💕「愛台灣,我的選擇」系列第15發:臺虎董事長黃一葦(Peter Huang) 要讓臺虎精釀 Taihu Brewing成為台灣年輕人才發光發熱與實踐夢想的平台
「儘管我有著東方面孔,但我不是台灣人,家族根源也不在台灣。一直到我念大學時 (美國麻薩諸塞州的威廉斯學院,非常棒的學校),我才透過普林斯頓北京中文培訓班的機會,真正到東亞來闖蕩。
大學畢業之後,我埋首於數字和表格之間,精釀啤酒陪我撐過了這段辛苦的歲月。我的職涯始於紐約,但後來輾轉來到亞洲 (名義上是去新加坡,但主要是在印尼、緬甸和馬來西亞)。
在數字間打轉從來不是我的夢想。身為一個負責任且典型的千禧世代,我一直很想獨立開創自己的事業,如果能將個人興趣和創業機會相結合,那就太完美了。而精釀啤酒就是那完美的交集點!精釀工藝的精神我深有同感,這是一種對未來可能性充滿嚮往、不盲目接受現狀的精神;同時也代表著與一群優秀的人才,一起開發令人驚喜的產品,並打造屬於自己的社群。
成立臺虎精釀的契機出現之後,我立刻想到台灣。之所以選擇這裡,不是因為台灣文化很吸引人 (雖然確實是),不是因為台灣有著厚實的文化傳統 (雖然確實有),更不是因為台灣的好山好水。
我選擇台灣的主要原因是這裡遇到的人。很多人會說,人生中有兩個家庭,一個是你的原生家庭,另一個是你自己選擇的家庭。對我來說,那個我自己選擇的家庭,似乎就在台灣。
臺虎精釀的商標 (由台灣傑出設計師Jess Lee設計) 由老虎、啤酒花和葫蘆三個元素組成,葫蘆是古代盛酒的容器。
葫蘆就不需要多加解釋了,但啤酒花是當代精釀啤酒的基石,代表著創新創意的精神。事實上,我們使用的絕大多數啤酒花都來自美國,畢竟美國是精釀啤酒的中心 (過去20年一直都是)。美國的啤酒花產業 (還有麥芽產業) 可以說是世界之最,也難怪經典IPA啤酒中最受歡迎的啤酒花都來自美國。
商標中的老虎是為了向早期台灣作為「亞洲四虎」(亞洲四小龍) 的年代致敬。當年台灣經濟快速起飛,產業朝氣蓬勃,民眾無不對未來充滿樂觀和期待。
老虎代表的正是那樣的生機勃勃、神采煥發。臺虎167名員工幾乎都是台灣人。我們認為,與其說臺虎是一個釀酒廠,不如說臺虎是讓台灣年輕人才發光發熱、實踐夢想的平台。
我們的目標是吸引並培育人才,最終目標希望能夠在台灣發展出欣欣向榮的創業生態圈。Sway是我們成立初期的成員,她一開始是在吧台工作,非常優秀。在小公司工作的好處就是,你可以盡你所能所想去做,Sway後來開始慢慢接觸進口通關業務,現在是我們全球物流的主管 (很不簡單)。
也許有一天,她會開創自己的事業,進而將這份育才的信念在台灣新創圈繼續傳承下去。」— 臺虎董事長黃一葦 Peter Huang
💕Why I chose Taiwan #15 – Taihu Brewing Founder Peter Huang leads Taihu to become a platform for Taiwan young talents to carry out their dreams and express themselves
“Despite appearances, I’m neither Taiwanese nor have roots here. It took college (Williams College in Massachusetts – phenomenal place), to really bring me out to East Asia via Princeton’s immersion program in Beijing.
Post-graduation, I paid my dues shuffling numbers around in a spreadsheet. Craft beer made it bearable-ish. Working life began in New York, but ultimately landed me in Asia (nominally Singapore, primarily Indonesia, Myanmar, Malaysia).
Shuffling numbers was not the dream. So, as a responsibly stereotypical millennial, I had an urge to venture out on my own. Ideally, to try something at the intersection of opportunity and interest. Craft beer! The craft movement itself struck a chord - a yearning for what could be, rather than blind acceptance of what is. It is about building communities around delightful products and, critically, wonderful people.
When the opportunity to start Taihu appeared, my mind immediately went to Taiwan. Not necessarily because the culture is fantastic (though it is), nor because it has a strong cultural heritage (though it does), and not even because the island itself is a magical composition of mountains meeting oceans.
Ultimately, I chose Taiwan because of the people I met here. There’s a tired trope that you get two families in life, the one you’re born into and the one you choose. For me, that chosen family, well, it seemed like it could be in Taiwan.
Taihu Brewing’s logo (designed by brilliant local artist, Jess Lee) is comprised of a tiger and hops within a hulu (traditional Chinese alcohol vessel).
The hulu needs no explanation, but hops are the cornerstone of modern craft beer. They represent the innovation inherent in the space. In fact, the vast majority of the hops that we use are from the United States. Since the US is the epicenter of craft brewing (and has been over the last twenty years), the American hop industry (malt too, actually) is arguably the best in the world. It is for good reason that the most popular hops in category-defining IPAs are American.
The tiger is a nod to an earlier era when Taiwan was one of the “Four Asian Tigers.” Taiwan’s meteoric economic rise was accompanied by deterministic optimism, vibrancy, and general excitement about the future.
The tiger represents that energy. That sense of opportunity, positivity, and hope. Taihu’s 167 employees are almost entirely Taiwanese. Internally, we think of Taihu as more of a platform for young Taiwanese talent than as a brewery, a medium for that energy to express itself.
Our goal to attract and develop talent with the ultimate goal of developing the burgeoning entrepreneurial ecosystem here in Taiwan. One of our earliest team members, Sway, came on board as a bartender -- a fantastic bartender. At a small company, you do what you can, where you can, and Sway ended up taking up some of the slack in our logistics. Now she runs all of Taihu’s international supply chain (no small feat).
With luck, one day she’ll be running her own successful Taiwanese business, and, in doing so, perpetuate the cycle.” — Peter Huang, founder of Taihu Brewing
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過23萬的網紅Appleが大好きなんだよ,也在其Youtube影片中提到,今日は月曜日です!ここ1週間のニュースのまとめです。iPad関連情報が多数。イベント関連のさらなる噂やiPhone 13のTouch IDの話、Mac miniの発売時期など出ています。 <引用・要約させていただいたソース記事> <9to5Mac> https://9to5mac.com/202...
supply chain company 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
สรุปโอกาสและการลงทุนบน LiVE Exchange ตลาดหลักทรัพย์สำหรับ SMEs และ Startups
จากงาน LiVE Demo Day: The New Road to Capital Market
14 กันยายน 2564 ทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับสำนักงาน ก.ล.ต. และองค์กรพันธมิตรอีกกว่า 25 ราย จัดงาน “LiVE Demo Day: The New Road to Capital Market”
โดยถือเป็นการเปิดตัวอย่างเป็นทางการของ “LiVE Platform” ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มสำหรับให้ธุรกิจ SMEs และ Startups ได้เข้ามาเรียนรู้ และเตรียมความพร้อมสู่การระดมทุนผ่านกลไกตลาดทุน
และอีกหนึ่งส่วนที่น่าสนใจมากก็คือ “LiVE Exchange” ที่จะเป็นตลาดหลักทรัพย์สำหรับ SMEs และ Startups ซึ่งมีแผนจะเปิดให้บริการภายในปี 2021 นี้แล้ว
LiVE Exchange ตลาดหลักทรัพย์สำหรับ SMEs และ Startups มีประเด็นอะไรที่น่าสนใจบ้าง ?
ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง
ด้วยแนวคิดที่ต้องการให้ SMEs และ Startups สามารถเข้าถึงแหล่งระดมเงินทุน ทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สำนักงาน ก.ล.ต. จึงมีการพัฒนากระดานซื้อขายใหม่ที่ชื่อว่า LiVE Exchange ขึ้นมา
โดยมีจุดประสงค์ก็เพื่อ ลดกฎเกณฑ์บางอย่างลง ให้ SMEs และ Startups สามารถเข้าถึงการระดมทุนผ่านกลไกตลาดทุนได้ง่ายขึ้น ภายใต้แนวคิด “Light Touch Supervision”
ซึ่งสำหรับบริษัท SMEs และ Startups ที่ต้องการจะเข้ามาระดมทุนใน LiVE Exchange ทางสำนักงาน ก.ล.ต. ก็ได้กำหนดคุณสมบัติหลัก ๆ เอาไว้ว่า
1. ต้องเป็นบริษัทมหาชน และประกอบกิจการธุรกิจในบริษัท ไม่ใช่บริษัท Investment Company ที่เน้นไปลงทุนในบริษัทอื่น
2. บริษัทต้องไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจผิดกฎหมาย
3. กรรมการและผู้บริหารของบริษัท ต้องไม่อยู่ใน Blacklist หรือมีประวัติทำผิดกฎหมาย
4. บริษัทต้องมีมูลค่าระดมทุน 10 ล้านบาทขึ้นไป และต้องระดมทุนได้ 80% ของมูลค่าระดมทุนที่ตั้งไว้
5. หลังจากบริษัทเสนอขายหุ้นต่อนักลงทุนทั่วไปแล้ว ต้องเข้าจดทะเบียนบน LiVE Exchange
ส่วนทางฝั่งตลาดหลักทรัพย์ฯ เน้นเรื่องความพร้อมของตัวธุรกิจเป็นหลักสำคัญ ซึ่งประกอบด้วย ความพร้อมในเรื่องความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ของตลาดทุน และความพร้อมในด้านธุรกิจของตนเอง
ทำให้บริษัทที่จะเข้ามาระดมทุนได้ จึงจำเป็นต้องผ่านการอบรมหลักสูตรเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ตลาดทุนเสียก่อน
ในเรื่องความพร้อมด้านธุรกิจ ของทางฝั่ง SMEs ทางตลาดหลักทรัพย์ฯ จะใช้เกณฑ์รายได้ของธุรกิจมาเป็นตัวกำหนด
- ภาคบริการ ต้องมีรายได้ขั้นต่ำ 50 ล้านบาท
- ภาคการผลิต ต้องมีรายได้ขั้นต่ำ 100 ล้านบาท
ส่วนทางฝั่ง Startups ที่อาจจะมีรายได้ยังไม่มาก หรือค่อนข้างผันผวน ตลาดหลักทรัพย์ฯ ก็มีเกณฑ์อื่นมาพิจารณา
คือหาก Startups ใดที่มี Private Equity หรือ Venture Capital เข้ามาลงทุนอยู่ก่อนแล้ว ก็จะสามารถเข้าระดมทุนผ่าน LiVE Exchange ได้
นอกจากนั้นแล้ว เพื่อให้ SMEs และ Startups สามารถเข้าระดมทุนผ่าน LiVE Exchange ได้ง่ายขึ้น
ทาง ก.ล.ต. จึงผ่อนผันอนุญาต ให้บริษัทแต่ละรายไม่จำเป็นต้องยื่นคำขออนุญาตจาก ก.ล.ต. และไม่จำเป็นต้องมีที่ปรึกษาทางการเงิน หรือ Financial Advisor (FA)
เพียงแต่ต้องเปิดเผยข้อมูลสำคัญ สำหรับให้นักลงทุนใช้พิจารณาประกอบการลงทุนได้
ซึ่งจะมีเนื้อหาหลัก ๆ อยู่ 4 ส่วนคือ
1. ลักษณะการประกอบธุรกิจ
2. ความเสี่ยงของธุรกิจ
3. งบแสดงฐานะการเงิน
4. รายละเอียดผู้บริหาร
ตลาดหลักทรัพย์ฯ ยังได้พัฒนาระบบกระบวนการดิจิทัล เพื่อรองรับการระดมทุน การเสนอขาย ไปจนถึงการจดทะเบียน ที่ทำได้ครบจบบนช่องทางดิจิทัล
มีการพัฒนาระบบ SME Filing ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญในการประกอบการตัดสินใจให้กับผู้ลงทุน มีระบบจัดการข้อมูลที่เป็นระเบียบ สามารถจัดหมวดหมู่และแสดงผล ให้ผู้ลงทุนสามารถดูรายละเอียดของแต่ละบริษัทได้ง่าย เช่น ข้อมูลงบการเงิน ข่าวสารของบริษัท
พร้อมจัดทำระบบ Crowd Opinion ผ่านเว็บไซต์
ซึ่งจะเป็นช่องทางที่ให้ผู้ลงทุนสามารถสอบถามข้อมูลหรือข้อสงสัยไปยัง SMEs และ Startups หรือ ก.ล.ต. ได้ เรียกได้ว่าเป็น Two-way Communication ระหว่างนักลงทุนกับผู้ประกอบการนั่นเอง
คราวนี้มาดูในฝั่งของผู้ลงทุนกันบ้าง
ในเบื้องต้น ทาง ก.ล.ต. ได้อนุญาตให้ผู้ลงทุน 3 ประเภท ที่มีความรู้ความเข้าใจ และรับความเสี่ยงจากการลงทุนในธุรกิจ SMEs และ Startups สามารถลงทุนในกระดาน LiVE Exchange ได้ ประกอบด้วย
1. กลุ่มนักลงทุนที่มีความเชี่ยวชาญ เช่น สถาบันการเงิน, Private Equity หรือ Venture Capital และบรรดา Angel Investor
2. กลุ่มผู้ลงทุนที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการลงทุนและมีทรัพย์สินในระดับหนึ่ง ที่ทาง ก.ล.ต. พิจารณาเห็นสมควรแล้วว่าสามารถลงทุนใน LiVE Exchange ได้
3. กลุ่มคนที่คุ้นเคยกับกิจการ ตั้งแต่ตำแหน่งสูงสุดอย่าง ผู้บริหารและกรรมการ จนถึงตำแหน่งพนักงานทั่วไป
สำหรับผู้ที่ผ่านเกณฑ์จากตลาดหลักทรัพย์ฯ และสนใจลงทุนบริษัทต่าง ๆ บน LiVE Exchange
สามารถติดต่อผ่านบริษัทหลักทรัพย์ต่าง ๆ ได้โดยตรง ซึ่งขณะนี้มีบริษัทหลักทรัพย์ที่แสดงความสนใจเข้าร่วมแล้ว 25 ราย
สำหรับการเปิดบัญชีสำหรับซื้อขายหลักทรัพย์จะไม่แตกต่างจาก SET และ mai แต่รูปแบบการซื้อขายจะมีความแตกต่างกัน ในเบื้องต้นรายละเอียดคือ
1. เป็นการซื้อขายแบบ “Prepaid” คือฝั่งผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องมีหุ้นและเงินในบัญชีก่อน ถึงจะสามารถส่งคำสั่งซื้อขายได้
2. LiVE Exchange ในช่วงแรก จะเปิดให้ซื้อขายเพียงวันละ 1 รอบ ในเวลา 09.30-11.00 น. ในรูปแบบ Auction
3. เป็นการชำระราคาและส่งมอบภายในวันนั้น (T) ทันที ซึ่งแตกต่างจาก SET และ mai ที่มีการชำระราคาและส่งมอบ T+2
โดยนักลงทุนสามารถสั่งซื้อขายได้ทั้งผ่านโบรกเกอร์ที่ใช้บริการ หรือผ่านระบบ Internet Trading เช่นเดียวกับซื้อขายหุ้นบน SET และ mai
ซึ่งโอกาสสำคัญ สำหรับเหล่านักลงทุนที่ใช้ LiVE Exchange
คือสามารถเป็นเจ้าของบริษัทที่ชื่นชอบ ได้ตั้งแต่ช่วงที่ธุรกิจยังมีขนาดเล็ก ซึ่งมีโอกาสเติบโตอย่างรวดเร็ว ต่างจาก SET และ mai ที่หลายบริษัทอาจจะใหญ่โตมากแล้ว
แต่อย่างที่เรารู้กันก็คือ “โอกาสมักจะมาพร้อมกับความเสี่ยงอยู่เสมอ” เนื่องจากธุรกิจระดับ SMEs และ Startups ยังถือว่ามีปัจจัยท้าทายอยู่มากพอสมควร
และอีกประเด็นคือ เนื่องจากบริษัทบน LiVE Exchange สามารถซื้อขายได้เพียงวันละ 1 รอบ และสภาพคล่องอาจไม่สูงเหมือนตลาดใหญ่อย่าง SET และ mai
ฉะนั้นนักลงทุนที่จะลงทุนใน LiVE Exchange จึงควรมองภาพการลงทุนในระยะยาว
ทั้งนี้กฎเกณฑ์และระบบต่าง ๆ ของ LiVE Exchange คาดว่าจะเสร็จสิ้นสมบูรณ์ภายในปลายปีนี้ และคาดว่าในช่วงต้นปีหน้า นักลงทุนจะสามารถเริ่มทำการซื้อขายหุ้นบนกระดาน LiVE Exchange ได้
นอกจากนั้น ภายในงานยังมี เวทีนำเสนอธุรกิจ “SMEs-Startups Showcase” ที่ให้บรรดาผู้ประกอบการ 21 บริษัท จากโครงการ LiVE Acceleration Program รุ่นที่ 1 ได้มาร่วมนำเสนอเป้าหมายการเติบโต และแผนการระดมทุนในอนาคตให้นักลงทุนได้รับชม
ประกอบไปด้วยบริษัทจาก 5 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ Wellness & Recreation, Healthy Food & Food Supply Chain, Digital Platform & E-commerce, Smart Living & Smart City และ EV & Green Energy
ซึ่งนักลงทุนท่านไหน หรือใครที่สนใจว่ามีธุรกิจอะไรบ้าง และแต่ละธุรกิจมีโมเดลธุรกิจอย่างไร มีแผนพัฒนาธุรกิจในอนาคตอย่างไร ก็สามารถเข้าไปรับชมย้อนหลังกันได้ในช่องทาง Facebook LiVE Platform
ทั้งหมดนี้ก็คือ รายละเอียดกฎเกณฑ์ และความน่าสนใจ ของ “LiVE Exchange”
ที่จะเข้ามาช่วยให้ SMEs และ Startups เข้าสู่การระดมทุนด้วยกลไกตลาดทุนได้สะดวกขึ้น และเสริมพลังสร้างการเติบโตในอนาคตต่อไป
และก็ถือเป็นอีกหนึ่งช่องทางการลงทุนที่น่าสนใจ
สำหรับนักลงทุนที่สนใจ และอยากลงทุนในธุรกิจ SMEs และ Startups สามารถติดตามข้อมูลกันได้ที่เว็บไซต์ www.live-platforms.com และ Facebook LiVE Platform
supply chain company 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
ลงทุนแมน x ศรีตรังโกลฟส์
ส่องธุรกิจ ‘ศรีตรังโกลฟส์’ ผู้ผลิตถุงมือยางรายใหญ่ เติบโตในวันที่เศรษฐกิจผันผวน
ในวิกฤติย่อมมีโอกาส…
สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 อาจทำให้บางธุรกิจต้องปิดตัว
แต่บางธุรกิจเป็นโอกาสเร่งผลิตสินค้ารองรับความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้น
เช่นเดียวกับสินค้าถุงมือยางที่กลายเป็นสิ่งที่ผู้คนต้องการเป็นอย่างมากในช่วงเวลานี้
ทั้งในทางวงการแพทย์ สถานเสริมความงาม อุตสาหกรรมอาหาร ฯลฯ
ส่งผลให้ถุงมือยางได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เสมือนเป็นอวัยวะที่ 33
และในประเทศไทย ก็มีผู้ประกอบการที่ขึ้นแท่นผลิตและจำหน่ายถุงมือยางอยู่ในระดับเบอร์ต้นของโลก
และประสบความสำเร็จจากการส่งออกต่างประเทศ
เรื่องนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
บริษัทผลิตถุงมือยางรายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และใหญ่เป็นอันดับต้นๆ ของโลก มีชื่อว่า บริษัท ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) หรือ STGT
มีสินค้าที่ผลิตและจัดจำหน่ายอยู่ 2 อย่าง คือ ถุงมือยางธรรมชาติ (Latex Glove) ที่ยืดหยุ่นสูง สวมใส่ง่าย และถุงมือยางสังเคราะห์ (Nitrile Glove) ผลิตจากน้ำยางไนไตรล์ ซึ่งเป็นน้ำยางสังเคราะห์ ทนต่อความร้อนและสารเคมีได้ดีกว่ายางธรรมชาติ
แต่กว่าความสำเร็จจะทำให้ STGT ยืนหนึ่งในวันนี้ได้
STGT เคยเป็นบริษัทที่ไม่ได้มีกำลังการผลิตมากมาย
เริ่มต้นด้วยทุนจดทะเบียนบริษัทฯ 200 ล้านบาท เมื่อปี 2532 ภายใต้ชื่อ บริษัท สยามเซมเพอร์เมด จำกัด
มีฐานการผลิต 1 แห่ง คือโรงงานสาขาหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ที่มีเพียง 4 สายการผลิตเท่านั้น
กระทั่งอีก 9 ปีต่อมา บริษัทฯ เล็งเห็นโอกาสในการลงทุนในตลาดต่างประเทศ
จึงจัดตั้ง Sempermed USA, Inc ขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อทำธุรกิจขายถุงมือยางในสหรัฐอเมริกา
และนอกจากจะบุกเบิกตลาดแถบตะวันตกแล้ว ยังรุกเข้าลงทุนในตลาดแถบตะวันออกอย่างต่อเนื่องด้วย
โดยเข้าลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 100 ใน Shanghai Sempermed Glove Sales Co., Ltd . ในประเทศจีน เพื่อทำธุรกิจผลิตและขายถุงมือไวนิลในประเทศจีน
การลงทุนด้วยการมุ่งเจาะตลาดต่างประเทศ ได้สะท้อนให้เห็นถึงวิสัยทัศน์อันกว้างไกลของผู้บริหารที่ต้องการขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และยังเป็นการสร้างการรับรู้ของตราสินค้าให้เป็นที่รู้จักในระดับสากล
ในปี 2556 STGT ยังได้จัดตั้งโรงงานขึ้นใหม่อีก 1 แห่ง คือ โรงงานสาขาสุราษฎร์ธานี ที่มีสายการผลิตครบ 14 สายการผลิต
จนมาถึงจุดเปลี่ยนครั้งสำคัญ เมื่อบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) หรือ STA ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ และเป็นผู้ผลิตน้ำยางข้นสำหรับการผลิตถุงมือยาง เข้าซื้อหุ้นในบริษัท สยามเซมเพอร์เมด และเปลี่ยนชื่อมาเป็นบริษัท ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จำกัด เมื่อปี 2560
หลังจากนั้นเกิดพัฒนาการที่สำคัญคือ บริษัท STA ได้เข้าลงทุนในบริษัท ไทยกอง จำกัด (มหาชน) หรือ TK ที่ถือหุ้นโดยบริษัท ไทยกองกรุ๊ป จำกัด หรือ TKG ร้อยละ 95 โดยวิธีการควบรวมบริษัทระหว่าง STGT กับบริษัท TK เพื่อให้บริษัทฯ เป็นบริษัทหลัก (Flagship Company) ของกลุ่ม STA ในการประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่ายถุงมือยาง
นอกจากนี้ยังได้มีการปรับโครงสร้างภายในองค์กร โดย STGT ได้นำบริษัทผู้จัดจำหน่ายถุงมือยาง ได้แก่ บริษัท SDME และ STU ที่เดิมจัดตั้งเพื่อทำธุรกิจขายถุงมือในประเทศจีนและสหรัฐฯ เมื่อปี 2541 ช่วงที่บุกเบิกในตลาดต่างประเทศใหม่ๆ มาอยู่ภายใต้การบริหารของ STGT
เส้นทางของ STGT จึงมีแต่เดินหน้า และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนมากขึ้นเรื่อยๆ เห็นได้จากการมีพันธมิตรที่ดีเพื่อคอยสนับสนุนและจากการขยายฐานการผลิต
ปัจจุบัน STGT ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้นำอุตสาหกรรมผลิตถุงมือยาง ที่บ่มเพาะประสบการณ์มาเป็นเวลากว่า 30 ปี เน้นการผลิตสินค้าและบริการที่เป็นเลิศ โดยเพิ่มทุนจดทะเบียนใหม่เป็นจำนวน 1,434 ล้านบาท
พร้อมทั้งให้การลงทุนในสายการผลิตต่อเนื่อง จัดตั้งโรงงานขึ้นใหม่อีก 1 แห่ง คือ โรงงานสาขาตรัง
รวมการจัดตั้งโรงงานของศรีตรังโกลฟส์ในตอนนี้มีอยู่ 3 แห่ง ได้แก่ โรงงานสาขาหาดใหญ่ โรงงานสาขาสุราษฎร์ธานีและโรงงานสาขาตรัง
โดย STGT ได้ทำการขยายกำลังผลิตติดตั้งของโรงงานสาขาหาดใหญ่ และโรงงานสาขาตรัง ซึ่ง ณ ปัจจุบัน STGT มีกำลังการผลิตติดตั้งรวมประมาณ 32,619 ล้านชิ้นต่อปี (ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2563) และยังมีแผนเพิ่มกำลังการผลิตติดตั้งอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาความเป็นผู้นำในประเทศไทย
หากเราวิเคราะห์ถึงปัจจัยการเติบโตของบริษัทฯ ที่มีเสถียรภาพ และผลิต จัดจำหน่ายสินค้าออกมารองรับความต้องการของผู้บริโภค
คงต้องมองไปที่การลงทุนสร้างโรงงานแห่งใหม่ ที่เน้นนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ อย่างการผลิตแบบอัตโนมัติ และระบบ IoT มาใช้เป็นตัวซัพพอร์ต ทำให้ผลิตสินค้าได้รวดเร็วขึ้น ลดการใช้แรงงาน และลดความผิดพลาด
ประกอบกับมีระบบ Supply Chain คอยรองรับ ตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำ ที่มีน้ำยางข้นเป็นของตัวเอง ผ่านการผลิตของบริษัท STA ซึ่งเป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติแบบครบวงจรรายใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ STGT
รวมไปถึงจุดแข็งของยุทธศาสตร์ด้านทำเลของโรงงานที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่ปลูกสวนยาง ทำให้ลดต้นทุนการขนส่งสินค้า และมีความยืดหยุ่นทางด้านการจัดหาวัตถุดิบ
STGT ยังมีช่องทางการจำหน่ายที่หลากหลาย ส่งออกสินค้ากว่า 140 ประเทศ และเป็นผู้บุกเบิกถุงมือยางในตลาดที่มีอัตราเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง อาทิ กลุ่มประเทศเอเชียแปซิฟิก ทวีปแอฟริกาและอเมริกาใต้ ฯลฯ
เงินในส่วนที่ได้จากการระดมทุน STGT จะนำไปใช้ขยายกำลังการผลิตของสินค้า พร้อมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตถุงมือยางต่อไป
สอดรับกับแนวทางการบริหารและวิสัยทัศน์ ที่ว่า “ส่งมอบการปกป้องทุกสัมผัส ด้วยความห่วงใย สู่ทุกชีวิตทั่วโลก”
ถุงมือยางจึงเป็นมากกว่าสิ่งของไว้ใช้งาน แต่มันคืออุปกรณ์สวมใส่ที่มือชั้นดี ที่มอบความอุ่นใจ ให้แก่ผู้สวมใส่ทั่วโลกทุกครั้งที่ใช้..
ติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.sritranggloves.com/
supply chain company 在 Appleが大好きなんだよ Youtube 的評價
今日は月曜日です!ここ1週間のニュースのまとめです。iPad関連情報が多数。イベント関連のさらなる噂やiPhone 13のTouch IDの話、Mac miniの発売時期など出ています。
<引用・要約させていただいたソース記事>
<9to5Mac>
https://9to5mac.com/2021/08/22/gurman-updated-mac-mini-with-new-design-and-more-ports-coming-in-the-next-several-months/
https://9to5mac.com/2021/08/22/gurman-apple-tested-iphone-13-with-touch-id-but-its-unlikely-to-launch-this-year/
https://9to5mac.com/2021/08/22/apple-to-launch-ipad-9-in-september-considering-titanium-finish-for-new-models/
https://9to5mac.com/2021/08/19/apple-to-keep-remote-work-until-early-2022-as-company-delays-office-return-once-again/
https://9to5mac.com/2021/08/19/iphone-nano-story-2011-steve-jobs/
https://9to5mac.com/2021/08/19/ipad-mini-6-case-molds-depict-new-thin-bezel-design-with-touch-id-power-button/
ソース
https://techordo.com
https://9to5mac.com/2021/07/20/new-ipad-mini-exclusive-a15-processor-usb-c/
https://9to5mac.com/2021/08/17/apple-watch-series-7-redesign-shown-off-in-new-cad-renders/
https://9to5mac.com/2021/08/17/supply-chain-checks-lend-confidence-in-september-iphone-13-launch-1tb-storage-tier/
<wccftech>
https://wccftech.com/m1x-mac-mini-delayed-due-to-marketing-reasons/amp/
ソース
https://twitter.com/LeaksApplePro/status/1427688425113726982
<DuanRui>
https://twitter.com/duanrui1205/status/1428939963245101061
<MacRumors>
https://www.macrumors.com/2021/08/20/digitmes-mulitple-apple-events-for-september/
https://www.macrumors.com/2021/08/19/9th-gen-ipad-this-fall-gurman/
https://www.macrumors.com/2021/08/18/apple-airpods-3-mass-produced-china-not-vietnam/
ソース
https://asia.nikkei.com/Business/China-tech/COVID-slows-Apple-and-Google-production-shift-away-from-China
https://www.macrumors.com/2021/07/26/ipad-mini-6-display-design-info/
ソース
https://twitter.com/DSCCRoss/status/1419728325379969031
Macお宝鑑定団
http://www.macotakara.jp/blog/rumor/entry-41593.html
<関連動画>
この秋も複数の新製品イベント開催か?MacBook Pro量産開始で11月?Appleの1週間 ニュースと噂まとめ・20210816
https://youtu.be/Iek51xkRuVM
2021年 この秋に出そうな噂のApple新製品まとめ・もうすぐ発表&発売?
https://youtu.be/ZSu7KmLG3t4
新型Watch&MacBookが登録された!AirPods3もiPhone 13と9月発売? Appleの1週間 ニュースと噂まとめ・20210808
https://youtu.be/Fc5zynvqoLU
単体売り開始Touch ID付Magic Keyboard!Mac色々接続してみた・8月3日にAppleが新発売したもの細かいチェック
https://youtu.be/kxr_Thk0Dos
新iPad miniはホームボタン有無どっち?Appleの噂とニュース20210802・上位iMacは2022年?チタンのiPhone?
https://youtu.be/fuSAhZA-S9A
<速報>Appleの2021年4-6月業績発表・iPhoneが昨年の1.5倍売れた!第3四半期決算
https://youtu.be/PTT-grbonWA
AirPods 3は9月?iPhone SE3?iPad mini6ミニLED?MacにFace ID?など・Appleの1週間 噂とニュースまとめ・20210726
https://youtu.be/sWmH5jqxo_c
また噂!全画面 iPad mini 6が秋に出たら涙出るほど嬉しい!miniっていいよな・A15にUSB-C?
https://youtu.be/XrBqaqzFxj4
新MacBook Proは9-11月?iPhone 13はやっぱり常時表示?Wi-Fi6E?などAppleの1週間 噂とニュースまとめ・20210719
https://youtu.be/ZMNirpbMc3g
再生リスト:2021Appleの噂やニュース
https://youtube.com/playlist?list=PL1bNs6yZxdxlWopvosovZ9AM6EEQOkjsw
撮影機材
・Panasonic Lumix GH5s
・Panasonic Lumix GH5
・Canon Power Shot G7X Mark II
・iPhone 12 Pro(Simフリー)
・iPhone 12 mini(Simフリー)
・iPadPro 11”(Simフリー)
・DJI OSMO Pocket
・Moment iPhone 外付けレンズ&専用ケース
動画編集
Final Cut Pro X
Adobe Illustrator(スライド)
Adobe Photoshop(スライド)
Adobe Character Animator(アニメーション)
※チャンネル全般で使っているものであって動画によって機材アプリは違います。
#Appleイベント
#iPadmini6
#Macmini
supply chain company 在 CarDebuts Youtube 的評價
ชมขั้นตอนการผลิต โดยละเอียด All-New 2019 BMW 3-Series ที่โรงงานในเมือง San Luis Potosi เม็กซิโก
San Luis Potosi/Munich. High-level representatives of the Mexican government and the BMW Group officially opened the company’s new automotive plant in San Luis Potosi in Mexico today.
Oliver Zipse, member of the Board of Management of BMW AG responsible for Production, stated during the ceremony: “The new plant in San Luis Potosi is an important pillar of the BMW Group’s global production strategy. We aim to achieve a balance in our production and sales in the different world regions. We want to strengthen our footprint in important and growing markets. Plant San Luis Potosi will significantly boost our regional production flexibility in the Americas. From here, we are delivering our locally produced BMW 3 Series Sedan to customers worldwide.”
The company has invested more than one billion US dollars in the new production location. The plant, which already employs 2,500 people, will have a capacity of up to 175,000 units per year once the ramp-up phase is fully completed.
San Luis Potosi will build the BMW brand’s most successful model series: the BMW 3 Series Sedan. In the company’s more than 100-year history, this iconic car has come to represent the heart of the brand, setting the standard for dynamic performance, efficiency and design.
The ceremony in San Luis Potosi was attended by guests including Dr. Alfonso Romo Garza, Head of the Office of the Presidency of the Mexican Republic; Dr Juan Manuel Carreras López, governor of the state of San Luis Potosi; Oliver Zipse, member of the Board of Management of BMW AG responsible for Production; Milagros Caiña-Andree, member of the Board of Management of BMW AG responsible for Human Resources and Labour Relations, and Dr Andreas Wendt, member of the Board of Management of BMW AG responsible for Purchasing and Supplier Network.
Head of Human Resources Milagros Caiña-Andree highlighted the BMW Group’s strong commitment to vocational education: “Our highly-trained employees form a strong foundation for our new BMW Group Plant San Luis Potosi and help us meet high quality standards for our premium products. Our dual vocational training programme is already in its fourth generation.”
At an innovative new training centre on the plant grounds, all new staff and apprentices are trained in the BMW Group’s latest production processes and technologies, based on the dual vocational training model. The centre is not just focused on expanding employees’ and apprentices’ technical skills, but also boosting motivation, enthusiasm and team spirit.
The plant is working with four technical institutes in this area and has already trained 250 apprentices in technical occupations.
Dr Andreas Wendt, member of the Board of Management of BMW AG responsible for Purchasing and Supplier Network: “We have a strong supplier base we can build on in Mexico, having sourced high-quality, technologically sophisticated and innovative products from here for more than ten years. Every BMW Group vehicle today already contains at least one part from one of our 220 Mexican suppliers. Our new plant will benefit from short supply routes and the high level of flexibility this gives our supply chain.”
The BMW Group has operated its own local purchasing office in Mexico since 2008. In 2017, the office relocated from Mexico City to San Luis Potosi, where it now employs 105 people. The BMW Group’s purchasing volume in Mexico reached USD 2.5 billion last year.
supply chain company 在 CarDebuts Youtube 的評價
Tuscaloosa, AL/USA – As part of its ongoing commitment to engineer and manufacture the world’s most attractive vehicles, Mercedes-Benz will set up electric vehicle production in the United States. The company plans to produce EQ-branded SUV models at MBUSI (Mercedes-Benz U.S. International), its Tuscaloosa, Alabama facility. At the time being launched, the EQ models will feature the latest status of automated driving - always under the premise of safety and in compliance with the statutory regulations. In addition, a battery plant will also be built near the existing passenger-car plant ensuring availability of cutting-edge technology for future generations of Mercedes-Benz vehicles built in the U.S. In total, Mercedes-Benz plans to invest $1 billion in the expansion of its industrial footprint in the region, most of which is slated for the electric initiative. It is expected that once completed these investments will create more than 600 additional jobs. Final details of the plans are still being worked on in partnership with the State of Alabama.
“We are excited to celebrate 20 years of production in Tuscaloosa by expanding our operations in the region and by bringing our electric initiative to the United States. With this one billion dollar investment, we are significantly growing our manufacturing footprint here in Alabama, while sending a clear message to our customers across the U.S. and around the world: Mercedes-Benz will continue to be on the cutting-edge of electric vehicle development and production,” said Markus Schäfer, Member of the Divisional Board of Mercedes-Benz Cars, Production and Supply Chain. “With production locations for EVs and batteries in Europe, China and, now, the U.S., our global network is ready for the era of electric vehicles. Thanks to our plant modernization in Tuscaloosa, we will be able to quickly ramp up U.S. production of EQ models, while also being more flexible to our customers’ demands for innovative vehicles that live up to the excellent quality that is synonymous with the Mercedes-Benz brand.”
In addition to the electric initiative, the logistics activities in the U.S. will be expanded with a new Global Logistics Center and a new after-sales North American hub, exporting car-kits to global assembly plants and spare parts from the U.S. and North America to worldwide markets.
supply chain company 在 Supply Chain Definition - Investopedia 的相關結果
A supply chain is a network between a company and its suppliers to produce and distribute a specific product to the final buyer. ... <看更多>
supply chain company 在 Best Supply Chains from Companies Around the World 的相關結果
Sustainable supply chain companies are the ones that will succeed far into the future, since these practices reduce costs and improve ... ... <看更多>
supply chain company 在 The 10 Best Supply Chain Companies of 2021 - Thomasnet 的相關結果
The 10 Best Supply Chain Companies of 2021 · 1. Cisco Systems · 2. Colgate-Palmolive · 3. Johnson & Johnson · 4. Schneider Electric · 5. Nestlé · 6. ... <看更多>