🖥️ การจะสร้างเว็บออกมาสักหนึ่งเว็บในเมื่อก่อนเราอาจจะต้องใช้เวลานานมากกกก แต่ในปัจจุบันมี Framework มากมายมาช่วยให้เราทำเว็บได้สะดวกรวดเร็วมากขึ้น !
.
👉 ซึ่งแต่ละ Framework ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาก็จะมีข้อดีแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับว่าเราจะเลือกใช้งานแบบไหน ให้มันเหมาะสมกับงานของเรานั่นเอง
.
และอีกหนึ่ง Framework สำหรับพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันที่เขาฮิตกันมากในยุคนี้ 🔥 และแอดจะนำมาพูดถึงในวันนี้อย่าง Django เนี่ยมันดียังไง ? ทำไมเหล่า Dev ถึงต้องเลือกใช้ ? เจ้านี่มันทำอะไรได้บ้าง ? เก็บข้อสงสัยทั้งหมดนี้ แล้วมาหาคำตอบไปพร้อมกับแอดในโพสต์นี้ได้เลย !!
.
ก่อนอื่นเราทำความรู้จักกับ Django กันก่อน…
.
Django เป็น Framework ที่ช่วยพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันได้อย่างง่ายดาย แถมยังสามารถช่วยจัดการ Database ที่ซับซ้อนได้อีกด้วย เขียนด้วยภาษา Python เป็น Open Source ใช้งานได้ฟรี !!
.
มาดูข้อดีของเจ้า Django กันบ้างดีกว่า...ว่าทำไมเหล่า Dev ถึงต้องเลือกใช้ตัวนี้ ?
.
🐍 ใช้ภาษา Python
.
Django ใช้ภาษา Python ในการพัฒนา อย่างที่รู้กันอยู่แล้วว่า Python เป็นอีกหนึ่งภาษาโปรแกรมมิ่งยอดฮิตมากที่สุดในยุคนี้ เรียนรู้ง่าย หากคุ้นเคยกับภาษานี้ดีอยู่แล้วการจะใช้ Django ในการพัฒนาเว็บก็จะทำได้รวดเร็วมากขึ้น แถมถ้าใช้แล้วเกิดมีปัญหาใด ๆ ก็สามารถหาข้อมูลมาแก้ไขได้ง่ายนั่นเอง
.
⚡ ใช้งานง่ายและรวดเร็ว
.
ใช้หลักการทำซ้ำ ทำให้เราพัฒนาโปรเจกต์ได้อย่างรวดเร็ว สามารถใช้โค้ดเดิมที่เราเขียนไว้ก่อนหน้ามาประยุกต์ใช้กับโปรเจกต์ปัจจุบันของเราได้เลย โดยไม่ต้องเริ่มทำใหม่ทั้งหมด เพียงแค่ปรับแต่งค่าบางอย่าง เช่น URL หรือ Template เพื่อให้เหมาะสมกับโปรเจกต์ใหม่ของเรานั่นเอง
.
⚙️ สถาปัตยกรรมแบบ MVT
.
ใช้สถาปัตยกรรมแบบ MVT (Model View Template) ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งช่วยให้แอปพลิเคชันทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
.
Model - ช่วยในการจัดการฐานข้อมูล CRUD (Create, Read, Update, และ Delete) สามารถทำงานร่วมกับฐานข้อมูล PostgreSQL, MySQL, SQLite, และ Oracle ได้อย่างง่ายดาย
.
View - จัดการในเรื่องของตรรกะและการดำเนินการต่าง ๆ ดึงข้อมูลจาก Model เพื่อส่งให้ Template แสดงหรือประมวลผลนั่นเอง
.
Template - จัดการในส่วน User Interface ใช้แสดงข้อมูลหรือเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งจะรับข้อมูลมาจาก View แล้วมาแสดงผลนั่นเอง
.
✅ ปลอดภัยสุด ๆ
.
ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าความปลอดภัยของเว็บนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่เหล่า Dev นั้นต้องคำนึงอยู่เสมอ ซึ่งเจ้า Django จะเป็น Framework ที่มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีมาก ช่วยรักษาความปลอดภัยจากช่องโหว่ต่าง ๆ อย่างเช่น Clickjacking, SQL Injection, XSS, และ CSRF (Cross-Site Request Forgery) ให้เว็บของเราปลอดภัยมากขึ้น
.
📚 Libraries หลากหลาย
.
Django มีชุด Libraries มากมายที่จะช่วยให้เราพัฒนาเว็บได้ง่ายมากขึ้น เช่น Django REST ที่ช่วยในการสร้าง Interface ในการเขียนโปรแกรม, Django CMS ออกแบบมาเพื่อจัดการเนื้อหาบนหน้าเว็บ, และ Django-allauth ที่ช่วยสำหรับการตรวจสอบสิทธิ์ จัดการบัญชี เป็นต้น และยังมี Libraries อีกมากมาย หากใครสนใจสามารถเข้าไปดูกันได้ในลิงค์ด้านล่างเลยจ้า 👇
.
📑 Link : https://sunscrapers.com/blog/10-django-packages-you-should-know/
.
🖥️ รองรับ SEO
.
การจะทำเว็บให้ติดอันดับการค้นหาบน Search Engine สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้คือการจัดการ SEO นั่นเอง ซึ่งเจ้า Django เป็นหนึ่งใน Framework ที่ช่วยจัดการ SEO ได้อย่างมีประสิทธิภาพมีเครื่องมือที่ช่วยจัดการ SEO ที่ช่วยให้เหล่า Dev ประหยัดเวลามากขึ้น
.
🗂️ รองรับ ORM
.
ใน Django จะมี ORM หรือ Object Relational Mapper เป็นตัวช่วยจัดการฐานข้อมูล ทำให้เราไม่ต้องเขียน SQL เพื่อติดต่อกับฐานข้อมูลตรง ๆ โดยเจ้า ORM จะมี Class ให้เราใช้ ทำให้เราติดต่อกับฐานข้อมูลได้รวดเร็วมากขึ้นนั่นเอง ไม่ว่าจะดึงข้อมูล สร้างตาราง หรืออัปเดตข้อมูล ก็ทำได้ง่าย ๆ
.
🔧 ยืดหยุ่น ปรับขนาดได้
.
Django มีความยืดหยุ่น และปรับขนาดตามโครงสร้างของเว็บได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นเว็บขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการจัดการกับ Traffic ของหรือปรับให้ทำงานได้ในอุปกรณ์ที่แตกต่างกัน มีปลั๊กอินที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเว็บ ให้โหลดใช้งานกันอย่างหลากหลาย และนี่เป็นสิ่งสำคัญที่เว็บไซต์เจ้าดัง อย่างเช่น Instagram, Pinterest, และ Disqus เลือกใช้งานเจ้า Django นั่นเอง
.
และนี่คือส่วนหนึ่งในข้อดีของเจ้า Django ! เพื่อน ๆ ล่ะมีข้อดีอะไรนอกเหนือจากทั้งหมดนี้อยากจะแชร์มั้ย คอมเมนต์มาพูดคุยกันได้เลยน้าาาา ❤️
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
#Django #python #framework #webdeveloper #BorntoDev
同時也有23部Youtube影片,追蹤數超過12萬的網紅prasertcbs,也在其Youtube影片中提到,============ ดาวน์โหลดไฟล์ตัวอย่างได้ที่ http://goo.gl/5UL6Zo ============ playlist สอนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุด้วย Java เบื้องต้น https://www.youtub...
「python class object」的推薦目錄:
- 關於python class object 在 BorntoDev Facebook
- 關於python class object 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook
- 關於python class object 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook
- 關於python class object 在 prasertcbs Youtube
- 關於python class object 在 prasertcbs Youtube
- 關於python class object 在 prasertcbs Youtube
python class object 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 八卦
Functional programming ชื่อไทยคือ “การโปรแกรมเชิงฟังก์ชั่น” ชื่อย่อ FP เป็นแนวคิดหนึ่งของการเขียนโปรแกรม (programming paradigm) ชื่อขึ้นต้นด้วย functional แต่ไม่ได้มีดีแค่ประกาศ function ปุ๊บเสร็จ แล้วเรียกใช้ มันมีเบื้องลึกมากกว่านั้นแน่ๆ
🤔 มันจะต่างจากการเขียนโปรแกรมทีละสเตป ตามลำดับก่อนหลัง มีการวนลูป ที่เน้นแก้ state ของโปรแกรมเป็นหลัก
แต่แนวทาง functional programming จะไม่แก้ state ของโปรแกรมเลย ไม่มีการวนลูบ (ใช้ recursion แทน)
ซึ่งแนวคิดก็ต้องเน้นสร้างฟังก์ชั่นนั่นแหละ แต่หลักสำคัญต้องออกแบบให้หลีกเลี่ยง side-effect (ผลข้างเคียง) ที่จะเกิดต่อ function ตัวเอง และตัวอื่น โดยมีหลักยึด 2 อย่างใหญ่คือ
👉 1) function ที่สร้างขึ้นมา เมื่อมีอินพุตค่าเดิมส่งไปหา (เป็นค่าอากิวเมนต์) ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม function จะรีเทิร์นค่าออกมาเหมือนเดิมทุกครั้ง ...(ไอเดียมาจากฟังก์ชั่นในทางคณิตศาสตร์เลยครับ)
เช่น
func(1); // เรียกครั้งที่ 1 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30
func(1); // เรียกครั้งที่ 2 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
func(1); // เรียกครั้งที่ 3 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
👉 2) function ต้องไม่ไปเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรจำพวก global variable หรือ static variable หรือตัวแปรที่อยู่ข้างนอก function ...เพื่อไม่ให้ function อื่นได้รับผลกระทบ
ถ้า function ที่เราประกาศไว้ มีคุณสมบัติ 2 อย่างที่ว่านี้ ก็จะเรียกว่า pure function (ฟังก์ชั่นบริสุทธ์แท้ๆ) 👌
สำหรับอีกคุณลักษณะหนึ่งที่จะไม่กล่าวถึงไม่ได้เลยก็คือ
👉 3) First-class function และ Higher-order function
คำว่า first-class function มาจาก "first class citizen" ที่หมายถึง "พลเมืองชั้นหนึ่ง" ดังนั้น first-class function จะหมายถึง ฟังก์ชั่นเป็นพลเมืองชั้นหนึ่งจริงๆ เลยนะ
คุณสมบัตินี้ function จะถูกมองเป็นข้อมูลประเภทหนึ่ง ไม่ต่างจากข้อมูลตัวเลข สตริง บูลีน ด้วยเหตุนี้จึงสามารถนำ function ไปกำหนดค่าให้กับตัวแปรยังได้เลย เช่น
x = function(){ .....}
ส่วนคุณสมบัติ Higher-order function:
คุณสมบัตินี้หมายถึง เราสามารถใช้ function ส่งไปเป็นค่าอากิวเมนต์แก่ function ตัวอื่น หรือ function จะรีเทิร์นออกมาจาก function ตัวอื่นออกมาก็ได้ด้วย เช่น
- ส่ง function_A เป็นค่าอากิวเมนต์ไปให้ function_X(function_A);
- จากนั้น function_X() ก็จะสร้าง function_Y แล้วรีเทิร์นมันออกมาได้
😜 ===ประโยชน์ functional programming===
🔥 เอาไปเขียนโปรแกรมโดยไม่มีการวนลูป เช่น ไม่ต้องมานั่งเขียน for … หรือ while… วนลูป เพื่อเข้าถึงข้อมูลโครงสร้างพวก array , list ฯลฯ เป็นต้น
🔥 การทำ currying หมายถึงทำให้ฟังก์ชั่น จากเดิมที่มี parameter หลายตัวให้เหลือแค่ตัวเดียว ด้วยการส่งผลลัพธ์เป็น function ที่รับ Parameter ที่เหลือ ...ใช้เทคนิค closure
🔥 หรือจะทำ function Composition (เอาฟังก์ชั่นมาประกอบกัน)
🔥 หรือจะเอาไปใช้เขียนโปรแกรมแบบ parallel computing (โปรแกรมคู่ขนาน)
🔥 หรือจะเขียนโปรแกรมแบบ asynchronous โดยที่โค้ดหลักไม่ต้องรอการประมวลผลฝั่ง I/O ให้แล้วเสร็จ โค้ดหลักสามารถข้ามไปยังบรรทัดถัดไปก่อนได้เลย
🔥 Testability — ผลพลอยได้ก็คือ เอาแนวคิดนี้ไปใช้ทำ test function ได้ง่าย โดยแต่ละการ test จะเป็นอิสระต่อกัน เมื่อใช้วิธีการเดิมในการทดสอบ 10 ครั้ง ก็ควรได้ผลเหมือนเดิม 10 ครั้ง เป็นต้น
++++ 🤔 ++++++
เมื่อเปรียบเทียบกับแนวคิด OOP (โปรแกรมเชิงวัตถุ object-oriented programming)
ถ้าโจทย์ปัญหาเป็น parallel computing หรือ asynchronous การใช้แนวคิด functional programming ดูแล้วคล่องแคล่วปราดเปรียวไม่ยุ่งยาก
เนื่องจากแนวคิด functional programming ไม่มีอะไรซับซ้อนมากนัก เขียนโปรแกรมก็จะกระชับ ง่าย...ง๊าย เมื่อเทียบกับ OOP ที่โค้ดจะเยอะกว่า เพราะมี class มากมาย ยิ่งถ้า inheritance โดยให้มีการสืบทอดสมาชิกหลายชั้น ก็จะสับสนตาลาย มึนงงได้ คงต้องพึ่ง IDE ให้เป็นพี่เลี้ยงช่วยแนะนำว่ามีสมาชิกอะไรที่สืบทอดมา
แต่จุดเด่นเรื่อง OOP จะมีความเป็น Modularity ที่สูง โค้ดที่เขียนเป็นอ็อบเจ็กต์แต่ละตัวจะเป็นอิสระต่อกัน เนื่องจากข้อมูลหรือ state ซึ่งอยู่ภายในตัวอ็อบเจ็กต์เอง จะมีเป็นของใครของมัน ขณะเดียวกันแต่ละอ็อบเจ็กต์จะปฏิสัมพันธ์กันได้ สามารถเอาอ็อบเจ็กต์ที่มีอยู่แล้วมา reuse ใช้ได้ง่าย รวมทั้งถอดเข้าถอดออกขณะโปรแกรม run time
แล้วแต่สถานการณ์ว่าจะใช้แนวทางเขียนโปรแกรมแบบไหน
แต่ก็ยอมรับว่าบางทีเขียนแบบ functional programming ก็ยากต่อการทำความเข้าใจ เพราะโค้ดมันสั้นกระชับเกิ๊น
ยิ่งหลายภาษาโปรแกรมมิ่งสมัยใหม่ในปัจจุบันนี้ มีการแทรกแนวคิด functional programming เข้ามา นอกเหนือจากแนวคิด OOP เช่น JavaScript, Python, Java, C#, Swift, Kotlin แต่ก็อาจประยุกต์แนวคิดนี้ได้ไม่ 100% มากนัก
จะไม่เหมือนบ้างภาษาเช่น Haskell ที่มาพร้อมกับ immutable data structure หมายถึงข้อมูลที่ไม่สามารถแก้ไขค่าได้เลย จึงทำให้ function กลายเป็น functional programming แท้ๆ (pure function)
✍ สรุป แนวคิดนี้ไม่ได้เรื่องใหม่มีมานานก่อนบางคน ...อุ้แว ...อุ้แวเกิดเสียอีก แต่ตอนโน่นแนวคิดนี้ยังไม่ดังเปรี้ยงเหมือน OOP คนที่เขียนภาษา JavaScript รวมไปถึง Node.js ย่อมใช้หลักการนี้อย่างไม่รู้ตัว ยิ่งภาษาสมัยใหม่หลายตัวก็ยอมรับแนวคิด functional programming เข้ามาในภาษาเรียบร้อยแล้ว ไม่มีนี้ถือว่าแปลกมาก
--------
เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
python class object 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 八卦
Functional programming ชื่อไทยคือ “การโปรแกรมเชิงฟังก์ชั่น” ชื่อย่อ FP เป็นแนวคิดหนึ่งของการเขียนโปรแกรม (programming paradigm) ชื่อขึ้นต้นด้วย functional แต่ไม่ได้มีดีแค่ประกาศ function ปุ๊บเสร็จ แล้วเรียกใช้ มันมีเบื้องลึกมากกว่านั้นแน่ๆ
🤔 มันจะต่างจากการเขียนโปรแกรมทีละสเตป ตามลำดับก่อนหลัง มีการวนลูป ที่เน้นแก้ state ของโปรแกรมเป็นหลัก
แต่แนวทาง functional programming จะไม่แก้ state ของโปรแกรมเลย ไม่มีการวนลูบ (ใช้ recursion แทน)
ซึ่งแนวคิดก็ต้องเน้นสร้างฟังก์ชั่นนั่นแหละ แต่หลักสำคัญต้องออกแบบให้หลีกเลี่ยง side-effect (ผลข้างเคียง) ที่จะเกิดต่อ function ตัวเอง และตัวอื่น โดยมีหลักยึด 2 อย่างใหญ่คือ
👉 1) function ที่สร้างขึ้นมา เมื่อมีอินพุตค่าเดิมส่งไปหา (เป็นค่าอากิวเมนต์) ไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม function จะรีเทิร์นค่าออกมาเหมือนเดิมทุกครั้ง ...(ไอเดียมาจากฟังก์ชั่นในทางคณิตศาสตร์เลยครับ)
เช่น
func(1); // เรียกครั้งที่ 1 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30
func(1); // เรียกครั้งที่ 2 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
func(1); // เรียกครั้งที่ 3 ก็จะได้ค่ารีเทิร์นออกมาเป็น 30 เหมือนเดิม
👉 2) function ต้องไม่ไปเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรจำพวก global variable หรือ static variable หรือตัวแปรที่อยู่ข้างนอก function ...เพื่อไม่ให้ function อื่นได้รับผลกระทบ
ถ้า function ที่เราประกาศไว้ มีคุณสมบัติ 2 อย่างที่ว่านี้ ก็จะเรียกว่า pure function (ฟังก์ชั่นบริสุทธ์แท้ๆ) 👌
สำหรับอีกคุณลักษณะหนึ่งที่จะไม่กล่าวถึงไม่ได้เลยก็คือ
👉 3) First-class function และ Higher-order function
คำว่า first-class function มาจาก "first class citizen" ที่หมายถึง "พลเมืองชั้นหนึ่ง" ดังนั้น first-class function จะหมายถึง ฟังก์ชั่นเป็นพลเมืองชั้นหนึ่งจริงๆ เลยนะ
คุณสมบัตินี้ function จะถูกมองเป็นข้อมูลประเภทหนึ่ง ไม่ต่างจากข้อมูลตัวเลข สตริง บูลีน ด้วยเหตุนี้จึงสามารถนำ function ไปกำหนดค่าให้กับตัวแปรยังได้เลย เช่น
x = function(){ .....}
ส่วนคุณสมบัติ Higher-order function:
คุณสมบัตินี้หมายถึง เราสามารถใช้ function ส่งไปเป็นค่าอากิวเมนต์แก่ function ตัวอื่น หรือ function จะรีเทิร์นออกมาจาก function ตัวอื่นออกมาก็ได้ด้วย เช่น
- ส่ง function_A เป็นค่าอากิวเมนต์ไปให้ function_X(function_A);
- จากนั้น function_X() ก็จะสร้าง function_Y แล้วรีเทิร์นมันออกมาได้
😜 ===ประโยชน์ functional programming===
🔥 เอาไปเขียนโปรแกรมโดยไม่มีการวนลูป เช่น ไม่ต้องมานั่งเขียน for … หรือ while… วนลูป เพื่อเข้าถึงข้อมูลโครงสร้างพวก array , list ฯลฯ เป็นต้น
🔥 การทำ currying หมายถึงทำให้ฟังก์ชั่น จากเดิมที่มี parameter หลายตัวให้เหลือแค่ตัวเดียว ด้วยการส่งผลลัพธ์เป็น function ที่รับ Parameter ที่เหลือ ...ใช้เทคนิค closure
🔥 หรือจะทำ function Composition (เอาฟังก์ชั่นมาประกอบกัน)
🔥 หรือจะเอาไปใช้เขียนโปรแกรมแบบ parallel computing (โปรแกรมคู่ขนาน)
🔥 หรือจะเขียนโปรแกรมแบบ asynchronous โดยที่โค้ดหลักไม่ต้องรอการประมวลผลฝั่ง I/O ให้แล้วเสร็จ โค้ดหลักสามารถข้ามไปยังบรรทัดถัดไปก่อนได้เลย
🔥 Testability — ผลพลอยได้ก็คือ เอาแนวคิดนี้ไปใช้ทำ test function ได้ง่าย โดยแต่ละการ test จะเป็นอิสระต่อกัน เมื่อใช้วิธีการเดิมในการทดสอบ 10 ครั้ง ก็ควรได้ผลเหมือนเดิม 10 ครั้ง เป็นต้น
++++ 🤔 ++++++
เมื่อเปรียบเทียบกับแนวคิด OOP (โปรแกรมเชิงวัตถุ object-oriented programming)
ถ้าโจทย์ปัญหาเป็น parallel computing หรือ asynchronous การใช้แนวคิด functional programming ดูแล้วคล่องแคล่วปราดเปรียวไม่ยุ่งยาก
เนื่องจากแนวคิด functional programming ไม่มีอะไรซับซ้อนมากนัก เขียนโปรแกรมก็จะกระชับ ง่าย...ง๊าย เมื่อเทียบกับ OOP ที่โค้ดจะเยอะกว่า เพราะมี class มากมาย ยิ่งถ้า inheritance โดยให้มีการสืบทอดสมาชิกหลายชั้น ก็จะสับสนตาลาย มึนงงได้ คงต้องพึ่ง IDE ให้เป็นพี่เลี้ยงช่วยแนะนำว่ามีสมาชิกอะไรที่สืบทอดมา
แต่จุดเด่นเรื่อง OOP จะมีความเป็น Modularity ที่สูง โค้ดที่เขียนเป็นอ็อบเจ็กต์แต่ละตัวจะเป็นอิสระต่อกัน เนื่องจากข้อมูลหรือ state ซึ่งอยู่ภายในตัวอ็อบเจ็กต์เอง จะมีเป็นของใครของมัน ขณะเดียวกันแต่ละอ็อบเจ็กต์จะปฏิสัมพันธ์กันได้ สามารถเอาอ็อบเจ็กต์ที่มีอยู่แล้วมา reuse ใช้ได้ง่าย รวมทั้งถอดเข้าถอดออกขณะโปรแกรม run time
แล้วแต่สถานการณ์ว่าจะใช้แนวทางเขียนโปรแกรมแบบไหน
แต่ก็ยอมรับว่าบางทีเขียนแบบ functional programming ก็ยากต่อการทำความเข้าใจ เพราะโค้ดมันสั้นกระชับเกิ๊น
ยิ่งหลายภาษาโปรแกรมมิ่งสมัยใหม่ในปัจจุบันนี้ มีการแทรกแนวคิด functional programming เข้ามา นอกเหนือจากแนวคิด OOP เช่น JavaScript, Python, Java, C#, Swift, Kotlin แต่ก็อาจประยุกต์แนวคิดนี้ได้ไม่ 100% มากนัก
จะไม่เหมือนบ้างภาษาเช่น Haskell ที่มาพร้อมกับ immutable data structure หมายถึงข้อมูลที่ไม่สามารถแก้ไขค่าได้เลย จึงทำให้ function กลายเป็น functional programming แท้ๆ (pure function)
✍ สรุป แนวคิดนี้ไม่ได้เรื่องใหม่มีมานานก่อนบางคน ...อุ้แว ...อุ้แวเกิดเสียอีก แต่ตอนโน่นแนวคิดนี้ยังไม่ดังเปรี้ยงเหมือน OOP คนที่เขียนภาษา JavaScript รวมไปถึง Node.js ย่อมใช้หลักการนี้อย่างไม่รู้ตัว ยิ่งภาษาสมัยใหม่หลายตัวก็ยอมรับแนวคิด functional programming เข้ามาในภาษาเรียบร้อยแล้ว ไม่มีนี้ถือว่าแปลกมาก
--------
เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
python class object 在 prasertcbs Youtube 的評價
============
ดาวน์โหลดไฟล์ตัวอย่างได้ที่ http://goo.gl/5UL6Zo
============
playlist สอนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุด้วย Java เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=zC_0xOSX1dY&list=PLoTScYm9O0GEvHKqqib-AdVFwVe_2ln8W
============
playlist สอนภาษาจาวา Java เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=O3rW9JvADfU&list=PLoTScYm9O0GF26yW0zVc2rzjkygafsILN
============
playlist สอนจาวา Java FileIO การอ่านเขียนไฟล์
https://www.youtube.com/watch?v=y4dfsuShUaw&list=PLoTScYm9O0GEsSpaLgFDuPWzUEZdtnuWs
============
playlist สอนจาวา Java การใช้ Collections ต่าง ๆ เช่น ArrayList, Map, Set, Stack
https://www.youtube.com/watch?v=JYTIQip_pak&list=PLoTScYm9O0GEskLFgdC02Swit1fcDWspM
============
playlist สอนการทำ Unit Test ภาษาจาวา Java
https://www.youtube.com/watch?v=R11yg8hKApU&list=PLoTScYm9O0GHiK3KNdH_PrNB0G3-kb1Bi
============
playlist สอนภาษา C เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=Z_u8Nh_Zlqc&list=PLoTScYm9O0GHHgz0S1tSyIl7vkG0y105z
============
playlist สอนภาษา C# เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=hhl49jwOIZI&list=PLoTScYm9O0GE4trr-XPozJRwaY7V9hx8K
============
playlist สอนภาษา C++ เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=_NHyJBIxc40&list=PLoTScYm9O0GEfZwqM2KyCBcPTVsc6cU_i
============
playlist สอนภาษาไพธอน Python เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=DI7eca5Kzdc&list=PLoTScYm9O0GH4YQs9t4tf2RIYolHt_YwW
============
playlist สอนภาษาไพธอน Python การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP: Object-Oriented Programming)
https://www.youtube.com/watch?v=4bVBSluxJNI&list=PLoTScYm9O0GF_wbU-7layLaSuHjzhIRc9
============
playlist สอนภาษา R เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=oy4qViQLXsI&list=PLoTScYm9O0GF6qjrRuZFSHdnBXD2KVICp
============
playlist สอนภาษา PHP เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=zlRDiXjYVo4&list=PLoTScYm9O0GH_6LARFxozL_viEsXV2wgO
============
เชิญสมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้ได้ที่
https://www.youtube.com/subscription_center?add_user=prasertcbs
python class object 在 prasertcbs Youtube 的評價
แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของ setter
การใช้งาน regular expression เพื่อลบตัวอักษรที่ไม่ใช่ตัวเลข
============
ดาวน์โหลดไฟล์ตัวอย่างได้ที่ http://goo.gl/bOupBD
============
playlist สอนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุด้วย Java เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=zC_0xOSX1dY&list=PLoTScYm9O0GEvHKqqib-AdVFwVe_2ln8W
============
playlist สอนภาษาจาวา Java เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=O3rW9JvADfU&list=PLoTScYm9O0GF26yW0zVc2rzjkygafsILN
============
playlist สอนจาวา Java FileIO การอ่านเขียนไฟล์
https://www.youtube.com/watch?v=y4dfsuShUaw&list=PLoTScYm9O0GEsSpaLgFDuPWzUEZdtnuWs
============
playlist สอนจาวา Java การใช้ Collections ต่าง ๆ เช่น ArrayList, Map, Set, Stack
https://www.youtube.com/watch?v=JYTIQip_pak&list=PLoTScYm9O0GEskLFgdC02Swit1fcDWspM
============
playlist สอนการทำ Unit Test ภาษาจาวา Java
https://www.youtube.com/watch?v=R11yg8hKApU&list=PLoTScYm9O0GHiK3KNdH_PrNB0G3-kb1Bi
============
playlist สอนภาษา C เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=Z_u8Nh_Zlqc&list=PLoTScYm9O0GHHgz0S1tSyIl7vkG0y105z
============
playlist สอนภาษา C# เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=hhl49jwOIZI&list=PLoTScYm9O0GE4trr-XPozJRwaY7V9hx8K
============
playlist สอนภาษา C++ เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=_NHyJBIxc40&list=PLoTScYm9O0GEfZwqM2KyCBcPTVsc6cU_i
============
playlist สอนภาษาไพธอน Python เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=DI7eca5Kzdc&list=PLoTScYm9O0GH4YQs9t4tf2RIYolHt_YwW
============
playlist สอนภาษาไพธอน Python การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP: Object-Oriented Programming)
https://www.youtube.com/watch?v=4bVBSluxJNI&list=PLoTScYm9O0GF_wbU-7layLaSuHjzhIRc9
============
playlist สอนภาษา R เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=oy4qViQLXsI&list=PLoTScYm9O0GF6qjrRuZFSHdnBXD2KVICp
============
playlist สอนภาษา PHP เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=zlRDiXjYVo4&list=PLoTScYm9O0GH_6LARFxozL_viEsXV2wgO
============
เชิญสมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้ได้ที่
https://www.youtube.com/subscription_center?add_user=prasertcbs
python class object 在 prasertcbs Youtube 的評價
============
ดาวน์โหลดไฟล์ตัวอย่างได้ที่ http://goo.gl/FwL1qJ
============
playlist สอนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุด้วย Java เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=zC_0xOSX1dY&list=PLoTScYm9O0GEvHKqqib-AdVFwVe_2ln8W
============
playlist สอนภาษาจาวา Java เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=O3rW9JvADfU&list=PLoTScYm9O0GF26yW0zVc2rzjkygafsILN
============
playlist สอนจาวา Java FileIO การอ่านเขียนไฟล์
https://www.youtube.com/watch?v=y4dfsuShUaw&list=PLoTScYm9O0GEsSpaLgFDuPWzUEZdtnuWs
============
playlist สอนจาวา Java การใช้ Collections ต่าง ๆ เช่น ArrayList, Map, Set, Stack
https://www.youtube.com/watch?v=JYTIQip_pak&list=PLoTScYm9O0GEskLFgdC02Swit1fcDWspM
============
playlist สอนการทำ Unit Test ภาษาจาวา Java
https://www.youtube.com/watch?v=R11yg8hKApU&list=PLoTScYm9O0GHiK3KNdH_PrNB0G3-kb1Bi
============
playlist สอนภาษา C เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=Z_u8Nh_Zlqc&list=PLoTScYm9O0GHHgz0S1tSyIl7vkG0y105z
============
playlist สอนภาษา C# เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=hhl49jwOIZI&list=PLoTScYm9O0GE4trr-XPozJRwaY7V9hx8K
============
playlist สอนภาษา C++ เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=_NHyJBIxc40&list=PLoTScYm9O0GEfZwqM2KyCBcPTVsc6cU_i
============
playlist สอนภาษาไพธอน Python เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=DI7eca5Kzdc&list=PLoTScYm9O0GH4YQs9t4tf2RIYolHt_YwW
============
playlist สอนภาษาไพธอน Python การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP: Object-Oriented Programming)
https://www.youtube.com/watch?v=4bVBSluxJNI&list=PLoTScYm9O0GF_wbU-7layLaSuHjzhIRc9
============
playlist สอนภาษา R เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=oy4qViQLXsI&list=PLoTScYm9O0GF6qjrRuZFSHdnBXD2KVICp
============
playlist สอนภาษา PHP เบื้องต้น
https://www.youtube.com/watch?v=zlRDiXjYVo4&list=PLoTScYm9O0GH_6LARFxozL_viEsXV2wgO
============
เชิญสมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้ได้ที่
https://www.youtube.com/subscription_center?add_user=prasertcbs
python class object 在 [Python物件導向]淺談Python類別(Class) 的相關結果
Python 也提供了一個函式isinstance()來判斷類別(Class)與物件(Object)的關係,語法如下:. isinstance(object_name, class_name). ... <看更多>
python class object 在 [Python 基礎教學] 一切皆為物件,到底什麼是物件Object 的相關結果
Everything object can have attributes and methods. * Attribute: A variable stored in an instance or class is called an attribute. * Method: A ... ... <看更多>
python class object 在 9. Classes — Python 3.10.0 documentation 的相關結果
Python classes provide all the standard features of Object Oriented Programming: the class inheritance mechanism allows multiple base classes, a derived ... ... <看更多>