If you’ve checked out the official teaser trailer for L’Arc-en-Ciel’s new song, “Don’t be Afraid” (available here:https://youtu.be/wm2FTidIuas), you saw part of the digitization process that imports the band members into the world of Resident Evil 7 for the upcoming VR music video. What do you think of the computer-rendered version of L’Arc-en-Ciel?
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過62萬的網紅Bryan Wee,也在其Youtube影片中提到,...
「digitization」的推薦目錄:
digitization 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
รู้จัก DITTO บริษัทที่เติบโตแรง จากเทรนด์ Digital Transformation ในไทย
Ditto x ลงทุนแมน
เราเคยสงสัยกันไหมว่า กระบวนการยุติธรรมในประเทศไทย มีกระบวนการจัดเก็บเอกสาร ค้นหา และเลือกดึงข้อมูล เพื่อนำออกมาใช้ได้อย่างไร ? ด้วยจำนวนเอกสารที่ต้องดูแลนับพันล้านหน้า จากคดีความเกือบ 2 ล้านคดีต่อปี และยังต้องจัดเก็บสำนวนคดีย้อนหลังเป็นเวลาถึง 10 ปี
หรือห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ ที่ต้องเก็บข้อมูลบิล หรือข้อมูลการซื้อขายจำนวนมหาศาลในหนึ่งปี
เมื่อถึงวันที่ต้องคำนวณงบ หรือจ่ายภาษี เขาใช้เครื่องมืออะไรเป็นตัวช่วยการค้นหา จัดการ และประมวลผลข้อมูลเหล่านี้ ?
คำตอบก็คือ องค์กรเหล่านี้ ใช้ระบบการจัดการข้อมูลต่าง ๆ คล้ายกับระบบในห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
คือการจัดเรียงข้อมูลทุกอย่างให้เป็นระบบระเบียบไว้ในรูปแบบดิจิทัล
และเมื่อถึงวันที่ต้องการเรียกข้อมูลออกมาใช้ ก็จะทำได้อย่าง “ง่าย” และ “รวดเร็ว”
ซึ่งการนำเข้าข้อมูล โดยเปลี่ยนจากกระดาษ มาอยู่ในรูปแบบดิจิทัลหรืออยู่บนคลาวด์นั้น
เรียกว่า การทำ “Digitization” ซึ่งเป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญ ของกระบวนการ Digital Transformation
แต่ในวันนี้.. ยังมีองค์กรในประเทศไทยอีกจำนวนมาก ที่เพิ่งเริ่มปรับตัว
กำลังรอการทำ Digitization หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ยังมีเอกสารมากมาย ที่รอการนำเข้าสู่ระบบดิจิทัล
และนี่เองจึงเป็น “โอกาส” ของบริษัท DITTO..
บริษัท DITTO คือใคร มีเทคโนโลยีอะไรมาช่วยตอบโจทย์เทรนด์ Digital Transformation ได้บ้าง
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
บริษัท ดิทโต้ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) หรือ DITTO
คือผู้เชี่ยวชาญด้านการให้บริการ Document and Data Management Solutions แบบครบวงจร
โดยออกแบบกระบวนการจัดการเอกสาร คัดเลือกและพัฒนาระบบบริหารงานเอกสาร ที่เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย
ที่ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และต้องการลดค่าใช้จ่ายองค์กร ด้วยการหันมาใช้งานเอกสารในรูปแบบดิจิทัล
โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เข้ามาช่วยเสริมให้การทำงานนั้นง่ายยิ่งขึ้น
มีบุคลากรและทีมงานออกแบบโซลูชัน ที่มีความเชี่ยวชาญ จัดหาแอปพลิเคชันที่เหมาะสม
เพื่อนำเอกสารและข้อมูลเข้าสู่ระบบให้พร้อมสำหรับการใช้งาน รวมถึงบริการจัดหาซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ อีกด้วย
โดยบริษัททำงานให้กับหน่วยงานใหญ่ ๆ หลายราย
ทั้งบริษัทเอกชน เช่น ห้างสรรพสินค้า สถาบันการเงิน และองค์กรที่เป็นรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานราชการต่าง ๆ
การที่ DITTO เข้าไปช่วยบริหารจัดการและแปลงเอกสารให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล นอกจากจะช่วยลดต้นทุนในการจัดหาพื้นที่สำหรับเก็บเอกสาร
ที่เป็นแฟ้ม เป็นกระดาษแล้ว
ที่แน่นอนที่สุดคือ “ช่วยลดต้นทุนของเวลา” ซึ่งเป็นหัวใจหลักของกระบวนการ Digital Transformation
หรือก็คือ การเอาเทคโนโลยีเข้ามาเปลี่ยนแปลง หรือเป็นตัวช่วยในการทำธุรกิจ ด้วยการอำนวยความสะดวกในการเรียกใช้เอกสารได้อย่างเป็นระบบ รวดเร็วมากขึ้น
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน อีกทั้งยังตอบโจทย์การทำงานแบบ Digital Workplace
และนี่เองจึงเป็นเหตุผลที่ทำให้องค์กรใหญ่ ๆ ในประเทศไทยหลายแห่ง
ที่ต้องการเปลี่ยนตนเองสู่ Digital Transformation เลือกใช้บริการระบบบริหารจัดการเอกสารจากบริษัท DITTO
DITTO ยังมีอีก 2 ธุรกิจ ที่น่าสนใจไม่แพ้กัน
1. ธุรกิจให้เช่า จำหน่าย และให้บริการด้านเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์ และสินค้าเทคโนโลยีอื่น ๆ
และได้มีการขยายธุรกิจไปยังระบบขายสินค้าหน้าร้าน (POS) และระบบไดรฟ์ทรู (Drive-Thru) โดยเป็นตัวแทนจากแบรนด์ HME ซึ่งเป็นแบรนด์ชั้นนำระดับโลกที่มีชื่อเสียงทางด้านระบบไดร์ฟทรู
2. ธุรกิจรับเหมาวิศวกรรมด้านเทคโนโลยีสำหรับโครงการของหน่วยงานราชการต่าง ๆ
เช่น ระบบท้องฟ้าจำลองและพิพิธภัณฑ์, ระบบโทรมาตร (Supervisory Control And Data Acquisition: SCADA), ระบบเทคโนโลยีภายในอาคาร, ระบบควบคุมระบบคัดแยกขยะเพื่อผลิตเป็นเชื้อเพลิง (RDF) และโครงการประเภทอื่น ๆ
และนี่คือผลประกอบการของธุรกิจของ DITTO และบริษัทในเครือ
ปี 2561 รายได้ 422 ล้านบาท กำไรสุทธิ 13 ล้านบาท
ปี 2562 รายได้ 773 ล้านบาท กำไรสุทธิ 56 ล้านบาท
ปี 2563 รายได้ 986 ล้านบาท กำไรสุทธิ 114 ล้านบาท
จะเห็นได้ว่าในปี 2561 - 2563 กำไรสุทธิเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 192 ต่อปี โดยการเติบโตนี้เกิดจากการที่หลายบริษัทในไทยต้องการทำ Digital Transformation กันมากขึ้น
และมีข้อมูลที่น่าสนใจ จากฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน (Frost & Sullivan)
ที่ได้คาดการณ์ว่า มูลค่าตลาดการจัดการข้อมูลดิจิทัลในประเทศไทยจะขยายตัวได้ต่อเนื่อง
โดยคาดว่าในปี 2568 จะมีขนาดประมาณ 11,887 ล้านบาท
คิดเป็นอัตราเติบโตเฉลี่ยระหว่างปี 2563 ถึง 2568 เท่ากับร้อยละ 74.77 ต่อปี
โดยปัจจุบัน DITTO เป็นผู้นำในตลาดการจัดการข้อมูลดิจิทัลของประเทศไทย
จึงคาดว่า DITTO น่าจะมีโอกาสเติบโตได้อีกกับเทรนด์นี้
และ DITTO ก็กำลัง IPO โดยจะเข้าซื้อขายในตลาด mai วันแรก 6 พ.ค. นี้
ซึ่งก็ถือเป็นอีกช่องทางที่ทำให้ DITTO ได้ขยายการเติบโตให้เพิ่มขึ้นไปอีกขั้น
และนี่คือเรื่องราวทั้งหมดของ DITTO บริษัทที่กำลังเติบโตได้ดีไปกับการจัดการข้อมูลให้ลูกค้า
เพราะลูกค้าสามารถลดต้นทุนของที่สำคัญ โดยเฉพาะ “ต้นทุนด้านเวลา” นั่นเอง..
Reference
- เอกสารประชาสัมพันธ์บริษัท บริษัท ดิทโต้ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
- รายงานวิจัยตลาดอิสระ เกี่ยวกับตลาดการจัดการข้อมูลดิจิทัลในประเทศไทย จัดทำโดย ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน (Frost & Sullivan)
digitization 在 管碧玲 (kuanbiling) Facebook 八卦
林昶佐委員因為市場防疫的議題,陷入是不是稱職立法委員的爭論。
有關爭議當天的發言,林委員事後已有針對市場表達謙卑的歉意,但是,還是有種種攻擊餘緒未消。
我要分享「外交家雜誌」這篇報導:
台灣打造「數位民主國家」的成就,很受國際矚目,開放國會部分,也是林昶佐委員的問政所關注的焦點,國際研究因此知道聽取他的意見,我們因此在這篇報導看到他的意見被呈現出來。
立法委員問政,因為不是執行者,往往不如行政官員有能見度,但是國家建設的成功,確實有國會議員共同參與的貢獻在裡面!
林委員很多問政都有佳績,慢慢大家會了解,至少這件事,國際間的評價很高,是台灣創造「數位民主國家」中的一環,而林委員長期關心!
提供大家參考://
台灣能否提供數位威權的另一選擇?
Can Taiwan Provide the Alternative to Digital Authoritarianism?
(Diplomat https://ppt.cc/fjDcrx)
中國和台灣正成為匹敵的數位國家—
中國是數位威權政權,台灣是數位民主。
China and Taiwan are becoming digital states in parallel —
China as a digital authoritarian regime, and Taiwan as a digital democracy.
7月1日中國共產黨成立百年之際,中國分析專家正密切關注習近平主席的下一步。另一方面,台灣正在推進 2020 年 6 月推出的開放國會行動方案和徹底透明的政策。中國和台灣正在同時成為數位國家—中國是數字威權政權,台灣是數位民主。 兩者中,數位威權更容易實施,也已有許多學術專業定義和理解它。雖然目前尚未有明確的數位民主模型,但台灣正在創造一個範例。
開放國會行動方案究竟是什麼?去年由Freddy 林昶佐立法委員提出,部分受到行政院開放政府國家行動方案的啟發。 開放國會行動方案為台灣立法院制定了五個主要目標:透明、公開、參與、數位化和理解。 林昶佐委員表示他長期以來相當關注科技和政治,並補充說:“推動此方案的原因是對政府和國會的未來創造新願景。”
開放國會行動方案包括改革,例如電視轉播,主要增加手語。 禁止閉門跨黨談判,包括委員會層面。 另一個重大變革是公開可取得的數位數據,例如投票記錄、預算和利益衝突。 目前公開的線上資訊有限,大部分的資料必須實體索取。
類似的開放政府國家行動方案側重於台灣政府的一系列政策變革來提高透明度、提供資料和增加公民參與。 因為台灣不被承認為國家,所以不能成為開放政府夥伴關係聯盟(OGP)的正式成員。 儘管如此,台灣依然在 2019 年宣布制訂自己的開放政府行動方案。
台灣政務委員唐鳳將 OGP 描述為“一項國際倡議,提倡核心價值如透明度、問責制、參與和包容,強調政府和民間的合作和共同創造。 全都符合台灣努力的方向。” 唐鳳希望開放開放政府國家行動方案是台灣加入OGP的路徑。
台灣公民科技的例子比比皆是,例如 2020 年 COVID-19 爆發初期使用的口罩地圖、針對追蹤接觸者足跡的QR Code 簽到系統、 闢謠機器人、公民自發的群眾外包政策,等。
“[公民科技]是台灣治理未來的關鍵,也是我們如何推動整個系統向前發展的關鍵。 公民科技將發揮非常重要的作用,”林昶佐委員說。
唐鳳也樂觀的表示:我相信我們今天面臨的許多挑戰,包括流行疫病和假訊息大流行(infodemic),都可以透過民主深化和促進我所謂的‘人民-公眾-私人的合作夥伴關係’來克服。”
林昶佐表示,台灣與中國的主要區別在於,台灣對科技的使用(例如切斷數位連結)以及疫病大流行時權力擴張的時間設限都有監督。
一個沒有監督或信任的政府的範例就是中國共產黨,它越來越依賴數位威權來監視和控制人口。 最極端的在其周邊地區:西藏、香港和新疆。 然而,即便是北京的街道上也佈滿了監視攝影機。
“台灣的數位民主與中國的數位威權之間存在根本區別,”唐鳳說。 “北京使用社會信用體系和國家審查等數位工具的同時,台灣積極創建數位基礎設施,使一般公民能針對政策改革提出和表達意見。”
“數位民主的透明度是讓國家對大眾透明,”唐鳳繼續: “在數位威權下,‘透明’一詞表示讓民眾對國家透明。”
台灣民主的數位化可能尚未完成,但其政府和公民社會的努力指示了一個數位威權主義的可行替代方案。改革政府過程中的數位工具和政策可以應用於其他民主國家。
“對於中國來說,也許只有一件事可以確定,他們多年來的大宣傳故事『民主不適合亞洲』
在台灣的進步發展下不再令人感興趣,”Ttcat 表示。
There is no clear model of what a digital democracy is yet, but Taiwan is in the process of creating one.
Digital Minister of Taiwan Audrey Tang described the OGP as “an international initiative that advocates core values such as transparency, accountability, participation and inclusion, with an emphasis on cooperation and co-creation of the government and civil society. These are all in line with what we are doing here in Taiwan.” Tang hopes the Open Government National Action Plan will be a path for Taiwan to enter the OGP.
Tang is also optimistic: “I believe many of the challenges we face today, including the pandemic and the infodemic, can be overcome by deepening democracy and promoting what I call “People-Public-Private Partnerships.”
According to Lim, the key difference between Taiwan and China is that in Taiwan, there is oversight for the use of technology, such as de-linking data, and time-limits to expanded powers during the pandemic.
“In a digital democracy, transparency is about making the state transparent to the public,” she continued. “Under digital authoritarianism, the word ‘transparency’ means making citizens transparent to the state.”
The digitization of Taiwan’s democracy may not be complete, but the efforts of its government and civil society point to a viable alternative to digital authoritarianism. The digital tools and policies to reform its government can be applied in other democracies.
“For China, maybe only one thing is certain, that the propaganda narrative they ran for years— that democracy is not for Asia— is no longer appealing under Taiwan’s progress,” said Ttcat.
digitization 在 Bryan Wee Youtube 的評價
digitization 在 Travel Thirsty Youtube 的評價
digitization 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube 的評價
digitization 在 Digitization vs. digitalization: Differences, definitions and ... 的相關結果
If digitization is a conversion of data and processes, digitalization is a transformation. More than just making existing data digital, digitalization embraces ... ... <看更多>
digitization 在 數位轉型系列|三個小插畫秒懂「數位轉型」不只是數位化! 的相關結果
有許多與「數位」相關連的詞語,像是「數位化」以及「數位轉型」(digital transformation),這些是一樣的嗎?另外,digitization以及digitalization,這 ... ... <看更多>
digitization 在 Digitization - Wikipedia 的相關結果
Digitization is the process of converting information into a digital (i.e. computer-readable) format. ... The result is the representation of an object, image, ... ... <看更多>