▍民族自豪背後的自貶
總是讓瑞典人又愛又恨的北歐航空(簡稱SAS,全名Scandinavia Airlines)除了罷工和財務窘困的新聞之外,終於以新面貌上媒體版面了,這次是因為一支最新的廣告,「真正的斯堪地那維亞是什麼」。(註一)
「什麼都不是。」是此支廣告的回答。
然後這支廣告在播出的24小時內就引起了廣大的討論,丹麥的極右派政黨發言人表示這是SAS向所有斯堪地那維亞半島上的居民吐口水與撒尿;瑞典的極右派黨說這是荒唐的自我仇恨,要大家不要再搭SAS的飛機。
公司在廣告發佈後的24小時內,發新聞稿說自己的網站遭到有規模的網路攻擊,因此已撤下廣告;卻又在六小時後再發新聞稿,表示對此廣告的支持不變,決定重新上架但已關閉留言功能。(註二)
總之,這支廣告裡說,真正的斯堪地那維亞文化並不存在,都是從世界各地複製而來的,譬如民主來自希臘、育嬰假是由瑞士提出、風力發電來自古波斯、自行車來自德國、甘草糖來自中國、仲夏節來自德國、瑞典肉丸來自土耳其、女性主義的強盛起源於美國的啟蒙運動。我覺得應該不會有任何公司笨到去做一支貶低所在國家的廣告,它只是強調從古維京時期的生活方式一直到近代,斯堪地那維亞半島的居民(挪威、丹麥、瑞典)向來喜歡探索世界、吸收新知,並將其融入自己的生活,形成獨特的自家文化。
以廣告創意的角度來說,這支作品跳脫了過去千篇一律強調瑞典或北歐文化的自豪,鼓勵人們去思考該以什麼而自豪,讓人耳目一新;也巧妙地連結自己的收益最大來源:旅行,將其推上一個更高的意義:旅行可以啟發個人與社會。
只是啊,過去近幾年來,由世界兩大強國帶起的民族自豪、民族復興浪潮,狹帶著資源豐沛的媒體與輿論攻勢,早就影響了歐洲;搭上還在持續發酵的難民議題順風車,此時正是歐洲各國包含北歐的極右派政黨大力崛起之際,哪會放過這個廣告。以瑞典最知名的極右派政黨、同時也已是瑞典支持度第二高的瑞典民主黨來說,他們強調要在已經失控的移民浪潮裡,守住並傳承瑞典文化,要所有瑞典公民能認同並發揚從歷史上到今日的一切瑞典奇蹟與驕傲。而今天SAS的廣告無疑是打了這些極右派政黨一個大巴掌。
我經常要和許多朋友澄清,在瑞典的街頭並不會看到滿街的金髮碧眼高挑人種,我們是移民大國,根據瑞典統計局2017年的資料,24.1%的居民有外國背景,也就是在外國出生或父母均自外國出生;若只看父母其中一方是外國出生,這個人口比例達到接近三分之一。不管是這些人的背景是難民還是經濟移民,若瑞典社會沒有足夠的包容力,面對如此高的外國人比例和各種外來文化在地興起,是很容易挑起國內的對立與仇恨的。而近幾年來,美化一切的那層「政治正確」紗布已經慢慢在消失,保護主義的大旗與具有草根性又民粹的言論正在不斷地挑戰社會包容的底線。
其實這樣的議題在西方國家裡,一直都是很棘手卻又矛盾的存在,因為民主政權理所當然要包容不同的聲音,但打出延續本國文化和維護人權發展的旗幟後,你在支持與反對之間,很容易失去那條界線,中間有一整片的灰色地帶。譬如說丹麥在極右派政黨的影響之下,已明文禁止穆斯林女性出外戴全罩式的頭巾,當然引發干涉信仰和女性穿著的批評,可是政府所採用的理由,卻表示丹麥是人權國家,不能允許任何宗教壓迫女性的自由和發聲權。在對與不對之間、在人權與宗教之間,這已經可成為哲學式的全民思辨。
而到底誰才是瑞典人、要怎麼樣定義瑞典人?瑞典政府是曾經為此做過努力的。就在難民浪潮正盛的2014年,屬於公家單位的歷史博物館(也是去年在爭議中勇敢租借我國辦理雙十國慶酒會的博物館)就曾舉辦過一個「維京特展」。這個展覽是想要破除瑞典人自認為是維京人後代的一種血緣臍帶想像,因為維京是一種生活方式、並不是人種的代稱,大家會認為挪威、丹麥、瑞典是維京人的後代是一種錯誤的資訊,那是當年的德國納粹政權強加在瑞典身上的民族情緒,而瑞典所擁護並追求的價值,不是建立在逐漸失控的國族主義之上。
回頭看看我們摯愛的臺灣,向來不乏國族主義的大放厥詞,卻經常忽略許多事實。這個國家能夠成長茁壯至今,靠的不是虛無的國族主義,而是海洋文明的開放、民主社會的包容、以及從不間斷的融合。我們若將一切的努力都歸功於單一國族主義、迷戀於民族復興,才是一種最大的自貶、把自大美化成自豪。
在每個強大的國家背後,都會有隱隱作動、想隨時探出頭來邀功的國族主義;以及那默默在調和社會的包容精神與融合藝術。在這樣紛亂又看似走回頭路的時代裡,SAS的這支廣告像是一盞好久沒出現的明燈,照出了在民族自豪背後的那份空洞與虛無。
🔗 講了這麼多,廣告在這邊:https://youtu.be/ShfsBPrNcTI
_延伸閱讀:瑞典國鐵所做的暖心社會廣告 https://bit.ly/2OUWZBm
✏️註一:Scandinavia Airlines被翻為北歐航空總是讓我覺得很尷尬,正確應該是「斯堪地那維亞航空」才正確,但這樣名字太長太繞口不便行銷。「斯堪地那維亞」指的是挪威、丹麥、瑞典三國,他們的歷史、語言、文化相近;而「北歐」是一種地理政治概念,除了有此三國之外,還有文化關聯性很低的芬蘭與遙遠孤立的冰島。Scandinavia Airlines是由挪威、丹麥、瑞典三國政府合資經營(但挪威政府已在2018年拋售所有股份),而隔壁的芬蘭有自己的國籍航空芬蘭航空,冰島也有自己的國籍航空冰島航空,就連挪威也有屬於廉航的挪威航空。只剩瑞典與丹麥政府在撐的「北歐航空」,大概因為兩國都自詡為最正宗的斯堪地那維亞半島繼承人,所以還繼續愛護著這個名字......。
✏️註二:雖然我好喜歡這支廣告,我個人覺得這裡是有炒新聞的嫌疑。發布新聞稿具有法律和官方意義,也會觸動媒體的報導興趣。你先發稿說自己的廣告受攻擊所以刪除了,引起大眾興趣後六小時又說自己的初衷不變,重新把廣告上架,公關很會吊胃口嘛。
➡️ 我的長篇文章匯整:https://medium.com/@david_liu
➡️ 來IG和我互動:https://www.instagram.com/the_david_liu/
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過3,500的網紅Travis To 旅行者,也在其Youtube影片中提到,Hello, I am Travis. I am going to share my best flying experience. I was flying on SAS Business Class from Hong Kong International Airport to Stockhol...
sas airlines 在 瑞典劉先生 Facebook 八卦
▍民族自豪背後的自貶
總是讓瑞典人又愛又恨的北歐航空(簡稱SAS,全名Scandinavia Airlines)除了罷工和財務窘困的新聞之外,終於以新面貌上媒體版面了,這次是因為一支最新的廣告,「真正的斯堪地那維亞是什麼」。(註一)
「什麼都不是。」是此支廣告的回答。
然後這支廣告在播出的24小時內就引起了廣大的討論,丹麥的極右派政黨發言人表示這是SAS向所有斯堪地那維亞半島上的居民吐口水與撒尿;瑞典的極右派黨說這是荒唐的自我仇恨,要大家不要再搭SAS的飛機。
公司在廣告發佈後的24小時內,發新聞稿說自己的網站遭到有規模的網路攻擊,因此已撤下廣告;卻又在六小時後再發新聞稿,表示對此廣告的支持不變,決定重新上架但已關閉留言功能。(註二)
總之,這支廣告裡說,真正的斯堪地那維亞文化並不存在,都是從世界各地複製而來的,譬如民主來自希臘、育嬰假是由瑞士提出、風力發電來自古波斯、自行車來自德國、甘草糖來自中國、仲夏節來自德國、瑞典肉丸來自土耳其、女性主義的強盛起源於美國的啟蒙運動。我覺得應該不會有任何公司笨到去做一支貶低所在國家的廣告,它只是強調從古維京時期的生活方式一直到近代,斯堪地那維亞半島的居民(挪威、丹麥、瑞典)向來喜歡探索世界、吸收新知,並將其融入自己的生活,形成獨特的自家文化。
以廣告創意的角度來說,這支作品跳脫了過去千篇一律強調瑞典或北歐文化的自豪,鼓勵人們去思考該以什麼而自豪,讓人耳目一新;也巧妙地連結自己的收益最大來源:旅行,將其推上一個更高的意義:旅行可以啟發個人與社會。
只是啊,過去近幾年來,由世界兩大強國帶起的民族自豪、民族復興浪潮,狹帶著資源豐沛的媒體與輿論攻勢,早就影響了歐洲;搭上還在持續發酵的難民議題順風車,此時正是歐洲各國包含北歐的極右派政黨大力崛起之際,哪會放過這個廣告。以瑞典最知名的極右派政黨、同時也已是瑞典支持度第二高的瑞典民主黨來說,他們強調要在已經失控的移民浪潮裡,守住並傳承瑞典文化,要所有瑞典公民能認同並發揚從歷史上到今日的一切瑞典奇蹟與驕傲。而今天SAS的廣告無疑是打了這些極右派政黨一個大巴掌。
我經常要和許多朋友澄清,在瑞典的街頭並不會看到滿街的金髮碧眼高挑人種,我們是移民大國,根據瑞典統計局2017年的資料,24.1%的居民有外國背景,也就是在外國出生或父母均自外國出生;若只看父母其中一方是外國出生,這個人口比例達到接近三分之一。不管是這些人的背景是難民還是經濟移民,若瑞典社會沒有足夠的包容力,面對如此高的外國人比例和各種外來文化在地興起,是很容易挑起國內的對立與仇恨的。而近幾年來,美化一切的那層「政治正確」紗布已經慢慢在消失,保護主義的大旗與具有草根性又民粹的言論正在不斷地挑戰社會包容的底線。
其實這樣的議題在西方國家裡,一直都是很棘手卻又矛盾的存在,因為民主政權理所當然要包容不同的聲音,但打出延續本國文化和維護人權發展的旗幟後,你在支持與反對之間,很容易失去那條界線,中間有一整片的灰色地帶。譬如說丹麥在極右派政黨的影響之下,已明文禁止穆斯林女性出外戴全罩式的頭巾,當然引發干涉信仰和女性穿著的批評,可是政府所採用的理由,卻表示丹麥是人權國家,不能允許任何宗教壓迫女性的自由和發聲權。在對與不對之間、在人權與宗教之間,這已經可成為哲學式的全民思辨。
而到底誰才是瑞典人、要怎麼樣定義瑞典人?瑞典政府是曾經為此做過努力的。就在難民浪潮正盛的2014年,屬於公家單位的歷史博物館(也是去年在爭議中勇敢租借我國辦理雙十國慶酒會的博物館)就曾舉辦過一個「維京特展」。這個展覽是想要破除瑞典人自認為是維京人後代的一種血緣臍帶想像,因為維京是一種生活方式、並不是人種的代稱,大家會認為挪威、丹麥、瑞典是維京人的後代是一種錯誤的資訊,那是當年的德國納粹政權強加在瑞典身上的民族情緒,而瑞典所擁護並追求的價值,不是建立在逐漸失控的國族主義之上。
回頭看看我們摯愛的臺灣,向來不乏國族主義的大放厥詞,卻經常忽略許多事實。這個國家能夠成長茁壯至今,靠的不是虛無的國族主義,而是海洋文明的開放、民主社會的包容、以及從不間斷的融合。我們若將一切的努力都歸功於單一國族主義、迷戀於民族復興,才是一種最大的自貶、把自大美化成自豪。
在每個強大的國家背後,都會有隱隱作動、想隨時探出頭來邀功的國族主義;以及那默默在調和社會的包容精神與融合藝術。在這樣紛亂又看似走回頭路的時代裡,SAS的這支廣告像是一盞好久沒出現的明燈,照出了在民族自豪背後的那份空洞與虛無。
🔗 講了這麼多,廣告在這邊:https://youtu.be/ShfsBPrNcTI
_延伸閱讀:瑞典國鐵所做的暖心社會廣告 https://bit.ly/2OUWZBm
✏️註一:Scandinavia Airlines被翻為北歐航空總是讓我覺得很尷尬,正確應該是「斯堪地那維亞航空」才正確,但這樣名字太長太繞口不便行銷。「斯堪地那維亞」指的是挪威、丹麥、瑞典三國,他們的歷史、語言、文化相近;而「北歐」是一種地理政治概念,除了有此三國之外,還有文化關聯性很低的芬蘭與遙遠孤立的冰島。Scandinavia Airlines是由挪威、丹麥、瑞典三國政府合資經營(但挪威政府已在2018年拋售所有股份),而隔壁的芬蘭有自己的國籍航空芬蘭航空,冰島也有自己的國籍航空冰島航空,就連挪威也有屬於廉航的挪威航空。只剩瑞典與丹麥政府在撐的「北歐航空」,大概因為兩國都自詡為最正宗的斯堪地那維亞半島繼承人,所以還繼續愛護著這個名字......。
✏️註二:雖然我好喜歡這支廣告,我個人覺得這裡是有炒新聞的嫌疑。發布新聞稿具有法律和官方意義,也會觸動媒體的報導興趣。你先發稿說自己的廣告受攻擊所以刪除了,引起大眾興趣後六小時又說自己的初衷不變,重新把廣告上架,公關很會吊胃口嘛。
➡️ 我的長篇文章匯整:https://medium.com/@david_liu
➡️ 來IG和我互動:https://www.instagram.com/the_david_liu/
sas airlines 在 พ่อบ้านเยอรมัน Facebook 八卦
"เมื่ออุตสาหกรรมการบินทั้งโลก กำลังเปลี่ยนแปลง"
ถ้าใครติดตามข่าวที่เกี่ยวข้องกับไวรัสช่วงนี้จะเห็นได้ว่ามีอุตสาหกรรมนึงที่กำลังได้รับผลกระทบหนัก จนหลายบริษัทต้องยื่นเรื่องเข้าสู่กระบวนการล้มละลาย ปลดคนงาน หรือขอรับการสนับสนุนจากภาครัฐ ซึ่งก็คืออุตสาหกรรมการบินนั่นเอง
ยกตัวอย่างเช่น
สายการบิน Lufhansa กำลังขาดทุนชั่วโมงละ 1 ล้านยูโร จึงกำลังขอให้รัฐบาลเยอรมนีช่วยเหลือโดยด่วน
การบินไทย กำลังขอความช่วยเหลือจากภาครัฐ และกำลังลุ้นอยู่ว่าจะเข้าสู่กระบวนการล้มละลายหรือไม่
สายการบิน American Airline เตรียมปลดคนงานเป็นจำนวนมาก
ซึ่งจะเห็นได้ว่าวิกฤตไวรัสนี้ได้ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่มากๆ ต่ออุตสาหกรรมนี้ แต่คุณรู้หรือไม่ครับว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นยังจะมีต่ออีกมาก พ่อบ้านจึงมาวิเคราะห์ให้คุณฟังว่าน่าจะเกิดอะไรขึ้นหลังจากนี้ต่อไป
1. ค่าตั๋วโดยสารแพงขึ้นถ้วนหน้า
ใช่แล้วครับถ้าคุณตามข่าวในช่วงนี้ คุณจะพบว่าสายการบินต่างๆ ที่เตรียมเปิดทำการในเร็วๆ นี้ต่างก็ปรับกฏเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้สามารถทำการบินได้
- ไม่ว่าจะเป็นการลดจำนวนที่นั่ง
- การนั่งเว้นที่นั่งกันกัน
- การนั่งสลับฟันปลา
แต่ไม่ว่าหวยจะออกมาที่มาตรการไหนจะมีสิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดก็คือ "จำนวนที่นั่งลดลง" ใช่แล้วครับนั่นหมายความว่าสายการบินต่างๆนั้นจะสามารถรองรับลูกค้าได้น้อยลง แต่ต้นทุน "ยังเท่าเดิม" ดังนั้นจึงเป็นไม่ได้ที่จะสามารถขายตั๋วในราคาเดิมได้จนถึงกับมีนักวิเคราะห์หลายท่านวิเคราะห์ว่านี่คือ
"อวสานของ Low Cost Airline"
2. การบริการต่างๆ หายและเปลี่ยนไป
ยกตัวอย่างสายการบิน SAS ของแถบสแกนดิเนเวีย ที่เตรียมกลับมาทำการบินอีกครั้ง แต่จะมีมาตรการใหม่ออกมาใช้
- งดการให้บริการอาหารบนเครื่องบินเพื่อลดการสัมผัสกันระหว่างลูกเรือและผู้โดยสาร
- ยกเลิกรายการที่มีการใช้ร่วมกัน เช่น นิตยสารที่อ่านบนเครื่อง, หูฟัง, หมอน และผ้าห่ม
และนี่เป็นเพียงมาตรการเบื้องต้นเท่านั้นซึ่งอาจจะมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมอีกก่อนทำการบินจริงๆ
นอกจากการเปลี่ยนแปลงของผู้โดยสารที่แน่นอนว่าจะต้องใส่ Mask ตลอดทำการบินแล้ว เจ้าหน้าที่บนเครื่องบินก็จะต้องปรับรูปแบบการให้บริการเช่นกัน ยกตัวอย่างสายการบิน AirAsia ในสาขาฟิลิปปินส์ ที่เปิดตัวชุดยูนิฟอร์มใหม่เป็นชุด PPE
และเป็นที่แน่นอนว่าการให้บริการก็อาจจะทำได้ไม่ดีเทียบเท่าเดิม ยกตัวอย่างเช่นบางสายการบินเตรียมปรับการเช็คอินให้เป็นในรูปแบบออนไลน์ 100% เพราะเนื่องจากต้องรักษา Social distancing กับผู้โดยสารเช่นกัน
3. มาตรฐานที่สูงขึ้น
ด้วยการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ย่อมส่งผลให้แต่ละสายการบินต้องยกระดับความสะอาดและสุขอนามัยให้สูงขึ้น ยกตัวอย่างเช่นทุกเบาะนั้นจะมีผ้าปู (เหมือนที่เวลาไปหาหมอ) คลุมอยู่ทุกเบาะ
หรือการที่ต้องทำความฆ่าเชื้อเครื่องบินทุกครั้งหลังจากการ Landing ซึ่งแน่นอนว่าถ้ามาตรฐานสูงขึ้นสิ่งที่ตามมาย่อมเป็น "ต้นทุนที่สูงขึ้นเช่นกัน"
4. ความยุ่งยากของเอกสาร
แต่ก่อนเมื่อเราเดินทางมาต่างประเทศไม่เว้นแม้แต่เยอรมนีสิ่งที่เราต้องเตรียมก็คือ "วีซ่า" ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่าการเตรียมเอกสารต่างๆ เพื่อขอวีซ่านั้นไม่ได้ง่ายเลย เพราะเราต้องชี้แจงข้อมูลมากมาย ไม่ว่าจะเป็นรายละเอียดการเดินทาง ห้องพัก ฐานะการเงิน ในการขอวีซ่า แล้วจะเกิดอะไรขึ้นถ้าอีกหน่อยคุณอาจจะต้องใช้
"ใบตรวจสุขภาพ/ใบตรวจโควิด"
ในการขอวีซ่า ซึ่งพ่อบ้านบอกเลยว่ามันไม่สนุกเลยแน่ๆ เพราะนอกจากที่คุณจะต้องเสียค่าตรวจที่จะต้องจ่ายเพิ่มที่อาจจะพอๆ กับค่าขอวีซ่าแล้ว อาจจะต้องทำให้คุณปวดหัวกับปริมาณเอกสารที่เพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน
ยกตัวอย่างสายการบิน Emirate ที่ได้เตรียมการตรวจ Covid19 แบบ Rapid test ให้กับผู้โดยสาร หรือแม้แต่การขอวีซ่าเชงเก้นในอนาคต ก็อาจจะต้องใช้เอกสารเพิ่มเติมเช่นกัน
5. บางอาชีพจะหายไปและส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่
จากที่เขียนในทุกข้อด้านบนจะพบว่าจะมีบางอาชีพหรือบางบริษัทนั้นอาจจะต้องยุติการจ้างหรือหายไป ยกตัวอย่างพนักงานที่รับเช็คอินที่ Counter ผู้โดยสาร บริษัทที่ทำสื่อสิ่งพิมพ์บนเครื่องบิน
หรือเมื่อคนบินน้อยลงก็อาจจะส่งผลให้เที่ยวบินลดลง จนกระทบรายได้ของสนามบินและอุตสาหกรรมน้ำมัน เพราะ Demand ลดลง
และอาจจะมีอื่นๆ อีกมากเพราะจะเห็นได้เลยว่าอุตสาหกรรมการบินคืออุตสาหกรรมหลักที่ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอื่นๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมหลักของหลายๆ ประเทศอย่าง
"การท่องเที่ยว"
หลังจากนี้เราคงต้องจับตาว่าแต่ละสายการบินนั้นจะเอาตัวรอดจากวิกฤตนี้ได้อย่างไร และเตรียมใจ เตรียมกระเป๋าตังค์ กับ
"การบริการรูปแบบใหม่ มาตรฐานการบินแบบใหม่ ที่มาด้วยราคาตั๋วที่แพงขึ้นอย่างแน่นอน"
ซึ่งคำถามที่แต่ละสายการบินจะถามตัวเองคือ จะเอาตัวรอดอย่างไรถ้าต้องขายตั๋วในราคาที่สูงขึ้นและผู้โดยสารมีจำนวนลดลง ซึ่งแน่นอนว่าย่อมส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมใกล้เคียงอย่างการท่องเที่ยว
ส่วนผู้โดยสารอย่างเราก็คงต้องเตรียมปรับตัวให้เข้ากับความปกติใหม่ที่จะไม่ปกติอีกต่อไป และไม่รู้ว่าจะสิ้นสุดเมื่อใด
#แชร์ได้เลยครับ
#พ่อบ้านเยอรมัน #เยอรมัน #เยอรมนี #Germany #German #Airline #Industry
ที่มาของข้อมูล
https://thestandard.co/lufthansa-losing-1-million-euros-every-hour/
https://brandinside.asia/disaster-from-covid-19-big-impact-low-cost-airlines-and-consumer/
https://www.thairath.co.th/news/business/1843531
https://www.thebangkokinsight.com/349528/
https://brandinside.asia/disaster-from-covid-19-big-impact-low-cost-airlines-and-consumer/
https://www.blockdit.com/posts/5e745eb88aadfb0c9d303ae1
https://www.facebook.com/whatisgoingoninnorway/photos/a.1121842004500652/3206398476044984/?type=3&theater
https://youtu.be/0NePEJTMsMc
https://www.emirates.com/media-centre/emirates-becomes-first-airline-to-conduct-on-site-rapid-covid-19-tests-for-passengers/
sas airlines 在 Travis To 旅行者 Youtube 的評價
Hello, I am Travis. I am going to share my best flying experience. I was flying on SAS Business Class from Hong Kong International Airport to Stockholm Arlanda Airport in Sweden
sas airlines 在 Scandinavian Airlines - Wikipedia 的相關結果
Scandinavian Airlines, more commonly known and styled as SAS, is the flag carrier of Denmark, Norway, and Sweden. SAS is an abbreviation of the company's ... ... <看更多>
sas airlines 在 SAS - Scandinavian Airlines - 首頁| Facebook 的相關結果
SAS - Scandinavian Airlines 。 1264372 個讚· 1673 人正在談論這個· 1901 個打卡次。 Scandinavia's leading airline. We offer the most departures to, ... ... <看更多>
sas airlines 在 Flysas.com - Scandinavian Airlines Official Website | SAS 的相關結果
Welcome to Scandinavian Airlines Official Website. Select your country/language, your preferred currency, and book your next flight among +130 destinations. ... <看更多>