[時事英文] 各國如何面對新冠疫情?
讓我最有感觸的一句:
"The rise of populism has exacerbated the problem by reducing the incentives of countries to cooperate. "
「民粹主義的興起減少了各國合作的意願,使問題更加嚴重。」
—NY Times
★★★★★★★★
In Frankfurt, the president of the European Central Bank warned that the coronavirus could trigger an economic crash as dire as that of 2008. In Berlin, the German chancellor warned the virus could infect two-thirds of her country’s population. In London, the British prime minister rolled out a nearly $40 billion rescue package to cushion his economy from the shock.
1. trigger an economic crash 引發經濟崩潰
2. dire 嚴重的;危急的
3. roll out 推出
4. rescue package 救助計劃
5. to cushion sth from… 對(某事物的影響或力量)起緩衝作用
在法蘭克福,歐洲央行行長警告說,冠狀病毒可能引發與2008年一樣嚴重的經濟崩潰。在柏林,德國總理警告說,病毒可能導致該國三分之二的人口感染。在倫敦,英國首相推出了將近400億美元的一系列救助計劃,以緩解經濟受到的衝擊。
★★★★★★★★★★★★
As the toll of those afflicted by the virus continued to soar and financial markets from Tokyo to New York continued to swoon, world leaders are finally starting to find their voices about the gravity of what is now officially a pandemic.
6. the toll of… 的傷亡;損失;破壞
7. the death toll 死亡人數
8. afflict 使痛苦;使苦惱;折磨
9. swoon 低迷*
10. find their voices about 願意開口談及
11. the gravity of …的嚴重性
隨著感染者的死亡人數持續飆升,從東京到紐約的金融市場持續低迷,世界各國領導人終於開始談及這場已正式定性為大流行病的疫情的嚴重性。
*http://bit.ly/3b7PZK8
★★★★★★★★★★★★
Yet it remains less a choir than a cacophony — a dissonant babble of politicians all struggling, in their own way, to cope with the manifold challenges posed by the virus, from its crushing burden on hospitals and health care workers to its economic devastation and rising death toll.
12. cacophony 刺耳嘈雜的聲音;雜音
13. a dissonant babble of... 七嘴八舌的...
14. manifold challenges 多種多樣的挑戰
15. economic devastation 經濟崩解
然而,與其說是合唱,這更像一種刺耳的喧囂——一群七嘴八舌的政客用各自的方式努力應對這種病毒所帶來的各種挑戰,從超負荷的醫院和醫護人員到崩潰的經濟和與日俱增的死亡人數。
★★★★★★★★★★★★
The choir also lacks a conductor, a role played through most of the post-World War II era by the United States.
這個合唱團還欠缺指揮,在二戰戰後的大部分時間裡,這個角色是由美國扮演的。
President Trump has failed to work with other leaders to fashion a common response, preferring to promote travel bans and his border wall over the scientific advice of his own medical experts. Mr. Trump’s secretary of state, Mike Pompeo, has taken to calling it the “Wuhan virus,” vilifying the country where it originated and complicating efforts to coordinate a global response.
16. lack (v.) 缺少,缺乏*
17. to fashion a common response 形成一致的回應
18. travel ban 旅行禁令
19. take to sth 開始從事;形成…的習慣
20. vilify 詆毀,誣衊;醜化;貶低
21. complicate 使複雜化;使更難懂;使更麻煩
川普總統未能與其他領導人合作形成一致的回應,他寧願推動旅行禁令和他的邊境牆,而不是他自己的醫學專家的科學建議。川普的國務卿邁克·龐皮歐(Mike Pompeo)把它叫做「武漢病毒」,醜化其發源國,使協調全球響應的工作更加艱難。
*lack, lack of, lacking: http://bit.ly/33LrOhw
★★★★★★★★★★★★
週三,川普總統在白宮會見了銀行家,討論如何應對冠狀病毒。
The same denigration of science and urge to block outsiders has characterized leaders from China to Iran, as well as right-wing populists in Europe, which is sowing cynicism and leaving people uncertain of who to believe. Far from trying to stamp out the virus, strongmen like President Vladimir V. Putin of Russia and Crown Prince Mohammed bin Salman of Saudi Arabia have seized on the upheaval it is causing as cover for steps to consolidate their power.
22. the denigration of science 對科學的詆毀
23. characterize (v.) 是…的特徵;為…所特有
24. right-wing populists 右翼民粹主義者
25. sow a seed of 播下了…的種子
26. cynicism 犬儒主義;憤世嫉俗
27. stamp sth out 消除,消滅
28. upheaval 動盪
29. consolidate their power 鞏固自己的力量
從中國到伊朗的領導人,乃至歐洲的右翼民粹主義者,都有同樣的對科學的詆毀和對外人的排斥,這播下了疑神疑鬼的種子,讓人們不知道該相信誰。俄羅斯總統弗拉基米爾·V·普丁(Vladimir V. Putin)和沙烏地阿拉伯王儲穆罕默德·本·薩勒曼(Mohammed bin Salman)等強人領袖並沒有去試圖消滅病毒,而是趁機以其引發的動盪為掩護,鞏固自己的力量。
★★★★★★★★★★★★
Yet it is too simple to lay all this at Mr. Trump’s door, or on world leaders collectively. Part of the problem is simply the fiendish nature of the pathogen.
30. lay sth at sb's door 將…歸咎於(某人)
31. fiendish 惡魔般的;殘忍的
32. pathogen 病原體
然而,將一切推到川普身上,或一股腦推到各國領導人身上,都過於簡單了。部分問題實際上源於病原體的殘忍特性。
★★★★★★★★★★★★
Coronavirus has resisted the tools that countries have brought to bear against previous global scourges. Mysterious in its transmission and relentless in its spread, it has led countries to try wildly divergent responses. The lack of common standards on testing, on the cancellation of public gatherings and on quarantines have deepened the anxiety of people and eroded confidence in their leaders.
33. to bear against 抵禦
34. global scourges 全球災禍
35. wildly divergent responses 截然不同的應對方式
36. quarantine 隔離
37. eroded confidence 削弱對…的信心
各國為抵禦先前的全球災禍而使用的工具,被冠狀病毒一一擊敗。詭異的感染方式,持續不懈的傳播,已經導致各國不得不嘗試各種截然不同的應對方式。在病毒測試、取消公共聚會和隔離方法上缺乏一致的標準,這加劇了人們的焦慮,並削弱了他們對領導者的信心。
★★★★★★★★★★★★
The simultaneous shocks to supply and demand — shuttered iPhone factories in China; empty gondolas in Venice; and passengers abandoning cruises, hotels and airlines everywhere else — is a new phenomenon that may not respond to the weapons government wielded against the dislocation that followed the September 2001 terrorist attacks and the financial crisis of 2008.
38. simultaneous shocks 同時衝擊
39. supply and demand 供需
40. the weapons wielded against... 為抵禦...所鍛造的武器
供給和需求在同一時刻受到衝擊——被關閉的中國iPhone工廠;威尼斯空無一人的貢多拉;以及其他地方旅客放棄前往的郵輪、旅館和航班——政府在2001年9月的恐怖襲擊以及2008年金融危機後為抵禦混亂所鍛造的武器,恐怕難以用來對付這種新的現象。
★★★★★★★★★★★★
“The nature of this crisis is qualitatively different than the one in 2008 because the traditional tools are not as effective,” said Richard N. Haass, president of the Council on Foreign Relations. “Even if the U.S. took a leadership role, the traditional playbook would not be all that relevant here.”
41. the nature of …的性質
42. be qualitatively different 有本質區別
43. playbook 方案
「這次危機的性質,與2008年危機有本質區別,因為傳統手段的效果不佳,」外交關係委員會(Council on Foreign Relations)主席理查德·N·哈斯(Richard N. Haass)說。「即使美國發揮領導作用,傳統方案用在現在的情況沒有多大意義。」
★★★★★★★★★★★★
Britain, for example, won praise for its robust economic response, which, in addition to billions of pounds for hospitals and workers sidelined by illness, included a sharp interest rate cut by the Bank of England.
44. won praise for 贏得讚譽
45. robust economic response 強勁的經濟反應
46. in addition to 此外
47. be sidelined by illness 因疾病而停工
48. a sharp interest rate cut大幅降息
例如,英國因其強勁的經濟應對而贏得讚譽,他們不僅為醫院和因疾病而停工的工人提供了數十億英鎊撥款,還包括英格蘭銀行的大幅降息。
★★★★★★★★★★★★
Yet stocks in London still tumbled, if not as steeply as on Wall Street, where investors brushed off Treasury Secretary Steven Mnuchin’s proposal to allow Americans to delay paying their income taxes, which he claimed would pump $200 billion into the economy.
49. tumbled (價值)暴跌,驟降
50. steeply 徒峭地;險峻地
51. brush off 漠視,不理睬
然而,倫敦股市仍然下跌,儘管跌幅不及華爾街。面對財政部長史蒂芬·馬努欽(Steven Mnuchin)提出的允許美國人緩交所得稅的提議,華爾街投資人不為所動,馬努欽聲稱此舉將為經濟注入2000億美元。
★★★★★★★★★★★★
Mr. Trump’s other big idea, a cut in the payroll tax, was pronounced a “non-starter” by House Democrats, who scrambled instead to introduce legislation to provide financial help to patients, workers and families affected by the fast-moving epidemic and speed it to a House vote on Thursday.
52. payroll tax 薪金稅
53. non-starter 無成功希望的人(或想法、計劃)
54. House Democrats 眾議院民主黨議員
55. scramble to 爭搶(去做)
川普先生的另一個大想法是削減薪金稅,眾議院民主黨議員宣布這「不可能」,他們慌忙提出立法,在財務上幫助受迅速傳播的流行病影響的患者、工人和家庭,並且快速提交至週四的眾議院投票。
★★★★★★★★★★★★
To Mr. Haass, the intense focus on limiting the economic blow was understandable, given the carnage in the markets, but premature. He said countries needed to put their energy into slowing and mitigating the spread of the virus before they embarked on fiscal programs to repair the economic damage.
56. carnage (尤指戰爭中的)大屠殺,殘殺
57. carnage in the markets 市場的慘狀
58. premature 過早的;不成熟的;倉促的
59. mitigate 減緩
60. embarked on sth 開始,著手做(新的或重要的事情)
61. fiscal programs 財政計劃
哈斯認為,考慮到市場的慘狀,集中精力抑制經濟衝擊是可以理解的,但為時過早。他說,各國在開始實施財政計劃以修復經濟損失之前,需要投入精力以減慢並緩和病毒的傳播。
★★★★★★★★★★★★
The trouble is that, with few exceptions, their efforts have been hapless. In the United States, the delay in developing coronavirus test kits and the scarcity of tests has made it impossible for officials, even weeks after the first cases appeared in the country, to get a true picture of the scale of the outbreak.
62. hapless幸運的;不愉快的
63. the scarcity of …的缺乏
64. the scale of the outbreak 疫情的真實規模
問題是,除了少數例外,他們的努力都沒有什麼好結果。在美國,由於開發冠狀病毒檢測工具的進度遲緩,以及檢測手段的缺乏,官員們甚至在出現本國第一例病例數週後仍無法了解疫情的真實規模。
★★★★★★★★★★★★
In hard-hit Italy, quarrels broke out between politicians and medical experts over whether the authorities were testing too many people in Lombardy, inflating the infection figures and fueling panic in the public. Italy’s response could be weakened further by the anti-vaccination movement that was once embraced by the populist Five Star Movement, which took power in the last government.
65. hard-hit 受災嚴重的
66. inflate 抬高;誇大
67. fueling panic加劇恐慌
68. anti-vaccination movement 反疫苗運動
69. populist 民粹主義政黨
70. took power 執政
在受災嚴重的義大利,政界人士和醫學專家爭論當局是否在倫巴第對太多人進行測試,誇大感染人數,加劇公眾恐慌。義大利的反應可能會遭到反疫苗運動的進一步削弱。該運動曾受上屆執政的民粹主義政黨五星運動(Five Star Movement)的支持。
★★★★★★★★★★★★
義大利倫巴第地區是世界上受災最嚴重的地區之一,人們戴著口罩。
Even comparing one country’s case count to another’s is almost impossible, given the different testing procedures and diagnostic criteria around the world, said Dr. Chris Smith, a specialist in virology at the University of Cambridge.
71. testing procedures 檢測程序
72. diagnostic criteria 診斷標準
劍橋大學(University of Cambridge)病毒學專家克里斯·史密斯(Chris Smith)博士表示,考慮到世界各地不同的檢測程序和診斷標準,連對兩個國家的病例數進行比較幾乎都是不可能的。
★★★★★★★★★★★★
In the most extreme example, China’s case count skyrocketed when it began recording positives based on people’s symptoms, rather than a lab test, the method most countries are still using. But even lab tests might yield different results in different places, depending on the targets labs are using and the ways health workers collect and process specimens.
73. based on people’s symptom 根據某人癥狀
74. case count skyrocketed 病例數大幅飆升
75. yield different results 產生不同的結果
最極端的例子是,當中國開始根據癥狀而不是大多數國家仍在使用的實驗室檢測來計算確診病例時,病例數出現了大幅飆升。但即使是實驗室測試,不同的地方也可能產生不同的結果,這取決於實驗室使用的對象以及醫務人員收集和處理標本的方式。
★★★★★★★★★★★★
“Different countries are doing different things,” Dr. Smith said of the testing programs. “You’re not comparing apples to apples.”
「不同的國家正在做不同的事情,」史密斯談到測試項目時說。「這不是蘋果和蘋果之間的對比。」
The rise of populism has exacerbated the problem by reducing the incentives of countries to cooperate. European leaders, in a three-hour teleconference on Tuesday night, agreed to set up a 25 billion euro investment fund, or $28.1 billion, and to relax rules governing airlines to curb the economic fallout.
76. exacerbated the problem 使問題更加嚴重
77. the incentives of 誘因
78. teleconference 電話會議
79. curb the economic fallout 遏制經濟危機的影響
民粹主義的興起減少了各國合作的意願,使問題更加嚴重。歐洲領導人週二晚間舉行了三小時的電話會議,同意設立一個250億歐元(合1930億元人民幣)的投資基金,並放鬆對航空公司的監管,以遏制經濟危機的影響。
★★★★★★★★★★★★
But they failed to overcome national objections to sharing medical equipment like face masks and respirators, given that health issues are the responsibility of national governments. Germany, the Czech Republic and other countries have tightened export restrictions on this gear to keep it for their own citizens.
80. failed to overcome 未能克服
81. respirator 呼吸器
82. tightened export restrictions on… 加強了…的出口限制
83. gear (從事某活動的)裝備,用具,衣服
但他們未能克服各國對分享口罩和呼吸器等醫療器械的反對,因為健康問題是國家政府的責任。德國、捷克共和國等國家已經加強了對這些設備的出口限制,以便將其留給本國公民。
★★★★★★★★★★★★
Chancellor Angela Merkel’s warning that the virus would infect 60 percent to 70 percent of people in Germany — a figure she attributed to the “consensus among experts” — was the most forthright admission of the scale of the problem by any world leader. It was fully in character for a physicist-turned-politician, reinforcing her status as the liberal West’s foil to Mr. Trump.
84. attributed to 歸於
85. consensus among experts 專家共識
86. forthright (過於)坦誠的,直率的;直截了當的
87. reinforce 強化,加深,進一步證實(觀點、看法等)
88. the liberal West’s foil 自由主義西方世界中的對比
89. foil 陪襯物*
德國總理安哥拉·梅克爾(Angela Merkel)警告說,這種病毒將感染德國60%到70%的人——她稱這一數字來自「專家共識」——這是世界各國領導人對該問題嚴重性最坦率的承認態度。這完全符合從物理學家轉型為政治家的梅克爾的性格,令她進一步成為自由主義西方世界中川普的一個鮮明對比。
*http://bit.ly/3deYyVe
★★★★★★★★★★★★
“We will do whatever is needed,” she said. “We won’t ask every day, ‘What does this mean for our deficit?’”
90. deficit 赤字
「我們會竭盡所能,」她說。「我們不會每天都問,『這對我們的赤字有什麼影響?』」
Yet even Ms. Merkel’s position has been weakened by the resurgence of the far right in Germany. Germany rebuffed a request for medical equipment from Italy, only to see China offer the Italians an aid package that includes two million face masks and 100,000 respirators.
91. a resurgence of 復甦;復興;再次興起
92. far right 極右翼勢力
93. rebuff 斷然拒絕
94. only to do sth 不料卻,沒想到卻
然而,就連梅克爾的地位也被德國極右翼勢力的復甦削弱了。德國拒絕了義大利提供醫療器械的請求,中國卻向義大利提供了包括200萬隻口罩和10萬隻呼吸器在內的援助。
★★★★★★★★★★★★
In Britain, which left the European Union in January, there are already fears that the country will not have access to a vaccine, or will have to pay more for it than other European countries. Mr. Johnson’s government, which won its recent election on a populist-inflected platform of “Get Brexit Done,” is now struggling with how to communicate the risks of the outbreak to its public.
95. a vaccine 疫苗
96. platform 綱領,政綱,宣言
在今年1月脫離歐盟的英國,已經有人擔心該國將無法獲得疫苗,或者將不得不支付比其他歐洲國家更多的費用。強生的政府在最近的選舉中獲勝,憑藉的是受民粹主義影響的「完成脫歐」(Get Brexit Done)宣言。如今這個政府正在吃力地向民眾宣講疫情暴發的風險。
★★★★★★★★★★★★
The Johnson government has put a lot of stock in a so-called nudge unit in Downing Street that specializes in behavioral psychology. But in trying to calibrate its response to what it deemed people capable of processing, the government risked condescending to Britons, said John Ashton, a former regional director of public health for the northwest of England.
97. put a lot of stock in 投入了大量資金
98. so-called 所謂
99. nudge unit 哄勸部門
100. behavioral psychology 行為心理學
101. calibrate 判斷;劃分刻度,標定
102. deem 認為,視為;覺得
103. condescending 表現出高…一等的姿態的,帶有優越感地對待…的
強生政府在唐寧街設立了一個擅長行為心理學的所謂「哄勸」部門,為此投入了大量資金。但前英格蘭西北部地區公共衛生主任約翰·阿什頓(John Ashton)說,政府在判斷人們的接受限度,並以這個限度為依據來制定自己的應對措施,這可能是在用一種假惺惺的屈就方式對待英國人民。
★★★★★★★★★★★★
Britain has only recently started publishing broad breakdowns of where people are contracting the virus. Mr. Ashton said they should be giving much more detailed information, as in Hong Kong, which has published building-level maps of patients who have gotten sick, when they were there and how they contracted the virus.
英國直到最近才開始公布感染髮生的具體地點。阿什頓說,他們應該提供更詳細的信息,就像香港一樣。香港公布了具體到建築的患者地圖,並提供他們在那裡的時間和感染病毒的方式。
“I think it’s patronizing — they need to keep the public fully in the picture,” Mr. Ashton said. “You have to treat the public as adults, instead of keeping them in the dark. That’s where you get rumor and hysteria. They actually create panic by not being open with people.”
104. patronizing 屈尊俯就的;自以為高人一等的
105. keep sb in the picture 使(某人)了解情況
106. keeping sb in the dark 蒙在鼓裡
107. rumor and hysteria 謠言和歇斯底里
「我認為這是一種哄人的姿態——他們需要讓公眾充分了解情況,」阿什頓說。「你必須像對待成年人一樣對待公眾,而不是把他們蒙在鼓裡。謠言和歇斯底里就是這麼來的。他們不向人民開誠布公,實際上是在製造恐慌。」
★★★★★★★★★★★★
完整報導: https://nyti.ms/2J070dm
圖片來源: http://bit.ly/2U1tgJS
★★★★★★★★★★★★
這篇文章你最喜歡哪一句? 辛苦的小編把所有的關鍵片語都列出來了! 同學會持續的看到這些關鍵詞彙和句型出現在我們所有的時事英文喔!
★★★★★★★★★★★★
台灣的應對: http://bit.ly/3a6NSGu
保健心智圖: https://goo.gl/seqt5k
保健相關單字: https://wp.me/p44l9b-Tt (+mp3)
時事英文大全: http://bit.ly/2WtAqop
★★★★★★★★★★★★
這一週的「時事英文」講義和使用方式: https://bit.ly/3a9rr38
「n scale supply」的推薦目錄:
n scale supply 在 浩爾譯世界 Facebook 八卦
【每日國際選讀:#六大災難專題報導】
現代史上六次改變全球經濟的大災難!
新冠肺炎危機啟示?
開啟「接收通知」和「搶先看」每天吸收雙語時事新知
來讀華爾街日報獨家
Lessons for the Coronavirus Crisis From Six Other Disasters
🗺From Spanish flu to Japanese tsunami, governments grappled with the trade-off between public health and economic stability
現代史上六次改變全球經濟的大災難:新冠肺炎危機啟示
🏘The coronavirus has unleashed a massive economic shock on the U.S. and the world. It began with disruptions to supply chains and restrictions on travel and is now rapidly expanding via spontaneous and government-imposed “social distancing” measures such as closing schools and confining regional populations to their homes. Entire industries are shutting down. It is “a sudden stop to the global economy,” said Mohamed El-Erian, an adviser to German insurer Allianz.
新冠病毒已經對美國和世界經濟造成巨大衝擊。這種衝擊最初體現在供應鏈中斷和行動受限上,而現在,影響迅速蔓延,人們開始自發或應政府要求進行「保持社交距離」,學校等公共場所關閉,大家留在家中。各行各業都停工歇業。根據德國安聯保險公司(Allianz)顧問艾爾-埃利安(Mohamed El-Erian)的說法,「全球經濟突然停擺」。
-unleash 解開……的皮帶;解除……的束縛
-disruption 分裂;瓦解;中斷
-spontaneous 自發的;自然的;(動作等)不由自主的
🗽There is no clear historical precedent for the scale and nature of this shock. Some economists see U.S. output falling by more in the coming quarter than in the worst quarter of the 2008-09 recession. Nonetheless, previous episodes of pandemics, disasters and crises offer clues about what to expect, how policy makers make matters better or worse and the likely long-term consequences.
此次衝擊的規模和性質,歷史上沒有明確的先例。有些經濟學家認為,美國未來一個季度的產值,降幅將比2008年至2009年經濟衰退最嚴重的那個季度還要更大。儘管如此,以往的大規模流行病、災難和危機事件還是能提供一些線索,讓我們了解將來可能發生什麼事、決策者如何讓局面好轉或惡化、以及可能產生的長期後果等。
-precedent 先例;慣例
-episode (整個事情中的)一個事件
-consequence 結果,後果 [可數n.] (+of)
🚥A few lessons stand out. First, governments and the public always face a trade-off between economic stability and public health and safety. The more they prioritize health and safety, the bigger the near-term cost to the economy, and vice versa.
本文從中總結了幾個主要的經驗教訓:
首先,政府和公眾永遠得在經濟穩定與公共衛生安全之間權衡利弊。人們越重視健康和安全,短期內要付出的經濟代價就越大,反之亦然。
-stand out 突出, 顯著;堅持
-trade-off 權衡;交換,交易
-prioritize 按優先順序處理;給予……優先權
🚥Second, at the outset of the disaster, policy makers are coping with enormous uncertainty. Early responses are often timid or off-target and more sweeping action is delayed by political disagreement.
其次,災難發生之初,決策者要面對巨大的不確定性。他們最初的反應往往是畏手畏腳或偏離目標,而且因為存在政治分歧,政府往往沒有及時採取更徹底的行動。
-outset 最初,開始,開端
-enormous 巨大的,龐大的
-sweeping 勢如破竹的;掃蕩的
未完待續...
哪六個大災難呢?
#開啟搶先看🛎 #關注未來一週專題報導
加入文末每日國際選讀計畫,解鎖完整語音導讀版
——
原文連結請看留言
——
❓Quiz: The more they _______ health and safety, the bigger the near-term cost to the _______, and vice versa.
人們越重視健康和安全,短期內要付出的經濟代價就越大,反之亦然。
A. precedent / episode
B. prioritize / economy
C. pick / electricity
【每日商業英文計畫,限額開放中!】
#獨家 華爾街日報訂閱超值方案 📰
專屬 Line 群組,浩爾 #每日語音導讀
教你詞彙怎麼唸、怎麼用
問題問到飽,限時開放,額滿停徵
「留言+1」,就送你優惠碼!
n scale supply 在 sittikorn saksang Facebook 八卦
เครื่องมือทางการคลัง ในเรื่องรายจ่ายสาธารณะ
การคลังภาครัฐ นั้น รายจ่ายสาธารณะ จะเป็นตัวกำหนด รายได้สาธารณะ ดังนั้นจึงเริ่มศึกษา ที่รายจ่ายสาธารณะ ก่อน
นิยาม ( Definition = Def-n ) รายจ่าย เมื่อพูดถึง รายจ่ายของบุคคลทั่วไป ก็จะต้องยอมรับว่า ทุกคนมีสิ่งที่จะต้องใช้จ่ายเป็นรายจ่ายของบุคคลทั่วไป ดังนั้น เมื่อพูดถึง รายจ่ายสาธารณะ ในอดีต รายจ่ายจึงหมายถึง รายจ่ายขององค์การสาธารณะเท่านั้น (ปัจจุบัน แนวคิดนี้ ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว จะได้ศึกษากันต่อไป )
องค์การสาธารณะ ( Public Organization ) หมายถึง อะไร
องค์การ คือ หน่วยงานที่ถูกกำหนดอำนาจหน้าที่ อาจก่อตั้งขึ้นด้วย กม.คนละประเภทกัน เช่น องค์การเอกชนทั่วไป จะเกิดขึ้นโดย ปพพ. แต่ องค์การสาธารณะ จะถูกจัดตั้งตามกระบวนการของ กม.มหาชน เช่น พรบ.จัดตั้งกระทรวง ทบวง กรม องค์การเหล่านี้ ไม่ได้เกิดขึ้นโดย ปพพ. และถือเป็นองค์การสาธารณะ
สำนัก Classic กล่าวว่า รายจ่ายสาธารณะ คือ รายจ่ายที่เกิดจากองค์การสาธารณะ ที่เป็นนิติบุคคล ที่ก่อตั้งตาม กม.เป็นสำคัญ กล่าวคือ ถ้าเป็น รายจ่ายของ นิติบุคคลที่เป็นองค์การสาธารณะ ก็จะถือว่าเป็น รายจ่ายสาธารณะ ทั้งสิ้น แต่ถ้าใช้จ่ายโดยเอกชน ไม่ว่าจะเพื่อการใดแล้วก็จะไม่ถือว่าเป็นรายจ่ายสาธารณะ
สำนัก ปัจจุบัน รายจ่ายสาธารณะ จะมองแตกต่างจาก สำนัก Classic ในปัจจุบัน จะพิจารณาว่า เป็นรายจ่ายขององค์การสาธารณะ รวมถึง รายจ่ายของเอกชน ที่ใช้อำนาจของรัฐในการจัดทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่นเดียวกับรัฐด้วย( ทั้งนี้เพราะ แนวคิดที่ว่า การคลังภาครัฐและเอกชน ต่างเป็นส่วนประกอบของกันและกัน ) สมัยปัจจุบัน จึงไม่ได้มอง รายจ่ายสาธารณะ ตามนัยยะ ของ กม.อย่าง สำนัก Classic แต่อาศัยหลักทางสังคม เศรษฐกิจ เข้ามาพิจารณาด้วย
การคลังในปัจจุบัน คือ เมื่อมีการใช้จ่ายแล้ว จะเกิดผลกระทบ( Impact) ต่อ Social อย่างไร มากน้อยเพียงใด เก็บภาษีเท่าใด เกิดผลกระทบ( Impact) อย่างไร เป็นปัจจัย( Factor) สำคัญในเชิงสังคมวิทยา
เชิงสังคมวิทยา จะแบ่งบุคคลในรัฐ เป็น 2 ฝ่าย
1.ฝ่ายปกครอง จะมีอำนาจพิเศษ ตาม กม. คือ “อำนาจบงการ”
2.ฝ่ายที่ถูกปกครอง จะต้องปฏิบัติตาม อำนาจบงการ ตามข้อ 1
ฝ่ายปกครอง จะใช้อำนาจบงการ ได้แก่การกำหนด ให้เอกชนจ่ายภาษี( Pay tax )โดยออกเป็น กม. ภาษีอากร เช่น ประมวลรัษฎากร ของไทย เป็นต้น
ในเชิงเศรษฐศาสตร์ จะพิจารณาในแง่ที่ว่า การเก็บภาษี( Tax ) นั้น จะเกิดผลกระทบ( Impact) ต่อสังคมอย่างไร ในรูปของคุณภาพชีวิต (Quality of life) ของคนในสังคม
สรุป
1. สำนัก Classic รายจ่ายสาธารณะ คือ รายจ่ายขององค์การสาธารณะที่เป็นนิติบุคคลตาม
กม.
2. สำนักปัจจุบัน รายจ่ายสาธารณะ คือ รายจ่ายขององค์การสาธารณะ และองค์การ
เอกชน ที่มีอำนาจเรียกว่า “อำนาจบงการ” และ มีผลกระทบ( Impact ) ต่อคนในสังคมโดยส่วนรวม
เราจะเห็นได้ว่า องค์การสาธารณะในปัจจุบัน อาจไม่มีอำนาจ หรือ ไม่ได้ใช้อำนาจปกครองเลย ตัวอย่าง คือ องค์การรัฐวิสาหกิจ ( Public Enterprise ) เช่น องค์การแก้ว ของ กห. มีหน้าที่ผลิตแก้วขายอย่างเอกชนทั่วไป แต่มีเอกชนบางประเภท ที่มีอำนาจปกครอง หรืออำนาจบงการ เช่น แพทยสภา , สภาทนายความ ฯลฯ เป็นองค์การเอกชน( Private organization) ที่สามารถใช้อำนาจรัฐ ในการจำกัด และ อำนาจควบคุมการประกอบวิชาชีพของบุคคลได้ แนวคิดในปัจจุบัน จึงพิจารณาดูว่า องค์การนั้น ใช้อำนาจบงการด้วยหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นองค์การสาธารณะ หรือ องค์การเอกชน เพราะเราคำนึงถึง Factor ทางเศรษฐกิจ และสังคมมาใช้ในการพิจารณาถึง สถานะของรายจ่ายสาธารณะด้วยนั่นเอง
แนวคิดทางการคลัง Classic – แบบเสรีนิยม
แนวคิดพื้นฐานของ Classic แบบเสรีนิยม
การที่ประชาชาติจะมีความอยู่ดีมีสุขได้ รัฐควรทำกิจกรรม( Activity ) ของรัฐ เฉพาะที่เกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐ และการระงับข้อพิพาทของประชาชนในรัฐเท่านั้น ฉะนั้น รัฐจึงไม่ควรแทรกแซงกิจการใด ๆ ที่เกี่ยวกับทางเศรษฐกิจและสังคมเลย ควรปล่อยให้เอกชนเป็นผู้ดำเนินกิจกรรมดังกล่าวทั้งหมด
สำนักนี้ เชื่อว่า ฝ่ายเอกชน จะมีความสามารถมากกว่าภาครัฐ ใน 2 เรื่อง คือ ประสิทธิผลของผลิตภัณฑ์ ( Productivity Efficiency ) และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ( Creative ) ดังนั้น รัฐจึงควรปล่อยให้เอกชนดำเนินการทั้งสิ้น เพื่อเกิดประสิทธิผล( effective ) สูงสุด เป็นประโยชน์แก่รัฐโดยรวม
แต่อย่างไรก็ตาม มีกิจการบางประเภทที่เอกชน ไม่สามารถดำเนินการเองได้ เช่น กิจการที่เป็นประโยชน์สาธารณะ( Public interest) ในด้านการธำรงอยู่ของรัฐ เช่น การรักษามั่นคงและความสงบฯภายใน รวมถึงการระงับข้อพิพาทของเอกชนในรัฐโดยยุติธรรม ( ก็คือ งานด้าน ทหาร ตำรวจ และศาล นั่นเอง )
แนวคิด Classic รัฐจึงมีหน้าที่เพียง 3 ประการ ข้างต้นที่กล่าวเท่านั้น และถือว่าเป็นรายจ่ายสาธารณะที่จำเป็นของรัฐ ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ รัฐจึงจำเป็นต้องจัดสรรงบประมาณไว้ให้พอเหมาะ โดยต้องใช้อำนาจในการหารายได้มาใช้จ่ายในกิจการดังกล่าว
นอกจากนี้ รัฐจะต้องใช้อำนาจในการหารายได้ อย่างมีขอบเขต ไม่ใช่จะพยายามหารายได้ให้ได้มากเหมือนกับเอกชน เนื่องจากเอกชน มีจุดมุ่งหมายเพื่อหารายได้ให้มากกว่ารายจ่าย(กำไร) รัฐต้องหารายได้อย่าง “พอเหมาะ” เท่านั้น คือ ไม่มาก และไม่น้อยเกินไป
นักการคลัง Classic จึงได้วางหลักเกณฑ์ที่ว่า
1. รัฐต้องมี Activity ที่เฉพาะเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ( 3 ประการข้างต้น )
2. รัฐต้องเก็บภาษี ให้ได้เท่าที่พอเหมาะเพียงพอแก่รายจ่ายเท่านั้น
การที่ รัฐ สามารถใช้อำนาจบังคับเอกชนให้ จ่ายภาษีให้แก่รัฐ ฉะนั้น ถ้าปล่อยให้รัฐมีบทบาทาก ก็จะต้องเก็บ Tax มาก ประชาชนก็จะยากจนลง เป็นการทำลายกำลังซื้อ( Purchase of power) ของประชาชน นักการคลัง Classic จึงเห็นว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดี
การใช้จ่ายภาครัฐ จะต้องกระทำโดยประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด และต้องเก็บภาษีอย่างเป็นธรรมเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ( คำว่า เป็นธรรม นั้นจะได้ศึกษากันต่อไป ว่าเป็นอย่างไร )
¨ คำถาม
รายจ่าย ภาคเอกชน กับ รายจ่าย สาธารณะ แตกต่างกันอย่างไรบ้าง ?
* แนวตอบ
ถ้าจะมองโดยพิจารณากันในรูป สัญญาต่างตอบแทน สมัย Classic ถือว่า ทั้งรายจ่าย
ภาคเอกชน กับรายจ่ายสาธารณะ ไม่แตกต่างกันเลย ทั้งนี้เพราะ รัฐ จ่ายเงินให้ จนท.ของรัฐ ดังนั้น จนท.ของรัฐ ก็จะต้อง ให้บริการแก่ประชาชนของรัฐ กลับคืนมา เช่นเดียวกับ รายจ่ายของภาคเอกชน ที่ต้องจ่ายเงินเดือนให้พนักงาน เป็นการตอบแทนการทำงานของพวกลูกจ้าง
นอกจากนี้ ก็ต้องสร้างที่ทำการให้ฝ่ายรัฐ เช่นเดียวกับ ฝ่ายเอกชน ไม่เห็นมีความแตกต่างกันเลยในทุก ๆ ด้าน
เหตุผลที่ฝ่าย Classic พยายามจำกัด บทบาทของรัฐ ไว้เพียง 3 ประการ ข้างต้น เพราะเห็นว่า กิจการ 3 ประการนั้น เป็นสิ่งจำเป็น ดังนั้นรายจ่ายเกี่ยวกับกิจการดังกล่าว จึงเป็นรายจ่ายที่จำเป็นมีลักษณะเป็นการสิ้นเปลือง และมองรัฐเป็นเสมือนผู้บริโภค หรือ Consumer เนื่องจาก มองรัฐเป็นนิติบุคคล ต้องใช้จ่าย เป็นผู้บริโภคที่ไม่แตกต่างจากภาคเอกชนเลย
บทบาทของรัฐจะมีมากน้อยเพียงใด นั้นขึ้นอยู่กับแนวคิดของแต่ละสำนัก ถ้าเป็นนักการคลังสมัยปัจจุบัน ก็จะไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของ Classic ที่จำกัดบทบาทของรัฐไว้แคบแค่ 3 ประการ เพราะเห็นว่า ไม่เป็นการเพียงพออีกต่อไป เนื่องเอกชนต้องการให้รัฐเข้ามามีบทบาทในการจัดทำ Activity ในด้าน Public Services ให้แก่ประชาชนมากขึ้น เช่น การจัดทำถนนหนทาง การสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้ประชาชนโดยเสมอภาค เพราะเอกชนไม่สามารถตอบสนองความต้องการเหล่านี้ได้ เนื่องจากแนวคิดของเอกชน คือ การจัดทำกิจการใด ๆ เพื่อกำไรสูงสุด( Maximize Profit) เท่านั้น แต่การจัดทำบริการสาธารณะ( Public Services) เหล่านี้ เอกชนหากำไรไม่ได้ จึงไม่ยอมลงทุน แนวคิดนักการคลังปัจจุบัน จึงแตกต่างจากแนวคิดของสำนัก Classic เป็นอย่างมาก
สรุป แนวคิด Classic
1. แยกรายจ่ายภาครัฐ กับ เอกชน อย่างชัดเจน
2. รัฐ ควรทำกิจกรรม อย่างจำกัดขอบเขต และ มองการคลัง แบบ Closed System การเก็บภาษีทำให้เอกชนยากจนลง จึงควรเก็บภาษีอย่างพอเหมาะแก่บทบาทอันจำกัด
3. มองเอกชน มีความสามารถสูงกว่าภาครัฐ ทั้งในด้าน Productivity และ Creative
แนวคิดสมัยปัจจุบัน
โดยหลัก คือ มองตรงข้ามกับ สำนัก Classic กล่าวคือ
1. รายจ่าย ทั้งภาครัฐ และเอกชน เป็นส่วนประกอบของกันและกัน แยกกันไม่ออก
2. ปฏิเสธความคิดที่ว่า รัฐ คือ ผู้บริโภค
3. กิจกรรมบางอย่างเท่านั้น ที่เอกชน สามารถทำได้ดีกว่าภาครัฐ เพราะปรากฏข้อเท็จจริง ในทางเทคโนโลยีทางทหาร รัฐกลับเป็นผู้นำการผลิต และมีความคิดสร้างสรรค์ดีกว่าภาคเอกชน
4.มอง การคลังในลักษณะที่เป็น Dynamic ไม่ตายตัวอยู่ในระบบปิด เหมือน
Classic นโยบายการคลังเป็นตัวกระตุ้นเศรษฐกิจ รัฐควรอัดฉีดเงินงบประมาณเข้าสู่ระบบ ก็จะมีทำให้เอกชนได้รับประโยชน์จากการอัดฉีดเงินของรัฐในที่สุด เป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวม
เกี่ยวกับแนวคิดการเก็บภาษี
สำนัก Classic
สำนักนี้ มองการเก็บภาษี( Tax) ว่า ทำให้รัฐได้เงินมาจากภาคเอกชน เข้ามาเป็นรายได้ของรัฐ ทำให้ประชาชนยากจนลง สำนักนี้ เปรียบเทียบการเก็บภาษีเหมือนตุ่มน้ำ 2 ใบ
ตุ่มน้ำ ใบแรก เป็นของภาคเอกชน ส่วน ตุ่มน้ำ ใบที่สอง เป็นของภาครัฐ ถ้ารัฐเก็บ Tax มาก ก็จะเหมือนการตักน้ำจากตุ่มของเอกชน ไปใส่ตุ่มน้ำของภาครัฐ ทำให้น้ำของเอกชนเหือดแห้งลง มีผลทำให้เอกชนเดือดร้อน
สำนักปัจจุบัน
การเก็บภาษี เปรียบเหมือนการเคลื่อนย้ายทุนจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง เท่านั้น และ รัฐ ก็จะนำเงินเหล่านั้นอัดฉีดเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโดยรวมในลักษณะที่เป็น Dynamic อย่างไม่ขาดสาย ทำให้ Tax เหล่านั้น กลับเข้าสู่ในระบบเศรษฐกิจ เป็นทุนในการพัฒนาประเทศ ไม่ได้ทำให้เงินทุนในตุ่มน้ำภาคเอกชนพร่องลงอย่างที่ฝ่าย Classic มองแต่อย่างใดเลย ไม่ได้ทำให้เอกชนยากจนลง ในทางกลับกัน ยิ่งทำให้ประชาชนมีงานทำ มี Purchase of Power มากขึ้น และส่งผลดีต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมในที่สุด
นักการคลัง สมัยใหม่ จึงมองตรงกันข้ามกับฝ่าย Classic คือ ฝ่าย Classic ทำลาย Purchase of Power ในขณะสำนักปัจจุบัน มองว่า เป็นการนำเงินเข้ามาใช้ในระบบ ทำให้ภาคเอกชน มี Purchase of Power มากขึ้น
นอกจากนี้ ยังมีข้อเท็จจริงที่เป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน และทำลายความคิดของสำนัก Classic จนหมดสิ้นไป เช่น Economic Crisis ในปี พ.ศ.2472 ทำให้ยุโรป และอเมริกา เดือดร้อน แผ่ขยายวงกว้างอย่างมาก ขยายมาถึงประเทศไทยด้วย
วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ (Economic Crisis) ที่ว่านั้น เป็นข้อเท็จจริงที่สำคัญ ท้าทายแนวคิดในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจของ ทั้ง 2 สำนัก
1.ฝ่าย Classic จะเสนอแนะนโยบาย “รัดเข็มขัด” รัฐไม่ควรใช้จ่ายเงินเกินกว่ารายได้ที่ได้รับจากภาษีที่ถดถอยตามสภาวะทางเศรษฐกิจ และรอว่า สักวัน ระบบเศรษฐกิจ จะกลับฟื้นขึ้นมาเอง
ผล ทำให้วิกฤตการณ์ ( Crisis ) นั้นทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และขยายตัววงกว้างมากยิ่งขึ้น สำหรับประเทศไทยนั้น ตรงกับสมัย ร.7 ประสบปัญหาอย่างรุนแรง จนต้องใช้นโยบาย ดุนยภาพ คือ ลดรายจ่ายภาครัฐโดยการปลดข้าราชการ , เอกชน ก็ปลดคนงานเลิกจ้าง มีผลทำให้คนไม่มีรายได้(income) ประชาชนขาด กำลังซื้อ (Purchase of Power )มีผลทำให้ ความเลวร้ายทางเศรษฐกิจ ยิ่งรุนแรงขึ้นไปอีก เศรษฐกิจยิ่งถดถอย ยิ่งทำให้เก็บ Tax ไม่ได้มากยิ่งขึ้น จึงสรุปได้ว่า แนวคิดของ Classic จึงไม่สามารถใช้แก้ไขปัญหาได้
2.ฝ่ายนักการคลังสมัยปัจจุบัน เชื่อในทฤษฎี “ผลทวีคูณของรายจ่าย” เมื่อมีการใช้จ่ายเงินในระบบ เงินนั้นก็จะมีการใช้จ่ายไปเป็นทอด ๆ 2-5 ทอด เกิดรายได้ภายในระบบเศรษฐกิจโดยรวม สมัยนั้น ประธานาธิบดี รุสเวล ได้นำความคิดนี้มาใช้ คือ แทนที่จะลดรายจ่ายภาครัฐ กลับใช้วิธีการเพิ่มรายจ่ายภาครัฐมากยิ่งขึ้น คือ ตั้งงบประมาณ( Budget ) มากกว่ารายได้ หรือ งบประมาณเกินดุล โดยเน้นการสร้างสาธารณูปโภค ( Public works ) เช่น สร้างถนนหนทาง เป็นต้น โดยรัฐได้กู้เงินมาจากแหล่งต่าง ๆทั้งภายในและต่างประเทศ ผลทำให้ Policy นี้ เกิดการสร้างงาน รัฐไปจ้าง บริษัทเอกชน และเกิดการจ้างงาน ประชาชนจึงมีรายได้( Income) ทำให้เกิด Purchase of power ที่จะไปซื้อ Product ของเอกชนด้วยกัน ซึ่งในที่สุดก็จะทำให้เศรษฐกิจฟื้นตัวกลับมาเจริญเติบโตขึ้นมาได้ นโยบายนี้ จึงปฏิเสธแนวคิดของสำนัก Classic โดยสิ้นเชิง
สำนักปัจจุบัน สร้าง Model เป็นสูตรทางคณิตศาสตร์ คือ
รายได้รวม =รายจ่ายรวมของคนในสังคม ณ เวลาหนึ่ง
ดังนั้น รัฐ จึงอาจจำเป็นที่จะต้อง ก่อหนี้สาธารณะ เพื่อนำมาใช้ในการกระตุ้นเศรษฐกิจให้เจริญเติบโต เป็นนโยบายการคลังของรัฐ นอกจากนี้ ยังพบว่า กิจการบางอย่าง เอกชน ไม่สามารถทำได้ดีเท่ากับภาครัฐ เช่น เทคโนโลยีทางการทหารที่ต้องใช้ต้นทุนสูง และไม่เกิดผลกำไรแก่เอกชน ข้อสรุปของสำนักปัจจุบัน จึงไม่เชื่อแนวคิดของ Classic และ Private sector จะสร้างดำเนินกิจกรรมได้ดีกว่า Public sector หรือ ภาครัฐในบางอย่างเท่านั้น ทั้งนี้เนื่องมาจาก มี Basic Concept ที่แตกต่างกันระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน คือ
1.Private sectorจุดเน้นที่Maximize Profit
2. Public sector ( State ) จุดเน้นที่Public Interests
สำหรับ แนวคิดที่ว่า รัฐควรจะมีบทบาทอย่างไรนั้น แล้วแต่ยุคสมัย ในอดีต เห็นว่า รัฐ
ควรดำเนินกิจการประเภท Public Enterprise (รัฐวิสาหกิจ ) มาก ๆ แต่ ปัจจุบันเน้นนโยบาย การแปรรูปให้เป็น Privatization มากยิ่งขึ้น
แนวคิดเกี่ยวกับ กลไกราคาของตลาด
1. Classic เชื่อว่า กลไกราคาของตลาด จะเป็นตัวกำหนดราคาสินค้า เพราะ กลไกราคา
ตลาด จะก่อให้เกิดความสมดุลระหว่าง Demand / Supply ใน Market รัฐจึงไม่ควรแทรกแซงใด ๆ
ในความเป็นจริง ปรากฎว่า กลไกราคาตลาด Dis-function เพราะ ภาคเอกชน รวมตัวกันฮั้วราคา ทำให้กลไกราคาตลาดไม่มีทางเป็นจริงได้ ( เพราะยิ่งแข่งขัน ก็ยิ่งเสียหาย จึงรวมตัวกันกำหนดราคาหรือฮั้วดีกว่า )
2. สำนักปัจจุบัน มองการคลังภาครัฐ เป็น Policy ในการกระจายรายได้(Income Distributor ) แก่เอกชนโดยเท่าเทียม ( อาจารย์เรียกว่า พิพากรายได้ให้แก่ประชาชน )
การคลัง ภาคราษฎร์ หรือ ภาคเอกชน จะมี 2 ประเภท คือ
1. ภาคครัวเรือน เช่น การรับจ้างได้เงินเดือน
2. ภาควิสาหกิจ ได้แก่การทำงานหารายได้ของบริษัทเอกชน เช่น บริษัทปูนซีเมนต์ เป็น
ต้น
à คำถาม การใช้จ่ายภาครัฐ กับภาควิสาหกิจเอกชน มีการกระจายรายได้ แตกต่างหรือ
เหมือนกันอย่างไร
· แนวตอบ การกระจายรายได้ของรัฐ มีทั้งเหมือน และไม่เหมือนกับภาคเอกชน
สำหรับ ภาคเอกชน เช่น ร้านขายอาหาร เมื่อขายสินค้าได้ ก็จะนำเงินเหล่านั้น ไปซื้อ
สินค้าที่จำเป็นต้องนำมาใช้ในการประกอบอาหาร ก็ถือว่าเป็นผู้กระจายรายได้ให้แก่บุคคลอื่นเช่นกัน ข้อสำคัญ ก็คือ การกระจายรายได้ภาคเอกชน นั้น เป็นไปตามรูปแบบของสัญญาต่างตอบแทน คือ จะต้องผลิตสินค้า และบริการให้แก่ผู้อื่น เพื่อแลกเปลี่ยนกับรายได้ มี Nature อยู่ที่ Maximize Profit แต่รายจ่ายของภาคเอกชน นั้น ขึ้นอยู่ปริมาณรายได้ มี Scale ไม่ใหญ่โตกว้างมากนัก ถ้าเห็นว่าไม่คุ้มทุน
ในภาครัฐ สินค้าและบริการ ที่รัฐผลิต จะมี 2 ลักษณะ คือ
1. สินค้าและบริการที่รัฐทำกิจการเหมือนเอกชนทำ กล่าวคือ ในบางกรณี Public Organization จำพวก Public Enterprise เช่น องค์การแก้ว ของ กห. จะผลิตแก้ว ขายแก่ภาคเอกชน การกระจายรายได้ของ Public Organization นี้ จะดำเนินกิจการตาม ราคาตลาด โดยต้องคำนวณต้นทุน และกำไร ในการผลิตสินค้า เช่นเดียวกับภาคเอกชน
2. สินค้าและบริการในรูป Public Goods (สินค้าสาธารณะ) Public Organization บางประเภท รัฐเข้ามาทำ Activity เพื่อประโยชน์มหาชน โดยไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อแสวงหากำไร เช่น องค์การ ขสมก. คิดราคาค่าโดยสาร เพียง 3.5 บาท ทั้งที่ต้นทุนและราคาตลาดแพงกว่านั้นมาก อาจเป็น 20 บาท จะเห็นว่ามีส่วนต่างของราคาเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะรัฐเชื่อว่า การแบกรักภาระนี้ จะทำให้เอกชนมีรายได้เพิ่มขึ้น คือ เมื่อลดรายจ่ายเหล่านี้ลงได้ เอกชน ก็จะมี Purchase power มากขึ้นนั่นเอง
สรุป สิ่งที่ทำให้ รายจ่ายสาธารณะ ที่มีผลต่อการกระจายรายได้ ระหว่าง Public sector กับ Private sector มีความแตกต่างกัน จะมี 2 ประการ คือ
1. แตกต่างกันที่ Nature ของการผลิต Private sector เน้นที่ Maximize Profit และมีที่มา
จากสัญญาต่างตอบแทน แต่สำหรับ Public sector มีจุดเน้นที่ Activity of State คือ Public Interest โดยไม่คำนึงถึง Profit และไม่ได้เกิดจาก สัญญาต่างตอบแทน ทั้งนี้ เพราะ การที่รัฐมีอำนาจบงการให้ประชาชน Pay tax นั้น ประชาชนจะไม่ได้รับสินค้าและบริการสาธารณะจากรัฐตอบแทนสู่เขาโดยตรงและชัดแจ้ง แต่รัฐจะนำ Tax นั้นไปใช้ ผลิต Public Goods เพื่อ Public Interests ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของผู้เสียภาษีโดยตรงคนใดคนหนึ่ง ตัวอย่างเช่น รธน. กำหนดให้รัฐมีหน้าที่ ในการจัดการศึกษาพื้นฐานภาคบังคับ (Composedly ) แก่ภาคเอาชนฟรี แม้ว่าพ่อแม่ของนักเรียนเหล่านั้นจะจ่ายภาษีให้แก่รัฐก็ตาม แต่ก็ไม่ใช่ว่า ถ้าประชาชนไม่จ่ายภาษีนั้น รัฐก็ไม่ต้องจัดการศึกษาให้ Public Goods นี้ จึงไม่ได้เกิดจากการจ่าย Tax โดยตรง ทั้งนี้รัฐจะไม่คำนึงถึง Profit แต่ถ้าเป็นการจัดการศึกษาภาคเอกชน ก็จะต้องคำนึง Cost and benefit การผลิตสินค้าก็จะต้องไม่ขาดทุนและมีกำไรสูงสุด
2. แตกต่างกันที่ Scale ในใช้จ่ายภารัฐ เช่น ในทางเศรษฐกิจแล้ว รัฐต้องมีการลงทุน
และใช้จ่ายเงิน ดังนั้น งบประมาณรายจ่ายสาธารณะของภาครัฐ จะมี 2 ส่วน คือ ส่วนแรก เป็นงบประจำ ที่ใช้จ่ายให้แก่ข้าราชการ หรืองบบริโภค ส่วนที่สอง เป็นงบลงทุน ในการลงทุนภาครัฐเพื่อ Public Interests ก็จะต้องจัดให้แก่ ทุกคนโดยเท่าเทียมกันหมด โดยเฉพาะในด้านการธำรงรักษาไว้ซึ่งรัฐ และความมั่นคง จะมีขนาดการลงทุนที่ใหญ่โตกว่าเอกชนมาก
ปัจจุบัน รายจ่ายภาครัฐ เปลี่ยนแปลงจากสำนัก Classic มาก จึงสรุปได้ว่า ในปัจจุบัน นักการคลังมองว่า รัฐควรมีหน้าที่อย่างน้อย 3 ด้าน คือ
1. หน้าที่เช่นเดียวกับ สำนัก Classic คือการักษาความมั่นคง,ความสงบ และการระงับข้อ
พิพาท
3. หน้าที่รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ในภาค Macro เช่น การรักษาดุลยภาพทาง
เงินตรา,ดุลรายจ่าย และรายได้ของประเทศ
4. หน้าที่เป็นผู้กระจายรายได้( Distributor income ) คือ กระจายรายได้แก่ชนในสังคม
อย่างเท่าเทียม ถ้วนหน้า และ เหมาะสมเพียงพอ
ทั้งนี้ เราเชื่อว่า รายจ่ายสาธารณะ มีบทบาท ต่อ Income และ Purchase of Power มาก ในการศึกษา วิชาการคลัง จึงต้องทำความเข้าใจประเภทของรายจ่ายสาธารณะให้ชัดเจน ทั้งนี้เป็นที่ยอมรับว่า รายได้ของรัฐแต่ละประเภท จะมีผล Impact ต่อประชาชนอย่างหลากหลายกันไป
การสร้าง Model ทางคณิตศาสตร์ ตามแนวคิดนี้ คือ
รายจ่ายรวม= รายจ่ายภาคราษฎร์ + รายจ่ายภาครัฐ
รายจ่ายภาครัฐ จะแยกได้เป็น 2 ประเภทอย่างหยาบ ๆ คือ
1. งบลงทุน
2. งบประจำ / การบริโภค
รายจ่ายทั้ง 2 ตัวนี้ จะมี Impact ต่อประชาชนแตกต่างกันไป
การจำแนกประเภทของรายจ่ายสาธารณะ
เหตุที่ต้องมีการจำแนกประเภทของรายจ่ายสาธารณะ เพราะ เป็นที่ยอมรับว่า รายจ่ายแต่ละประเภทจะส่งผลกระทบ ( impact ) ต่อ ระบบเศรษฐกิจ และสังคม โดยตรงแตกต่างกัน การจำแนกงบประมาณ เป็นประเภทต่าง ๆ จึงต้องการที่จะประเมินผล ( Evaluation ) ผลกระทบของรายจ่ายที่มีต่อเศรษฐกิจและสังคม
หลักเกณฑ์การจำแนกประเภทรายจ่ายสาธารณะ
แต่ละประเทศ จะมีหลักเกณฑ์ การจำแนกฯ แตกต่างกัน สำหรับประเทศไทยแล้ว จะใช้หลักเกณฑ์นี้
1. การจำแนกตามลักษณะทางปกครอง
2. การจำแนกตามลักษณะทางเศรษฐกิจ
1. การจำแนกตามลักษณะทางปกครอง
รายจ่ายสาธารณะที่จำแนกแบบนี้ ยังสามารถแบ่งได้ออกเป็น
1) งบประมาณรายจ่ายตามหน่วยงานหรือองค์การสาธารณะใช้จ่าย เช่น งบประมาณ ของ
กระทรวง,ทบวง,กรม หรือส่วนราชการต่าง ๆ
2) งบประมาณรายจ่าย ที่แบ่งตามลักษณะงาน ได้แก่ รายจ่ายฯ ด้านการป้องกันประเทศ
การศึกษา สาธารณสุข สาธารณูปโภคต่าง ๆ การชดใช้หนี้เงินกู้ต่าง ๆ เป็นต้น
2. การจำแนกตามลักษณะทางเศรษฐกิจ
1) งบลงทุน
2) งบประจำ
ลักษณะพิเศษของงบประมาณที่จำแนกตามลักษณะทางเศรษฐกิจ
ผลกระทบของรายจ่ายที่เกี่ยวพันกับ รายได้รวมของประชาชนทุกคน จะมีความแตกต่างกันไปตามงบประมาณแต่ละประเภท เพราะ งบลงทุน จะก่อให้เกิดผลรายได้รวมขั้นต่อ ๆ ไป มากกว่ารายจ่ายหรืองบประจำ ( ในทางเศรษฐศาสตร์แล้ว จะเรียกว่า “ผลทวีคูณด้านลงทุน” ที่เชื่อว่า ถ้ามีการใช้จ่ายลงทุน 100 บาท และได้มีการหมุนเวียนไป 7 ครั้ง จะก่อให้เกิดรายได้รวม เป็น 2 เท่าของรายจ่าย )
นอกจากนี้ ลักษณะรายจ่ายที่จำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ ยังสามารถจำแนกได้อีกรูปแบบหนึ่ง คือ
1) งบประมาณรายจ่าย ที่มีผลกระทบต่อปัจจัยการผลิต ได้แก่ การลงทุนด้านการ
จ้างแรงงาน ( men) การใช้จ่ายเงินงบประมาณรูปแบบต่าง ๆ ( money ) ,การลงทุนด้านวัตถุดิบ ( material ) และเครื่องจักรกล ( machine ) : ซึ่งถือเป็นปัจจัยในการผลิต การใช้จ่ายเงินของภาครัฐ ในการจ้างข้าราชการ ก็จะมีผลเหมือนกับการจ้างคนงานในภาคเอกชน ก่อให้เกิดกำลังการซื้อและบริโภค , การก่อสร้างสาธารณูปโภคต่าง ๆ จะส่งผลต่อการจ้างงาน การใช้วัสดุอุปกรณ์หรือวัตถุดิบต่าง ๆ เป็นต้น
2) งบประมาณรายจ่าย ที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อปัจจัยการผลิต ได้แก่ เงิน
สนับสนุน หรือเงินโอน ( Transfer ) ผู้จ่าย/รัฐ ไม่ได้อะไรตอบแทนกลับมาที่ส่งผลต่อปัจจัยการผลิต ตัวอย่าง การส่งสินค้า (ข้าว) ออกไปยังต่างประเทศ ปรากฎว่าราคาสินค้าไทยสูงกว่าต่างประเทศอยู่ จำนวนหนึ่ง เพื่อให้การส่งออกสินค้าแข่งขันกับต่างประเทศได้ รัฐไทยจึงสนับสนุนเงินจำนวนนั้น ให้แก่ผู้ส่งออกแล้วให้ผู้ส่งออกขายสินค้าไทยในราคาเท่ากัน หรือ ราคาที่แข่งขันกับต่างประเทศได้
จากการที่ได้ศึกษามาแล้ว จะเห็นว่า รายจ่ายสาธารณะ จะส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ และสังคมโดยรวมแตกต่างกันไป สมมุติว่า ฝ่ายเอกชนมีการลงทุนก่อสร้างอาคาร ฯลฯ มากมาย แล้ว ความต้องการใช้แรงงาน วัตถุดิบ ฯลฯ ก็จะสูงด้วย ถ้าฝ่ายรัฐ ยังใช้จ่ายงบทุนต่าง ๆ แข่งกับภาคเอกชนแล้ว ก็จะทำให้เกิดการขาดแคลนแรงงาน,วัตถุดิบ เกิดการแก่งแย่ง ราคาสูง ดังนั้น รัฐจึงต้องเป็นผู้ควบคุม การใช้งบประมาณรายจ่ายเพื่อให้ระบบเศรษฐกิจสมดุล ดังนั้น นโยบายในด้านรายจ่ายสาธารณะ จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการวางแผนพัฒนาประเทศ ( อย่างไรก็ตาม หลักนโยบายการคลัง ดังกล่าว เป็นเพียงทฤษฎีที่สามารถปฏิบัติได้ยาก)
ประโยชน์ของการจำแนกรายจ่ายสาธารณะ
1. ก่อให้เกิดความเข้าใจว่า การใช้จ่ายงบประมาณ จะสะท้อนให้เห็นถึง นโยบาย การบริหารประเทศของรัฐบาลในคณะต่าง ๆ ถึงกับมีคำกล่าวว่า “งบประมาณรายจ่าย คือ แผนปฏิบัติงานของรัฐบาล ที่แปลงออกมาเป็นตัวเงิน” และ “ไม่มีผลงาน ถ้าไม่มีใช้จ่ายงบประมาณ”
2. ทำให้ทราบว่า ฝ่ายประจำมีบทบาท และอิทธิพลในการกำหนดรายจ่ายสาธารณะ
อย่างไร เพราะจะเป็นฝ่ายให้ข้อมูล พร้อมทั้งนำเสนอยัง รมว.ที่ว่าการกระทรวงฯ นั้น ๆ ให้นำเสนอต่อ รัฐสภาอนุมัติ
3. เป็นการพัฒนาประชาธิปไตยไปในตัว ถ้าคนให้ความสนใจงบประมาณของรัฐ ก็จะ
แสดงว่า ประชาชน ให้ความสนใจการบริหารงานของรัฐบาลด้วย จึงเป็นการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยแสดงความเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วยกับนโยบายการคลังกับรัฐบาล หรือ ฝ่ายค้าน ที่อภิปรายการใช้งบประมาณแผ่นดินในรัฐสภา และแสดงประชามติได้โดยผ่านกระบวนการทางการเมือง ( เช่น การเลือกตั้ง ฯลฯ )
เมื่อได้ศึกษาเกี่ยวกับรายจ่ายสาธารณะแล้ว ว่ามีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม ไม่ว่ารายจ่ายประเภทใด แต่จะมีผลแตกต่างกัน จะมีคำถามคือ รายจ่ายนั้นได้เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด ถ้ามองเพียงตัวเลขจะเห็นว่า รายจ่ายสาธารณะจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แต่ในทางความเป็นจริง จะต้องพิจารณาตัวบ่งชี้ คือ ดัชนีค่าครองชีพ กล่าวคือ สมมติว่า งบประมาณรายจ่ายปีนี้ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 3 % แต่ดัชนีค่าครองชีพแพงกว่าปีก่อน 0.5% ก็แสดงว่า งบประมาณเพิ่มขึ้นเพียง 2.5 %
นอกจากนี้ ยังมีผลกระทบเรื่องค่าของเงินที่เปลี่ยนไป เช่น เงินเฟ้อ ( Inflation ) คือต้องใช้เงินจำนวนที่มากขึ้น ในการซื้อสินค้าตัวเดิม ( ซึ่งจะไปศึกษาต่อไปในเรื่องดุลยภาพงบประมาณ )
สาเหตุที่ทำให้รายจ่ายสาธารณะเพิ่มมากขึ้น
1. ค่าใช้จ่ายด้าน การทหารและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เพิ่มมากขึ้น เช่น การสั่ง
สมกำลังอาวุธ ( มีทั้งผลดี-ผลเสีย ผลเสียคือ ถ้าไม่สั่งสมอาวุธ ราคายางพารา,ดีบุก ฯลฯ ก็จะตกลง เป็นต้น )
2. รัฐได้เพิ่มบทบาทต่อสังคมมากขึ้น เช่น ด้านการศึกษา ภาคบังคับเพิ่มขึ้น ฯลฯ
3. Concept หรือ Policy ทางการคลัง ได้เปลี่ยนแปลงไป จากสำนัก Classic มาเป็นสำนัก
สมัยใหม่ ที่มองว่าการคลัง ภาครัฐ และเอกชน เป็นส่วนประกอบกัน การเก็บภาษีมาจากเอกชน ก็นำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจ นำมาก่อสร้าง Infrastructure ต่าง ๆ เช่น ถนนหนทาง ฯลฯ ก็จะกระจายรายได้แก่เอกชน ทำให้ระบบเศรษฐกิจเติบโต ไม่ได้ทำให้ ภาคเอกชนยากจนลงแต่อย่างใด
n scale supply 在 N Scale ACTRR Layout Makes A Train by Fifer Hobby Supply 的八卦
N Scale ACTRR Layout Makes an n scale train is my latest video of the Albuquerque Carnuel & Tijeras RR. We will make up a train and send it ... ... <看更多>
n scale supply 在 N Scale Supply | Model train accessories, ... - Pinterest 的八卦
Feb 14, 2015 - N Scale Supply - Union Pacific 4-8-8-4 Big Boy w/DCC & SoundSteam Locomotive, Althern. ... <看更多>