ประเด็นน่าสนใจจากฝั่งนักสิทธิที่เขาโต้แย้งประเด็นของตาจั๊ดกับอีเจี๊ยบ. แยกตามประเด็นและมีการยกงานวิจัย สถิติ มาสนับสนุน อันนี้น่าอ่าน แต่ยาวฉิบหายเลยนะ ถถถถถถ
ความเห็นส่วนตัว ไอ้สิ่งที่เขารณรงค์กันอยู่ ถ้าเป็นจริงได้ก็ดี ไอ้แบบเวลามีคนทำผิดแล้ว จับไปกล่อมเกลาพฤติกรรม ให้กลับมาเป็นคนดีของสังคมได้อีกครั้ง ถ้าเป็นจริงได้จะดีมาก ในต่างประเทศบางที่ที่อารยะมากๆเขาทำได้
แต่ของไทยตอนนี้ยังห่างไกลจากสภาวะนั้นมากๆ คุกก็ยังล้น ทรัพยากรที่มีก้ไม่พอ กระบวนการกล่อมเกลาเยียวยา หรือดึงอาชญากรออกจากวังวนเดิมๆส้งคมเดิมๆ ก็ยังไม่สำเร็จ ที่แย่ยิ่งกว่านั้นคือ สถิติของคนที่เข้าคุกแล้วก็กลับออกมาก่อเหตุซ้ำ ก็สูงขึ้น บางคนแม่งเข้าคุกไปจากแรทตาต้า เลเว่ลสิบ ออกมาแม่งอีโวเป็น raticate lv 30 ไปละ
ถ้านึกภาพเมืองไทยตอนนี้ กรุณาหลับตาแล้วนึกภาพโลกยุคสงครามนิวเคลียร์ในเคนชิโร่หมัดดาวเหนือ ไอ้แบบมีแก๊งค์เด็กแว๊นหัวโมฮอคขี่มอไซด์มาไล่ฆ่าชาวบ้าน แล้วมีเจ้าแห่งหมัดขี่ม้าตัวเท่าควายมาไล่ตีชาวบ้านเป็นเมืองขึ้น ใครขัดใจแม่งก็ต่อยด้วยหมัดดาวเหนือจนตัวแตก
กุว่านั่นล่ะสภาพบ้านเมืองเราในตอนนี้ จะเอาแนวทางของประเทศที่เจริญแล้วมาใช้ทั้งหมดตอนนี้ กุว่าเร็วไปนิด อาจต้องรอพัฒนาระบบยุติธรรม และแก้ปัญหาต่างๆนานาที่ว่ามาให้ดีขึ้นกว่านี้ซักหน่อย ถึงตอนนั้นเราน่าจะคุยกันเรื่องไม่ต้องประหารได้
แต่จุดที่ขอค้านคือ มันจะมีบางกลุ่มที่ beyond จริงๆคือเกินเยียวยา และอันตรายเกินกว่าจะให้อยู่ร่วมกับคนอื่นๆในสังคม ถ้ามันเป็นอาชญากรรมร้ายแรงสุดๆ และกระทบจริยธรรมกระทบต่อจิตใจคนในสังคมอย่างรุนแรง จะใช้แนวทางแบบญี่ปุ่นก็น่าจะโอเคมั้งกุว่านะ
เป็นอีกครั้งที่นักสิทธิมนุษยชนตกเป้าการโจมตีของสังคม เราไม่แปลกใจและไม่โกรธด้วยซ้ำที่พวกเราถูกโจมตี เพราะสำหรับเหตุการณ์ครั้งนี้เราพอเห็นได้ว่าความขัดแย้งของความคิดสองขั้วเกิดจาก “ความไม่เข้าใจของสังคมในประเด็นที่เหล่านักสิทธิมนุษยชนนำเสนอ” และ “ความผิดพลาดในการนำเสนอและสื่อสารของเหล่านักสิทธิมนุษยชน” ด้วยเหมือนกัน
เราว่าเรื่องนี้ยังมีมุมมองที่เราอยากนำเสนอให้สังคมฟังอีกครั้งว่า ที่เห็นๆ นักสิทธิฯ เรียกร้องสิทธิให้กับฆาตกรกันเก่งนั้นเป็นเพราะพวกเราคิดอะไรอยู่ โดยเราขออนุญาตนำเอาคำถามของชาวเน็ต และรวมถึง social influencer ที่ถามๆ กันในสื่อออนไลน์มาตอบโดยคำถามที่เลือกตอบจะเลือกตอบเฉพาะคำถามที่เราเห็นว่าถ้ายังเข้าใจผิดในสาระสำคัญ และถ้ายังมีความคิดแบบนั้นสำหรับเราแล้วเรามองว่ามันอันตรายมากๆ ตามนี้นะครับ
JudgeJudd ถาม: “ทุกคนมีสิทธิมีชีวิต...อ้าว แล้วคนที่โดนฆ่าเค้าไม่มีสิทธิเหรอวะ”
ตอบ: สำหรับนักสิทธิมนุษยชน เราทำงานโดยยึดหลักการของการให้ความสำคัญในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของ “ทุกชีวิต” เราไม่เห็นด้วยเป็นอย่างมากกับการที่ฆาตกรมาพรากชีวิตใครสักคนไป และเราตระหนักเสมอว่า การฆ่าใครให้ตาย เป็นพฤติกรรมที่โหดร้าย ป่าเถื่อน และเป็นสิ่งที่ “ไม่สามารถรับได้” เรารังเกียจและขยะแยงพฤติกรรมที่เหล่าฆาตกรเหล่านั้นทำ
เรายืนยันว่า “ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตรอด” สิทธิอันนี้เป็นสิทธิติดตัวตั้งแต่เสียงร้องแรกที่มนุษย์คลอดออกมาเป็นหลักการสำคัญของสิทธิมนุษยชน ที่ไม่มีใครสามารถพรากจากเราไปได้ ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ไหน เวลาใดในโลกใบนี้
ด้วยเหตุนี้เราจึงยืนยันว่า เราไม่ควรนำการฆ่ามาทำให้เป็นสิ่งที่ถูกต้อง ผ่านการยกมือของคนส่วนใหญ่ หรือถูกรับรองโดยรัฐ เราไม่เห็นด้วยกับการนำความโหดร้ายเลวทรามเหล่านั้น ขึ้นมาเป็นข้ออ้างทางศีลธรรมเพื่อกำจัดเหล่าฆาตกรให้หมดไป
เพราะเราเชื่อเหลือเกินว่า ถ้าสังคมเราเชื่อมั่นและร่วมกันปรับปรุงระบบและการสร้างหลักประกันว่าเหยื่อจะได้รับการเยียวยาที่เป็นธรรม คนผิดได้รับโทษตามที่เขาควรได้รับ สังคมและรัฐเราไม่จำเป็นต้องลดตัวเพื่อทำผิดศีลธรรม หรือนำพฤติกรรมโหดร้ายน่าขยะแขยงที่เราต่างเกลียดกลัวและเป็นเหตุผลที่เรากำลังประนามผู้กระทำความผิด ขึ้นมาแก้ปัญหานี้เลย
JudgeJudd ถาม: “วิจัยมาแล้วว่าการประหารไม่ทำให้อาชญากรรมลด...มึงไปวิจัยมาก่อนแล้วกันว่าถ้าไม่มีโทษประหารแล้วอาชญากรรมลดจริงๆ”
ตอบ: เหตุผลที่นักสิทธิทั้งหลายพยายามยกงานวิจัยมาอ้างเพราะว่าในการดีเบตหลายครั้ง มีผู้พยายามหยิบยกประเด็นมาว่า “มีโทษประหารเพื่อสร้างความหลาดกลัว ปรามคนกระทำความผิด” แต่ในทางเดียวกันมีงานวิจัยมากมายบอกว่าพอประเทศที่ยกเลิกโทษประหารไปแล้ว การมีหรือไม่มีโทษประหารไม่ได้ช่วย หรือเกี่ยวกับปัญหาอาชญากรรมเลย อย่างคำถามของคุณจั๊ดที่ว่า “มึงไปวิจัยมาก่อนแล้วกันว่าถ้าไม่มีโทษประหารแล้วอาชญากรรมลดจริงๆ” ขอเรียนแบบนี้นะครับว่าในหลายๆ ประเทศที่มีการยกเลิกโทษประหาร ควบคู่ไปกับการปรับเปลี่ยนวิธีการมองผู้ต้องขังและการคุมขังจากเรื่องของการ “ลงโทษให้สาสม” มาเป็น “การบำบัดฟื้นฟู” และการควบคุมโดย “เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ประเทศเหล่านั้นกลับมีอัตราการก่ออาชญากรรมและการก่อความผิดซ้ำลดลงครับ นี่ยังไม่รวมเรื่องความเสี่ยงของโทษประหาร อื่นๆ เช่นความผิดพลาดของการตัดสิน การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมที่ไม่เท่าเทียมกันของคนในสังคม เป็นต้น (อ่านเพิ่มเติมได้ที่ อ้างอิงที่ 1)
JudgeJudd กล่าว: “มันคือการลงโทษปัจเจกบุคคลที่ชั่วช้า ไม่จำเป็นต้องคิดลึกคิดไกลไปถึงว่าสังคมจะได้อะไรจากการประหาร”
เราขอชี้แจง: “นี่คือการลงโทษปัจเจกที่ชั่วช้า” คำนี้มันอันตรายมากครับ เพราะถ้าเราพูดแบบนี้เราจะละเลยประเด็นหลายอย่างไปโดยเฉพาะที่มาของ “ปัจเจก” ซึ่งเป็นมนุษย์ที่ “ที่ชั่วช้า” เราขออยากเชิญชวนให้ทุกคนแยกมนุษย์ กับ ความชั่วช้าออกจากกัน และสิ่งที่เราจะบอกคือนักสิทธิอย่างเราไม่ได้เกลียดมนุษย์เหล่านั้น แต่สิ่งที่เราเกลียดคือความชั่วช้าของเขาครับ ดังนั้นจึงเป็นที่มาที่เราพยายามสื่อสารว่าเราไม่เห็นด้วยที่ฆ่ามนุษย์ แต่เราเห็นว่าเราจะทำยังไงให้ความชั่วช้าตรงนั้นหายไป หรือถูกจำกัดในพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อไม่เป็นอันตรายต่อคนอื่น
และจากประสบการณ์การทำงานในฐานะนักสังคมสงเคราะห์และการรับฟังเพื่อนๆ ที่อยู่ในสายงานที่ทำงานกับผู้ก่อคดีอาชญากรรม เราจะเห็นว่าปัจเจกที่ชั่วช้านั้นต่างเคยเป็น “เหยื่อ” มาก่อนทั้งสิ้น ทั้งการเป็นเหยื่อของการถูกทารุณกรรมโดยตรง หรือการเป็นเหยื่อของระบบสังคม ครอบครัว และสิ่งแวดล้อมที่ค่อยๆ สร้างให้เกิดอาชญากรอย่างช้าๆ (ขอกล่าวเพิ่มเติมในประเด็นข้างล่างครับ)
JudgeJudd กล่าว:“ไม่จำเป็นต้องคิดลึกคิดไกลไปถึงว่าสังคมจะได้อะไรจากการประหาร”
เราขอชี้แจง: อันนี้ยิ่งโคตรน่ากลัวเลยครับ เพราะถ้าเราไม่คิดอะไรเลย เราจะกลายเป็นคนผู้ยินดีกับการฆ่าคนเพียงเพราะ “อารมณ์” เท่านั้น ผมว่าสิ่งสำคัญที่เราจำเป็นต้องถามตัวเองทุกคนว่านอกจากความสะใจ ความรู้สึกปลอดภัยว่าไอ้คนทรามไปตายไป 1 คนนั้น แล้วผลลัพธ์ที่ได้คือเราจะมีสังคมที่ปลอดภัยกันจริงๆ เหรอ
เพราะถ้าเรา Focus แค่การลงโทษ แต่ไม่หันกลับมาพูดประเด็นทางสังคมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและเป็นปัจจัยที่สำคัญในกระบวนการในการสร้างคนๆ หนึ่ง มันก็เหมือนการดำรงสังคมที่ผลิตอาชญากรให้ดำรงอยู่เหมือนเดิม แล้วก็รอให้คนเหล่านั้นไหลตามสายพานเข้าสู่แดนประหารไปเรื่อยๆ (ไม่ว่าจะลงโทษวิธีไหน ถ้าเราไม่จริงจังเรื่องการป้องกันก็เหมือนกับสังคมเรานั่งรอให้เกิดเรื่องกับเหยื่อ แล้วก็ค่อยลงโทษผู้กระทำเอาก็แค่นั้น)
จริงๆ สิ่งที่เราหวังจากโทษประหาร หรือสิ่งที่สังคมอยากเห็นจากการมีโทษประหารมันมีประสิทธิภาพจริงๆ หรือเปล่า เราต้องคุยกันครับ
อีเจี๊ยบ เลียบด่วน กล่าว“กูไม่คิดว่า กูอยากอยู่รวมโลก กับสิ่งมีชีวิตพวกนี้ กูจะแน่ใจได้ยังไง ว่าสักวัน พวกมันจะไม่ถูกปล่อยออกมา อยู่ในซอยบ้านกู ทำงานอยู่ที่เดียวกับลูกเมียกู เดินสวนกับกูในซอยเปลี่ยวๆ”
เราขอชี้แจง: ดังนั้นข้อกังวลนี้ประเด็นของมันจึงอยู่ที่ว่า เราจะทำอย่างไรเพื่อให้มั่นใจว่าคนเหล่านั้นเมื่อเข้าไปในคุกเขาจะได้รับการบำบัดฟื้นฟูอย่างจริงจัง มีกระบวนการประเมินก่อนออกที่เข้มข้น หรือในกรณีที่มีการกระทำความผิดซ้ำมามากมาย ก่อคดีที่ร้ายแรงมากๆ แล้ว เราจะมีระบบที่จะกันเขาออกจากสังคมอย่างไรเพื่อจะมั่นใจว่าเขาไม่สามารถออกมาทำอะไรที่อาจก่อให้เกิดอันตรายกับคนอื่นใช่ไหมครับ ถ้าใช่ แสดงว่าเราคิดเหมือนกัน
อีเจี๊ยบ เลียบด่วน กล่าว: “ถึงมันจะอยู่ในคุก ไม่ถูกปล่อยออกมา กูและคนไทยส่วนใหญ่ของประเทศนี้ ก็ไม่เต็มใจทำงาน เสียเงินภาษีมาเพื่อเลี้ยงดู ให้ข้าวให้น้ำ ให้แม่งไปจนวันตาย”
เราขอชี้แจง: ในส่วนนี้เราข้อเน้นย้ำให้เห็นถึงความจำเป็นที่ทำไมเราถึงต้องเอาเงินภาษีมาเลี้ยงดูพวกเขา ก็ด้วยเหตุผลที่ผมกล่าวมานั่นแหละครับว่าคนพวกนี้ไม่ได้อยู่ๆ เกิดมา อาชญากรไม่ได้ถูกสร้างและเป็นกันได้ในวันเดียว ลองคิดดูนะครับว่าการจะก่อเหตุสะเทือนขวัญแสดงว่าผู้กระทำต้องมีสภาวะจิตใจบางอย่างที่ไม่ปกติ ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ ความรู้สึกของตนเอง และรับรู้ประเด็น ความรับผิดชอบทางจริยธรรมได้เหมือนคนอื่น ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ต้องผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ดังนั้นเราจึงต้องกลับมาตั้งคำถามว่า เรามีสภาพสังคมแบบไหนที่ร่วมกันขัดเกลาให้ให้เกิดอาชญากรในลักษณะนี้
• สภาพสังคมที่เรามองว่าการรังแกกันในโรงเรียน เป็นเรื่องธรรมดาของเด็ก (เรากำลังสอนเด็กทางอ้อมว่าการรังแกเพื่อนเป็นเรื่องยอมรับได้) มีส่วนมั้ย?
• สภาพสังคมที่เรามองว่าความรุนแรงในครอบครัวเป็นเรื่องของผัวเมีย ไม่ควรเข้าไปยุ่ง มีส่วนมั้ย? (ความรุนแรงในครอบครัวมักสร้างบาดแผลทางจิตใจให้กับเด็กๆ ความมั่นคงทางอารมณ์หายไป เด็กได้เห็นตัวอย่างที่ไม่ดี เด็กบางคนเลียนแบบสิ่งที่พอทำกับแม่ ส่งต่อไปยังเพื่อนๆ)
• สภาพสังคมที่เรายอมรับการลงโทษ การแก้ปัญหาด้วยความรุนแรงในเรื่องต่างๆ จากผู้ที่มีอำนาจมากกว่า จนกลายเป็นเรื่องธรรมดา และบอกเด็กเรากลายๆ ว่ามันทำได้เนี่ย มีส่วนมั้ย (เช่น เรื่องการตีลูกของพ่อแม่ หรือตีเด็กของนักเรียน การลงโทษแบบรุนแรงในค่ายทหาร )
• สภาพสังคมทุนนิยมที่พ่อแม่ส่วนใหญ่ต่างมุ่งทำงานเพื่อหาเงินเลี้ยงลูก จนไม่มีเวลาเลี้ยงลูก มีส่วนมั้ย? (เด็กหลายคนไม่มีความมั่นคงในอารมณ์จิตใจ ไม่ได้ถูกเติมเต็มพื้นฐานทางความรัก ไม่ได้รับคำแนะนำและตอบสนองที่ถูกต้องทันท่วงทีตามช่วงวัยพัฒนาการในแต่ละขั้น)
• สภาพสังคมที่การศึกษาถูกออกแบบมาอย่างจำกัดและเน้นความรู้ทางวิชาการ มากกว่าทักษะชีวิต และการสร้างลักษณะนิสัยที่รู้จักควบคุมอารมณ์ ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น นี่มีส่วนมั้ย? (เด็กหลายคนไปต่อไม่ได้ในเส้นทางการเรียนที่มีอยู่อย่างจำกัด เมื่อประตูโรงเรียนปิดลง เด็กมีเวลาว่างมากขึ้นในการไปทำอะไรต่างๆ และเมื่อนั้นขาข้างหนึ่งของเขาก็พร้อมก้าวไปอยู่ในคุกแล้ว)
• สภาพสังคมที่เราเรียกร้องให้ยัดคนเข้าไปในคุกเพื่อ “ลงโทษให้หลาบจำ” ไม่ใช่การ บำบัดฟื้นฟูและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แล้วเมื่อคนๆ นั้นอยู่ในคุก กลับกลายเป็นแค่การแยกตัวให้คนที่ถูกตัดสินว่าเลวไปอยู่ด้วยกันก่อนที่จะรอกลับออกมาจากคุกใหม่ด้วยพฤติกรรมเดิม และเข้าๆ ออกๆ แล้วเราก็ด่าๆ กันเนี่ย มันมีส่วนมั้ย?
อีเจี๊ยบ เลียบด่วน กล่าว: “การดูแลเรื่องสิทธิมนุษยชน เป็นงานสำคัญ เป็นงานที่หนัก เหนื่อย คนทำก็น้อย เอาความสามารถ ความรู้ เวลา กำลังของท่านนักสิทธิมนุษยชนทั้งหลาย แทนที่จะไปช่วยปกป้องไอ้คนเลวๆพวกนั้น มาดูแลเด็ก ผญ คนแก่ คนดีๆ คนจน คนด้อยโอกาส คนถูกรังแก จะดีกว่าไม๊ครับจะได้ไม่เหนื่อยมาก”
เราขอชี้แจง: ใช่ครับงานสายสิทธิมนุษยชนเป็นงานที่หนักมาก เพราะงานหลักของพวกเราคือการทำงานที่สวนทางกับความคิดกระแสหลักของสังคมในหลายๆ กรณี เรายืนยันว่า “เราไม่ได้ปกป้องคนเลว” ครับ คนเลวต้องได้รับโทษ แต่สิ่งที่เราทำคือเราปกป้อง “คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นคน” และเราพยายามทำงานเพื่อทำให้พฤติกรรมเลวๆ ที่สังคมว่านั้นลดลงและหายไป
เราพยายามทำงานกับต้นเหตุของปัญหา พวกเรากระจายการทำงานกับคนทุกกลุ่มทั้ง เด็ก ผญ คนแก่ คนดีๆ คนจน คนด้อยโอกาส คนถูกรังแก ด้วยการทำงานที่เราเจอคนเหล่านี้บ่อยและโดยตรงแหละครับจึงทำให้เราได้เห็นที่มาที่ไปและรากของปัญหาของที่มาที่ไปของอาชญากรเหล่านั้น เราเลยพยายามสื่อสารกับท่านว่า เรามาแก้กันที่ต้นเหตุกันดีกว่าครับ และส่วนปลายเหตุที่มันไม่ work แต่กลับลดทอนและทำลายหลักการที่เรายึดถือคือการไม่ยอมรับการ “ฆ่า” และการดำรงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของคนไว้ มันก็ควรถูกยกเลิกให้หมดไป และนี่คือสิ่งที่เราพยายามสื่อสาร
ด้วยความเคารพจากคนที่แอบชื่อนชมพวกท่านในหลายๆ กรณีที่แสดงควมคิดเห็นและวิพากษ์วิจารณ์สังคม แต่ไม่ใช่กรณีนี้ และจะติดตามกรณีอื่นๆ ต่อไป ถ้าถูกใจและเห็นตรงกันก็ยังจะแชร์ และอวย
อิอิ
อ้างอิง1
เผยสภาพ ‘คุกนอร์เวย์’ ประเทศที่มีอาชญากรรมต่ำที่สุดในโลก:
http://www.amarintv.com/lifestyle-upd…/articles-40/…/อ้างอิง 2
ทำไมต้องยกเลิกโทษประหารชีวิต:http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/637829
อ้างอิง 2
ฆาตกร กับบาดแผลที่มองไม่เห็น :https://web.facebook.com/…/a.499791366791…/783100758460609/…
ในแววตาแห่งอาชญากร: https://web.facebook.com/…/a.13836949419…/1558343807816299/…
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過13萬的網紅Miaou,也在其Youtube影片中提到,仔猫部屋から猫部屋へ猫の社会化訓練の為に挨拶に来てる仔猫まや。いつもと匂いが違うのだが、睡魔には勝てなかったようだ。 A kitten from the kitten room to the cat room Says hello to a greeting for socialization tr...
socialization 在 羅寶鴻 老師 Facebook 八卦
【孩子對我會控制、但對其他長輩卻沒禮貌?】
羅老師您好:
我有個疑問,孩子跟我在一起時他能學著和我一起控制他的脾氣(我也跟他一起學著控制自己的脾氣),可是孩子對他爸、阿嬤、外公外婆和其他長輩則非如此。
像今晚他打翻東西要擦,他爸說沒關係他來,結果孩子就氣到尖叫大喊:「跟你說了我自己擦!」
在長輩眼裡,他很沒禮貌,在我眼裡很不知所措,因為他明明平常對我都能好好說;但對象換了,就不一樣了。
我該怎麼辦呢??
- - - - - - - - - -
您好我是羅老師。
首先,我要嘉許您願意跟孩子一起學習控制自己的脾氣。
然後我想跟您說:請記得孩子目前有這種行為並不是因為他「壞」或「沒禮貌」,而是他現在還不知道怎麼叫做「好」,還沒學會什麼才是「有禮貌」。
因為四歲不到的孩子,還沒經過「社會化」(socialization) 的過程,所以很多時候還不懂得如何正確地表達自己,這是我們成人必須瞭解的。要讓他學會正確的禮貌與禮儀,也需要一段長時間。
以後他出現這種行為時,您可以
1. 當下以溫和、穩定的態度來提醒他,如:「小明,媽媽很愛你,但你這樣說話是不禮貌的」。
2. 然後,當下示範給他看應該要怎麼說、用什麼言詞來表達自己。若他願意,可以跟您演練一次,使用正確的方式來跟對方說(但不強迫他)。
3. 記得,晚上要「秋後算帳」- 跟他做事後討論,再引導他一次正確的表達方式為何。
4. 注意:在當下不要用對立、責備的方式來提醒,也不需要急著要他跟對方說「對不起」。
5. 若要請孩子說對不起,最好也要讓他在情緒過後、瞭解自己錯在哪裡以後再說;這樣會更有教育意義。
以上是我的建議,希望幫到您。
#羅寶鴻老師
#親子教育
#家庭教育
socialization 在 羅寶鴻 老師 Facebook 八卦
【孩子對我會控制、但對其他長輩卻沒禮貌?】
羅老師您好:
我有個疑問,孩子跟我在一起時他能學著和我一起控制他的脾氣(我也跟他一起學著控制自己的脾氣),可是孩子對他爸、阿嬤、外公外婆和其他長輩則非如此。
像今晚他打翻東西要擦,他爸說沒關係他來,結果孩子就氣到尖叫大喊:「跟你說了我自己擦!」
在長輩眼裡,他很沒禮貌,在我眼裡很不知所措,因為他明明平常對我都能好好說;但對象換了,就不一樣了。
我該怎麼辦呢??
- - - - - - - - - -
您好我是羅老師。
首先,我要嘉許您願意跟孩子一起學習控制自己的脾氣。
然後我想跟您說:請記得孩子目前有這種行為並不是因為他「壞」或「沒禮貌」,而是他現在還不知道怎麼叫做「好」,還沒學會什麼才是「有禮貌」。
因為四歲不到的孩子,還沒經過「社會化」(socialization) 的過程,所以很多時候還不懂得如何正確地表達自己,這是我們成人必須瞭解的。要讓他學會正確的禮貌與禮儀,也需要一段長時間。
以後他出現這種行為時,您可以
1. 當下以溫和、穩定的態度來提醒他,如:「小明,媽媽很愛你,但你這樣說話是不禮貌的」。
2. 然後,當下示範給他看應該要怎麼說、用什麼言詞來表達自己。若他願意,可以跟您演練一次,使用正確的方式來跟對方說(但不強迫他)。
3. 記得,晚上要「秋後算帳」- 跟他做事後討論,再引導他一次正確的表達方式為何。
4. 注意:在當下不要用對立、責備的方式來提醒,也不需要急著要他跟對方說「對不起」。
5. 若要請孩子說對不起,最好也要讓他在情緒過後、瞭解自己錯在哪裡以後再說;這樣會更有教育意義。
以上是我的建議,希望幫到您。
#羅寶鴻老師
#親子教育
#家庭教育
socialization 在 Miaou Youtube 的評價
仔猫部屋から猫部屋へ猫の社会化訓練の為に挨拶に来てる仔猫まや。いつもと匂いが違うのだが、睡魔には勝てなかったようだ。
A kitten from the kitten room to the cat room Says hello to a greeting for socialization training of cats. The smell is different from usual, but it seems that I could not win the sleepy.
猫部屋 Live配信中! http://www.youtube.com/user/kamaitachiTV
チャンネル登録をお願いします。(Please Subscribe)http://www.youtube.com/user/kamaitachiTV
チャンネル・オリジナルグッズの利益全ては、野良猫の里親が見つかる迄の医療費等、猫に関わる活動に使用しております。
みけ Mi-ke (三毛猫 calico, female ♀; May, 2014- )
くろ Kuro (黒猫 black, male ♂; October, 2014- )
しぴ Chipie (グレートラ light gray tabby, female ♀; April, 2015- )
みみ Mimi (グレートラ gray tabby, female ♀; April, 2015- )
まや Maya (茶白 red tabby and white, Male ♂; April,2016-)
るか Luca (アビシニアン レッド Abyssinian Red, male ♂ ;January 16, 2017-)
める Mer (アビシニアン ルディ Abyssinian Ruddy, male ♂ ;January 16, 2017-)
らな Lana (サビ猫 tortoiseshell cat, female ♀; July, 2017- )
みゃうのぶろぐ(ねこのぶろぐ) https://miaou-cat.jp/
猫部屋グッズ : http://www.catsroom-miaou.shop/
Twitter : https://twitter.com/Catsroom_Miaou
Instagram : https://www.instagram.com/Catsroom_Miaou/
公式サイト : http://miaou-jp.com
facebook :https://www.facebook.com/profile.php?id=100006744495228
#瀬戸の日記-miaou
#みゃう-まや
#Catsroom-miaou
socialization 在 Miaou Youtube 的評價
黒猫とアビシニアンとの関係性 約2年と2ヶ月と時間はかかったアビシニアンから黒猫にグルーミングを催促するようになった。
猫の社会化、資源の分配、性格等によって、全ての猫がそうなると思わないが、人間と猫のコミュニケーションしだいで、猫同士の関係性も変わるかもしれない。
相性が悪いとすぐに判断し、手放す前に少し考えてみるのもいいかもしれない。
Relationship between Black Cat and Abyssinian.It took about two years and two months, but Abyssinian began to urge black cats to groom.
Depending on the socialization of cats, distribution of resources, personality, etc., it may not be the case with all cats, but depending on the communication between humans and cats, the relationship between cats may also change.
It may be good to think a little before judging it as soon as it is not compatible and giving it up.
猫部屋 Live配信中! http://www.youtube.com/user/kamaitachiTV
チャンネル登録をお願いします。(Please Subscribe)http://www.youtube.com/user/kamaitachiTV
チャンネル・オリジナルグッズの利益全ては、野良猫の里親が見つかる迄の医療費等、猫に関わる活動に使用しております。
みけ Mi-ke (三毛猫 calico, female ♀; May, 2014- )
くろ Kuro (黒猫 black, male ♂; October, 2014- )
しぴ Chipie (グレートラ light gray tabby, female ♀; April, 2015- )
みみ Mimi (グレートラ gray tabby, female ♀; April, 2015- )
まや Maya (茶白 red tabby and white, Male ♂; April,2016-)
るか Luca (アビシニアン レッド Abyssinian Red, male ♂ ;January 16, 2017-)
める Mer (アビシニアン ルディ Abyssinian Ruddy, male ♂ ;January 16, 2017-)
らな Lana (サビ猫 tortoiseshell cat, female ♀; July, 2017- )
みゃうのぶろぐ(ねこのぶろぐ) https://miaou-cat.jp/
猫部屋グッズ : http://www.catsroom-miaou.shop/
Twitter : https://twitter.com/Catsroom_Miaou
Instagram : https://www.instagram.com/Catsroom_Miaou/
公式サイト : http://miaou-jp.com
facebook :https://www.facebook.com/profile.php?id=100006744495228
#瀬戸の日記-miaou
#みゃう-るか
#Catsroom-miaou
socialization 在 賓狗單字Bingo Bilingual Youtube 的評價
賓狗的更多英文學習資源:https://www.zeczec.com/projects/bingobilingual
· 全英文 podcast
· 視訊家教
· 不定時線上課程
1 【supportive 同意支持的】— 形容詞
US is supportive of the recent announcement of a U.S. arms sale to Taiwan.
2 【Cameroon 喀麥隆】— 名詞Attackers have stormed a school in southwestern Cameroon.
3【flee 逃離】— 動詞
Venezuelan opposition figure has fled the country.
4 【ratification 正式簽署】— 名詞
A UN nuclear ban treaty has reached 50 ratifications.
*更正:podcast 唸成 rat”a” 了,是 rat”i”fication 喔
5 【ward off 避開;預防】— 動詞
Socialization could ward off dementia.
簡單複習:
1)supportive 同意支持的
2)Cameroon 喀麥隆
3)flee 逃離
4) ratification 正式簽署
5)ward off 避開;預防
socialization 在 社會化- 維基百科,自由的百科全書 的相關結果
社會化或社教化(英語:Socialization)是廣泛應用於社會學、社會心理學、人類學、政治學與教育學範疇的名詞,意指人類學習、繼承各種社會規範、傳統、意識形態等周遭 ... ... <看更多>
socialization 在 socialization | psychology | Britannica 的相關結果
socialization, the process whereby an individual learns to adjust to a group (or society) and behave in a manner approved by the group (or society). ... <看更多>
socialization 在 SOCIALIZATION在劍橋英語詞典中的解釋及翻譯 的相關結果
socialization 的意思、解釋及翻譯:1. the process of training people or animals to behave in a way that others in the group think is…。了解更多。 ... <看更多>