉伯商人和伊朗商人與突厥人、孟加拉人、摩爾人、普什圖人以及緬甸土著不斷融合形成的混血民族,但與其他來自南亞次大陸的移民有所區別。
截至2012年,約有80萬羅興亞人生活在緬甸。按照聯合國的説法,他們是世界上受到迫害最嚴重的少數民族之一。許多羅興亞人逃離緬甸到鄰國孟加拉國貧民窟和難民營生活,並沿地區泰國 -緬甸邊境生活。2009年,一位資深緬甸大使甚至說羅興亞人是醜陋的食人魔和在緬甸的異族。(來源:wiki)
CALD Resolution No. 2 S. 2015
CALD resolution calling on all concerned states to treat Rohingyas and other minorities with dignity and respect for their basic rights, and urging a regional solution that addresses the plight of vulnerable minorities in South and Southeast Asia
The Council of Asian Liberals and Democrats (CALD):
Aware that in recent weeks, thousands of political and economic refugees who have arrived by boat in some Southeast Asian countries were denied entry and pushed back to the sea in the latest round of the so-called “maritime ping-pong”;
Noting that thousands more are believed to be stranded in the Andaman Sea following a crackdown on human traffickers which prompted these transnational criminals to abandon boats carrying loads of economic migrants, refugees and asylum-seekers, a significant number of which are women and children;
Noting further that many of these refugees are in desperate need of food, water and healthcare; and while some of the concerned countries provided them humanitarian aid, their refusal to let these refugees enter, or to grant them temporary shelter, means that these people are left in very vulnerable conditions in open sea;
Mindful that most of these refugees are ethnic Rohingya Muslims and Bangladeshis fleeing political persecution or poverty in Myanmar and Bangladesh respectively;
Cognizant that the United Nations (UN) has particularly labeled the Rohingyas as one of the most persecuted minorities in the world as they are not only denied citizenship, but are also subjected to state-sanctioned discrimination;
Hereby:
Calls on the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN), guided by its vision of “caring and sharing community”, to convene an emergency summit that aims to arrive at regional measures to improve the plight of the Rohingyas and other vulnerable minorities in the region;
Believes that the May 29, 2015 meeting spearheaded by Thailand to discuss the “root causes” of “irregular migration in the Indian Ocean” is a good preliminary step towards a regional solution to the issue;
Trusts that any solution to this crisis should be in accordance with international human rights conventions, particularly International Covenant on Civil and Political Rights and International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights;
Urges the Philippines, being the only Southeast Asian state-party in the UN Convention on the Status of Stateless Persons, to spearhead efforts in safeguarding the rights of stateless persons, including the minimum standards of treatment that all concerned countries should observe; and
Calls on concerned Southeast Asian countries to recognize that it is their moral obligation to ensure that the Rohingyas and other minorities are accorded the human dignity and basic rights they deserve.
For the Council of Asian Liberals and Democrats:
Oyun Sanjaasuren, MP
Chairperson
Council of Asian Liberals and Democrats
18 May 2015
The CALD Secretariat
Unit 410, 4/F La Fuerza Plaza 2
2241 Don Chino Roces Avenue
1231 Makati City, Philippines
+63 2 819 6071
http://www.cald.org
https://www.facebook.com/asianliberals
https://twitter.com/asianliberals
un wiki 在 The United Nations Explained: How Does it ACTUALLY Work? 的八卦
4 - https://en.m.wikipedia.org/ wiki /Presi... 5 - https://www. un.org/en/about-us/main-b... 6 - https://www. un.org/securitycouncil/co. ... <看更多>