PRESS STATEMENT (IN REPLY TO RONNIE LIU)
I refer to the press statement from the State Assemblyman of Sungai Pelek, titled “Muhyiddin must come clean on the COVID-19 vaccine.” The State Assemblyman has claimed several inaccuracies, allegations, and misrepresentations that require answering in this statement.
I will answer them one by one.
1. The State Assemblyman has alleged that the mRNA vaccine will alter the DNA of a person. He has also questioned whether it will be approved by JAKIM based on the same premise.
Briefly, in our cells, mRNAs (messenger RNAs) are temporary molecules that are made from our genomic DNA before it is translated to make a protein. It is essentially a short-term, temporary message.
In this case, the temporary message instructs the body to produce one of the proteins on the surface of the coronavirus. The immune system will then learn to recognise the virus protein and produce antibodies against it. That’s all the mRNA vaccine does. It does not alter your DNA.
In response to State Assemblyman’s query if JAKIM will approve the vaccine since “it is capable of altering the DNA of a person?” The DNA issue has been addressed above. In addition, I have already stated that JAKIM is part of the Jawatankuasa Khas Jaminan Akses Bekalan Vaksin COVID-19 (JKJAV) which assesses COVID-19 vaccines. Furthermore, Minister in the Prime Minister's Department (Religious Affairs) YB Datuk Seri Dr Zulkifli Mohamad Al-Bakri clarified in Parliament, the Muzakarah (Conference) of the National Fatwa Council will study and deliberate on the matter.
2. The State Assemblyman has also questioned who will be paying for the vaccine. If he read beyond the headlines of the announcement, he would have seen that the Prime Minister has pledged that the Government will fund the public COVID-19 vaccination programme for Malaysians with an initial target of 70% of our population to reach herd immunity. The Malaysian Government has set aside at least RM 3 billion solely for this purpose.
3. The pricing of the Pfizer vaccine is covered by a non-disclosure agreement as each country negotiates directly with the pharmaceutical company. Suffice it to say we are satisfied with the terms and pricing that we have agreed upon. The terms we have reached protect Malaysia’s interests both financially and with regards to the safety of the vaccine.
I can categorically confirm that it is definitely less than the RM100 per dose as assumed by the State Assemblyman.
4. The State Assemblyman also claimed that we are rushing to sign deals with vaccine manufacturers. I can categorically say that this is false. We have been negotiating with vaccine manufacturers since April 2020 when we announced our Science Diplomacy strategy. We are considering all data provided by the companies we are negotiating with in order to make the best, most informed decision. This is just the first of many deals that we are considering. Negotiations are ongoing including with vaccine manufacturers from China (including the manufacturer which the State Assemblyman strongly champions). I would like to emphasise that the vaccines must be deemed safe and efficacious by the National Pharmaceutical Regulatory Agency (NPRA) under MOH before we execute the agreements and begin the vaccination process.
It is important to note that not any one pharmaceutical company will be able to supply vaccines for the entire Malaysian population. This is why the multi-pronged approach to procure a portfolio of vaccines is significant in order to obtain enough doses to meet our herd immunity target of 70% of the population.
5. With regards to the ultra-cold supply chain required; the shipment will be handled and delivered by Pfizer directly.
As for ultra-cold storage, we have ultra-low temperature freezers in universities and research institutes in the country which can be redeployed, if necessary. Pfizer has also shown that the vaccines are stable at 2-8 degree Celsius for five days.
We are also not getting the 12.8 million doses in one shot. They will be staggered throughout the year. Our planning for storage will take the delivery schedule into consideration.
6. MOH’s efforts during the crisis have not only been domestically praised but also internationally recognised. They have been working constantly and consistently to ensure that Malaysians have among the best standards of healthcare in the world. All of us will help where we can.
We are taking a whole-of-government approach to the COVID-19 crisis. It is all hands-on deck. Every one of my Cabinet colleagues is involved in this effort to get us through this pandemic.
On the question as to why I am involved, I co-chair the JKJAV with Health Minister, YB Dato’ Seri Dr Adham Baba. MOSTI is also involved in vaccine negotiations as the ministry in charge of biotechnology. The Malaysia Genome Institute under MOSTI is producing whole genome sequencing and bioinformatics analysis to detect mutations in the genome from COVID-19 samples.
MOSTI is also in the midst of developing a National Vaccine Roadmap. The National Institutes of Biotechnology (NIBM), Malaysia under MOSTI is collaborating with multiple foreign research institutes in vaccine development R&D as well.
I continue to welcome questions and queries on this important national endeavour.
KHAIRY JAMALUDDIN
30 NOVEMBER 2020
https://www.khairykj.com/statements/press-statement-in-reply-to-ronnie-liu
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過62萬的網紅Bryan Wee,也在其Youtube影片中提到,...
「protein sequencing」的推薦目錄:
- 關於protein sequencing 在 Khairy Jamaluddin Facebook
- 關於protein sequencing 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook
- 關於protein sequencing 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook
- 關於protein sequencing 在 Bryan Wee Youtube
- 關於protein sequencing 在 Travel Thirsty Youtube
- 關於protein sequencing 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube
protein sequencing 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 八卦
เปิดมหาวิทยาลัยอย่างไรให้ปลอดภัยจากโรคโควิด-19 : ตัวอย่างจากมหาวิทยาลัย Duke ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ในขณะที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศวาระแห่งกระทรวง อย่างชัดเจนว่า ในเทอมปลายนี้ จะเปิดให้เด็กๆกลับไปเรียนหนังสือที่โรงเรียนให้ได้ .. โดยพยายามออกมาตรการแนวทางปฏิบัติตัวอย่างเพื่อให้เกิดความปลอดภัยขึ้น โดยเฉพาะที่เด่นที่สุด คือ การระดมฉีดวัคซีนให้กับเด็กนักเรียนในชั้นมัธยมฯ และปวช. รวมถึงมาตรการอื่นๆ เช่น คัดกรองด้วยชุดตรวจ ATK
แต่ในฝั่งของกระทรวง อว. ซึ่งกำกับดูแลมหาวิทยาลัยต่างๆ กลับค่อนข้างเงียบมาก ไม่สร้างความชัดเจน เรื่องการกลับไปเรียนหนังสือที่มหาวิทยาลัยในเทอมปลาย เหมือนกระทรวงศึกษาฯ เลย มีแต่ซุ่มฉีดวัคซีนให้กับนิสิตนักศึกษาไปจำนวนหนึ่ง และออกแทนการเปิดมหาวิทยาลัย ทีละ 25% 50% ให้บุคลากรเข้าไปทำงานได้ โดยที่ไม่ได้เน้นว่า จะกลับมาเรียนหนังสือกันอีกเมื่อไหร่
จริงๆแล้ว มีสารพัดอย่างที่สามารถทำได้ และควรจะต้องวางแผนการทำตั้งแต่วันนี้แล้ว ... อยู่แค่ว่ามีใจกล้าพอ จะเผชิญความจริงของการที่ต้องสอนหนังสือ เรียนหนังสือ แล้วเจอผู้ติดเชื้อบ้าง ..หรือจะเอาแต่ "วิ่งหนีเชื้อโรคเข้าถ้ำ" เหมือนตลอดปีกว่าๆ ที่ผ่านมา
ไปเจอโพสต์ของ Karn Imwattana มิตรสหาย facebook ท่านหนึ่ง ที่เรียนหนังสืออยู่ที่มหาวิทยาลัย Duke ในประเทศสหรัฐอเมริกา พูดถึงมาตรการของเขา จึงอยากจะเอามาให้เป็นตัวอย่างแนวทาง เพื่อรัฐมนตรีกระทรวง อว. จะพอมีไอเดียในการสั่งการบ้างนะครับ
สรุปความได้ดังนี้
- เกือบทุกคนในมหาวิทยาลัย ได้ฉีดวัคซีน (ความเห็นผม : ของไทยเรา โดยเฉพาะในกรุงเทพฯและปริมณฑล ก็ฉีดกันไปเยอะมากเลยนะครับ คนภายนอกอาจจะไม่ทราบข่าวกัน)
- เปิดการเรียนการสอนเต็มที่แล้ว โดยทุกคนต้องใส่หน้ากากเมื่ออยู่ในอาคาร-ในห้องเรียน ยกเว้นแค่ตอนช่วงกินข้าว (ความเห็นผม : เรื่องใหญ่อีกเรื่องคือ ventilation การเปิดประตูหน้าต่าง ซึ่งในต่างประเทศเขาทำเป็นเรื่องปกติไปแล้ว แต่ไทยเรา ยังติดนิสัยเรียนในห้องแอร์ และจำเป็นจะต้องมาทบทวนกันใหม่)
- มีการสุ่มตรวจโรคโควิดถี่มาก อาทิตย์ละ 1 ครั้ง หรือบางช่วง อาทิตย์ละ 2-3 ครั้ง (ความเห็นผม : ของไทยเรา ควรตรวจทุกคนก่อนเปิดเทอม 1 ครั้ง และสุ่มตรวจดูเรื่อยๆ ทุกสัปดาห์)
- เทคนิคที่ใช้ตรวจคือ PCR ด้วย ไม่ใช่ ATK (ความเห็นผม : สำหรับประเทศไทยเรา ได้ตรวจ ATK ก็ดีถมแล้ว)
- ที่ตรวจถี่ เพราะจะได้แยกตัวคนที่ติดเชื้อออกมาได้เร็ว ไม่ปล่อยให้ไปแพร่ต่อ (ความเห็นผม : การตรวจหาผู้ติดเชื้อ มีประโยชน์ไม่แพ้ หรืออาจจะจำเป็น ยิ่งกว่าการฉีดวัคซีนด้วยซ้ำ)
- นอกจากใช้แยกผู้ติดเชื้อแล้ว มหาวิทยาลัยยังเอาตัวอย่างที่เป็นบวก ไปทำ whole genome sequencing (การหาลำดับพันธุกรรมทั้งหมดของจีโนมไวรัส) เพื่อใช้ติดตามการระบาดว่าจากคนไหนสู่คนไหน และศึกษาการกลายพันธุ์ของเชื้อโรค (ความเห็นผม : เราไม่จำเป็นขนาดนั้นต้องทำหรอก แต่น่าจะมีหลายมหาวิทยาลัยเลย ที่อาจจะอยากทำ เพื่อการศึกษาวิจัยได้นะครับ)
- จำนวนเคสติดเชื้อในมหาวิทยาลัยไม่ใช่เรื่องใหญ่ แต่ต้องต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของทั้งประเทศให้มากที่สุด และไม่ให้การแพร่ระบาดต่อๆ กันในมหาวิทยาลัย ต้องหยุดได้ก่อนที่จะบานปลาย (ความเห็นผม : จะเห็นว่าต่างกันมากกับของไทย ที่ผู้บริหารกลัวว่าจะมีชื่อเป็นหน่วยงานที่มีผู้ติดเชื้อปรากฏอยู่ จึงไม่ยอมเปิดการเรียนการสอน เพราะกลัวว่าจะมีข่าวไม่ดีออกไป)
- การที่ ม. Duke เคยมีจำนวนเคสสูงกว่ามหาวิทยาลัยอื่น ก็เพราะทำการตรวจเยอะกว่ามหาลัยอื่นมากๆ
--------
(จาก https://www.facebook.com/100001435461282/posts/4656558651068604/)
วันนี้ได้ไปฟังอาจารย์ที่ภาคพูดสัมมนาเรื่องมาตราการรับมือโควิดของมหาลัย ก่อนหน้านี้เคยได้ยินมาว่า Duke นี่เป็นมหาลัยที่ควบคุมสถานการณ์โควิดได้ดีที่สุดในสหรัฐฯ มหาลัยหนึ่งเลย ก็เป็นอะไรที่น่าสนใจว่า มหาลัยได้ทำอะไรไปบ้าง
จากประสบการณ์ที่พบเองกับตัว มหาลัยนั้นทำการสุ่มตรวจถี่มาก ในปีการศึกษาที่ผ่านมา โดนบังคับไปตรวจอาทิตย์ละหนึ่งครั้ง บางอาทิตย์ (ช่วงใกล้ ๆ เปิดเทอม) โดนตรวจสองหรือสามครั้ง (เทคนิคที่ใช้ตรวจคือ PCR ด้วย ไม่ใช่ ATK) เท่าที่ได้ยินมา แทบไม่มีมหาลัยไหนเลย ที่ตรวจถี่ขนาดนี้
ตอนแรกก็คิดว่าที่ตรวจถี่ เพราะจะได้แยกตัวคนที่ติดเชื้อออกมาเร็ว ๆ ไม่ปล่อยให้ไปแพร่ต่อ แต่จากที่ฟังสัมมนาในวันนี้ ก็ได้รู้ว่า ในทุก positive case นั้น มหาลัยได้เอาตัวอย่างไปทำ whole genome sequencing ด้วย ซึ่งข้อมูลที่ได้ ก็มีทั้งก็เอามาใช้ประโยชน์ในระยะสั้น และระยะยาว
ประโยชน์ระยะสั้น ก็เช่น เอามาไล่ตามว่าการระบาด เกิดจากที่ไหน สมมติว่ามีนักเรียนสองคน เรียนในห้องเดียวกัน แล้วติดโควิด ถ้าข้อมูลดีเอ็นเอในไวรัสของนักเรียนทั้งสองคนนั้นใกล้ชิดกันมาก ก็มีโอกาสสูงที่จะมาจากการแพร่เชื้อในห้องเรียน (นั่นหมายความว่านักเรียนคนอื่นในห้อง ก็จะเป็นกลุ่มเสี่ยงไปด้วย) แต่ถ้าข้อมูลดีเอ็นเอนั้นต่างกันพอสมควร ก็เป็นไปได้ที่ว่านักเรียนทั้งสองคน ไปติดเชื้อมาจากที่อื่น แล้วค่อยมาอยู่ในห้องเรียนเดียวกัน ถึงแม้จะไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด แต่ก็สามารถบอกถึงแนวโน้ม และใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจได้
เคยมีเหตุการณ์ครั้งหนึ่งเมื่อหลายเดือนที่แล้ว ที่จู่ ๆ ก็มีเคสจำนวนมาก ที่ข้อมูลจีโนมไวรัสของแต่ละคนนั้น เกือบจะเหมือนกันเลย ซึ่งก็สามารถตามสืบเรื่องไปได้ว่า เกิดจากการจัดปาร์ตี้แล้วไม่มีการใส่หน้ากาก จำได้ว่าตอนนั้นเป็นแค่ครั้งเดียวที่มหาลัยสั่งยกเลิกการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวไปอาทิตย์นึง เพื่อให้สถานการณ์คลี่คลาย
ประโยชน์ระยะยาว ก็เช่น การเก็บข้อมูลพื้นฐานของการวิวัฒนาการไวรัส การมีข้อมูลจากทั้งจีโนม ทำให้เราสามารถไล่ตามได้ว่า มีความเปลี่ยนแปลงอะไรเกิดขึ้นในตัวไวรัสได้บ้าง ทั้งส่วนของ spike protein ที่เราเอามาทำวัคซีน และส่วนอื่น ๆ ของตัวไวรัส ที่อาจจะมีหน้าที่สำคัญอย่างอื่นที่เราไม่รู้ และในอนาคต จะกลายพันธุ์เป็นอะไรก็ไม่รู้ ซึ่งข้อมูลที่มหาลัยได้มา ก็สามารถเอาไปรวมกับของสถาบันวิจัยอื่น ๆ และใช้ในการวางแผนป้องกันไวรัสชนิดใหม่ในระยะยาวได้
และถึงแม้ในปัจจุบัน เกือบทุกคนในมหาลัยจะฉีดวัคซีนแล้ว แต่ก็ยังมีการสุ่มตรวจอย่างเข้มข้นต่อไปเรื่อย ๆ (Duke อาจจะเป็นเพียงมหาลัยเดียวในประเทศ ที่ยังทำแบบนี้อยู่) ซึ่งการทำแบบนี้ สามารถช่วยให้ข้อมูลได้ว่า ไวรัสสายพันธุ์เดลตา มีการแพร่ระบาดอย่างไร ในคนที่ฉีดวัคซีนแล้ว และการแพร่ระบาด เกิดจากในห้องเรียน (ที่ทุกคนต้องใส่หน้ากาก) หรือเกิดตอนที่คนมานั่งกินข้าวด้วยกัน (ซึ่งก็ต้องถอดหน้ากาก) หรือในสถาการณ์อื่น ๆ การที่มีข้อมูลเหล่านี้พร้อมอยู่ในมือ ทำให้มหาลัยสามารถปรับเปลี่ยนมาตราการได้ตลอดเวลา ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อทำให้มั่นใจได้ว่า ทุกคนจะปลอดภัย
และ ในขณะเดียวกัน ก็สามารถใช้ชีวิตได้ปกติมากที่สุด
ด้วยข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ก็ทำให้มหาลัยสามารถบอกได้ว่า ถึงแม้จำนวนเคสในประเทศจะยังค่อนข้างสูง แต่ด้วยมาตราการของมหาวิทยาลัย จำนวนผู้ติดเชื้อในหมู่นักเรียนและบุคลากรนั้นต่ำกว่าค่าเฉลี่ยประเทศมาก และถึงแม้ปัจจุบันจะเปิดการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวเต็มที่ แต่การที่ทุกคนฉีดวัคซีน และสวมใส่หน้ากากในห้องเรียน ทำให้ไม่มีเหตุการณ์แพร่ระบาดในมหาวิทยาลัยเลย หรือต่อให้มีการแพร่ระบาดเริ่มเกิดขึ้นในอนาคต ก็มีโอกาสสูงที่จะตรวจเจอตั้งแต่เนิ่น ๆ และสามารถหยุดได้ ก่อนที่จะบานปลาย
มีอยู่ช่วงหนึ่งที่ Duke โดนเพ่งเล็งว่า มีจำนวนเคสสูงกว่ามหาลัยอื่น แต่เมื่อมาดูตัวเลขจริง ๆ แล้ว พบว่าที่มีเคสเยอะนั้น เพราะ Duke ทำการตรวจเยอะกว่ามหาลัยอื่นมาก ๆ ก็จริงที่ตรวจเยอะ ก็เจอเคสเยอะ และอาจจะทำให้ภาพลักษณ์ดูไม่ดี แต่ก็แลกกับการที่มีข้อมูลอันแม่นยำ และสามารถรับมือกับปัญหาได้อย่างเหมาะสม
เป็นการวางนโยบายโดยอิงจากข้อมูล ไม่ได้ขี้กลัวเกินเหตุและห้ามกิจกรรมทุกอย่าง แต่ก็ไม่ปล่อยปะละเลย จนเกิดการแพร่ระบาด
ชีวิตใน Duke ทุกวันนี้ นอกเหนือจากการโดนสุ่มตรวจ และต้องใส่หน้ากากในอาคาร ทุกอย่างเกือบจะเป็นปกติเลย ซึ่งก็ถือว่าโอเคมาก ๆ แล้ว เมื่อเทียบกับสถานการณ์ในโลกปัจจุบัน
หลายคนอาจจะบอกว่า ใช่สิ ที่อเมริกา มีวัคซีนเหลือเฟือ และ Duke ก็เป็นมหาวิทยาลัยที่รวยมาก ๆ ซึ่งผมไม่เถียงเลย 5555 แต่นอกเหนือจากปัจจัยสองอย่างนี้ ประเด็นเรื่องการวางแผน การใช้ข้อมูลจริง มาช่วยกำหนดนโยบาย เป็นอะไรที่มหาวิทยาลัย หรือประเทศอื่น ๆ สามารถทำได้ไม่ยาก
แต่ก็นะ ปัญหาสำหรับบางที่อาจจะไม่ใช่ว่าเราไม่รู้ว่าควรจะต้องทำอะไร แต่เป็นเพราะคนมีอำนาจไม่อยากทำในสิ่งที่ควรทำต่างหาก
ภาพประกอบจาก https://today.duke.edu/2020/08/what-dukes-first-day-classes-2020-looks
protein sequencing 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 八卦
【mRNA疫苗臨床試驗95%有效! mRNA疫苗會是COVID-19的救世主嗎?】:發表在新英格蘭醫學期刊(NEJM)上的兩篇論文提到【註1】,兩個mRNA疫苗臨床研究分別收案3萬多人與4萬多人,在打完疫苗之後的兩個月追蹤當中,施打疫苗讓COVID-19感染率減少了95%!【註3】
在本文開始前,在此先簡述說明一下「分子生物學的中心法則」,建立對DNA、RNA、mRNA的基礎認識。
■分子生物學的中心法則 (central dogma)(圖1)
用最簡單最直接的方式來描述的話,生物體的遺傳訊息是儲存在細胞核的DNA中,每次細胞分裂時,DNA可以複製自己 (replication),因而確保每一代的細胞都帶有同樣數量的DNA。
而當細胞需要表現某個基因時,會將DNA的訊息轉錄 (transcribe) 到RNA上頭,再由RNA轉譯 (translate) 到蛋白質,而由蛋白質執行身體所需要的功能。這也就是所謂的分子生物學的中心法則 (central dogma)。
對於最終會製造成蛋白質的基因來說,RNA是扮演了中繼的角色,也就是說遺傳訊息本來儲存在 DNA 上頭,然後經過信使 RNA (messenger RNA, mRNA) 的接棒,最後在把這個訊息傳下去,製造出蛋白質。【註4】
■冠狀病毒的基因組由RNA構成
RNA不如DNA穩定,複製過程容易出錯,因此一般RNA病毒的基因組都不大。但冠狀病毒鶴立雞群,基因組幾乎是其他RNA病毒的三倍長,是所有RNA病毒中最大、最複雜的種類。
冠狀病毒還能以重組RNA的方式,相當頻繁地產生變異,但是基因組中位在最前端的RNA序列相對穩定,因為其中有掌控病毒蛋白酶與RNA聚合酶的基因,一旦發生變異,冠狀病毒很可能無法繼續繁衍。
目前抗病毒藥物的研發策略之一,正是設法抑制病毒RNA複製酶(RdRp)。而最前端的RNA序列也是現階段以反轉錄聚合酶連鎖反應(RT-PCR)檢驗新冠病毒時鎖定的目標。中央研究院院士賴明詔表示,不同病毒的核酸序列當中還是有各自的獨特變異,正好用來區分是哪一種冠狀病毒。【註5】
■SARS-CoV-2是具有3萬個鹼基的RNA病毒
中國科學院的《國家科學評論》(National Science Review)期刊【註2】,2020年3月發表《關於SARS-CoV-2的起源和持續進化》論文指出,現已發生149個突變點,並演化出L、S亞型。
病毒會變異的原因可略分成兩種:
▶一是「自然演變」
冠狀病毒是RNA病毒,複製精準度不如DNA病毒精準度高,只要出現複製誤差,就是變異。
▶二是「演化壓力」
當病毒遇到抗體攻擊,就會想辦法朝有抗藥性的方向演變,找出生存之道。【註6】
■mRNA 疫苗是一種新型預防傳染病的疫苗
近期,美國莫德納生物技術公司(Moderna)與輝瑞公司(Pfizer),皆相繼宣布其COVID-19 mRNA疫苗的研究成果。
莫德納公司在2020年11月30日宣布他們的mRNA-1273疫苗在三期臨床試驗達到94.1%(p<0.0001)的超高保護力,受試者中約四成為高風險族群(患糖尿病或心臟病等),7000人為高齡族群(65歲以上),另也包含拉丁裔與非裔族群(報告中未提到亞洲裔)。
傳統大藥廠輝瑞公司,亦在美國時間11月18日發佈令人振奮的新聞稿:他們的RNA疫苗(BNT162b2)三期臨床試驗已達設定終點,保護力高達95%(p<0.0001)。該試驗包含了4萬名受試者,其中約有四成受試者為中高齡族群(56~85歲),而亞洲裔受試者約占5%。
■mRNA疫苗為什麼可以對抗病毒?
為什麼mRNA疫苗會有用?就讓我們先從疫苗的原理「讓白血球以為有外來入侵者談起」。
在過往,疫苗策略大致上可分為兩種:
● 將病毒的屍體直接送入人體,如最早的天花疫苗(牛痘,cowpox)、小兒麻痺疫苗(沙克疫苗,polio vaccines)、肺結核疫苗(卡介苗,Bacillus Calmette-Guérin, BCG)以及流感疫苗等。
✎補正
卡介苗 BCG(Bacillus Calmette-Guerin vaccine) :卡介苗是一種牛的分枝桿菌所製成的活性疫苗,經減毒後注入人體,可產生對結核病的抵抗力,一般對初期症候的預防效果約85%,主要可避免造成結核性腦膜炎等嚴重併發症。
▶以流感疫苗為例,科學家通常先讓病毒在雞胚胎大量繁殖後,再將其殺死,也有部分藥廠會再去除病毒屍體上的外套膜(envelope),進一步降低疫苗對人體可能產生的副作用後,再製成疫苗。
● 將病毒的蛋白質面具,裝在另一隻無害的病毒上再送入人體,如伊波拉病毒(Ebola virus disease, EVD)疫苗等。
▶以伊波拉病毒疫苗為例,科學家會剪下伊波拉病毒特定的醣蛋白(glycoproteins)基因,置換入砲彈病毒(Rhabdoviridae)的基因組中,使砲彈病毒長出伊波拉病毒的醣蛋白面具。
上述例子都是將致命病毒的部分殘肢送入人體,當病毒被樹突細胞(dendritic cells)或巨噬細胞(macrophages)等抗原呈現細胞(antigen-presenting cell, APC)吃掉後,再由細胞將病毒殘肢吐出給其他白血球,進而活化整個免疫系統,然而,mRNA疫苗採取了更奇詭的路數 - 「讓人體細胞自己生產病毒殘肢!」
■mRNA 疫苗設計原理(圖2)
將人工設計好可轉譯出病毒蛋白質片段的mRNA,包裹於奈米脂質顆粒中,送入淋巴結組織內,奈米脂質顆粒會在細胞中釋出RNA,使人體細胞能自行產出病毒蛋白質片段,呈現給其他白血球,活化整個免疫系統。
■mRNA疫苗設計流程(圖3)
1「科學家獲得病毒的全基因序列」
因社群媒體的發達、公衛專家、病毒研究者以及期刊編輯的努力,這次的COVID-19病毒序列很快的被發表;中國北京疾病管制局的研究團隊,挑選了九位患者,其中有八位,都有前往華南海鮮市場的病史,並從這些患者採取了呼吸道分泌物的檢體,運用次世代定序 (NGS,Next Generation Sequencing) 的方式,拼湊出新型冠狀病毒全部與部分的基因序列。並陸續將這些序列資料,提供給全世界的病毒研究者交互確認,修正序列的錯誤。
2「解析病毒基因群裡所有的功能,選定目標蛋白質(Covid-19病毒棘蛋白質)」
以冠狀病毒為例,通常會選病毒表面的棘狀蛋白(spike protein)。因為棘蛋白分布於病毒表面,可作為白血球的辨識目標,同時病毒需透過棘蛋白和人體細胞受體(receptor)結合,進而撬開人體細胞,因此以病毒繁殖的策略而言,此處的蛋白質結構較穩定。
3「製造要送入人體的mRNA,挑選出會製造棘蛋白的mRNA進行修飾」
挑選會轉譯(translation)出目標蛋白質的mRNA,並進行各項修飾,以提高該人工mRNA在細胞裡被轉譯成蛋白質的效率。如:輝瑞的mRNA疫苗(BNT162b1)選用甲基化(methylation)後的偽尿嘧啶(1-methyl-pseudouridine)取代mRNA裡的原始尿嘧啶(uracil, U),有助於提升mRNA的穩定性,並提高mRNA被轉譯成病毒棘蛋白的效率。
4「將人工mRNA裹入特殊載體,將mRNA包裹入特殊載體顆粒中」
因為mRNA相當脆弱且容易被分解,因此需要對載體進行包裹和保護。然而,有了載體後,接踵而來的問題是「該怎麼送到正確的位置(淋巴結)?」。而輝瑞和莫德納不約而同地都選用了奈米脂質顆粒(lipid nanoparticles)包裹mRNA載體,奈米脂質顆粒通常由帶電荷的脂質(lipid)、膽固醇(cholesterol)或聚乙二醇(polyethylene glycol, PEG)修飾過的脂質等組成,可以保護RNA,並將mRNA送到抗原呈現細胞豐富的淋巴結組織。
5「包覆mRNA的奈米脂質顆粒,注射在肌肉組織」
使其能循環到淋巴結,被淋巴結中的細胞吃掉。奈米脂質顆粒釋放出mRNA,使細胞產出病毒蛋白質片段,進而呈現給其他白血球並活化整個免疫系統。【註7】
mRNA可將特定蛋白質的製造指示送至細胞核糖體(ribosomes)進行生產。mRNA 疫苗會將能製造新冠病毒棘狀蛋白的 mRNA 送至人體內,並不斷製造棘狀蛋白,藉此驅動免疫系統攻擊與記憶此類病毒蛋白,增加人體對新冠病毒的免疫力,最終 mRNA 將被細胞捨棄。
值得注意的是,由於 mRNA 疫苗並無攜帶所有能製造新冠病毒的核酸(nucleic acid),且不會進入人體細胞核,所以施打疫苗無法使人感染新冠病毒。
Pfizer、BioNTech 研發的 BNT162b2 是美國第 1 個取得 EUA 的 mRNA 疫苗,施打對象除成年人,還包含 16 歲以上非成年人。且相比 Moderna 製造的 mRNA-1273 疫苗,患者施打第 2 劑 BNT162b2 的副作用較輕微。
Moderna 也不遑多讓,mRNA-1273 於 2020 年 12 月中取得 EUA,且具備在 -20°C 儲存超過 30 天的優勢。在臨床試驗中,使用 mRNA-1273 的 196 位受試者皆無演變成重度 COVID-19,相較安慰劑組中卻有 30 人最終被標為重度 COVID-19 患者。【註8】
為了觸發免疫反應,許多疫苗會將一種減弱或滅活的細菌注入我們體內。mRNA疫苗並非如此。相反,該疫苗教會我們的細胞如何製造出一種蛋白質,甚至一種蛋白質片段,從而觸發我們體內的免疫反應。如果真正的病毒進入我們的身體,這種產生抗體的免疫反應可以保護我們免受感染。【註9】
【Reference】
▶DNA的英文全名是Deoxyribonucleic acid,中文翻譯為【去氧核糖核酸】
▶RNA 的英文全名是 Ribonucleic acid,中文翻譯為【核糖核酸】。
1.來源
➤➤資料
∎【註1】
Baden LR, El Sahly HM, Essink B, et al. Efficacy and Safety of the mRNA-1273 SARS-CoV-2 Vaccine. N Engl J Med. 2020 Dec 30:NEJMoa2035389. doi: 10.1056/NEJMoa2035389. Epub ahead of print. PMID: 33378609; PMCID: PMC7787219.
https://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa2035389
Polack FP, Thomas SJ, Kitchin N, et al. Safety and Efficacy of the BNT162b2 mRNA Covid-19 Vaccine. N Engl J Med. 2020 Dec 31;383(27):2603-2615. doi: 10.1056/NEJMoa2034577. Epub 2020 Dec 10. PMID: 33301246; PMCID: PMC7745181.
https://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa2034577
∎【註2】
Xiaoman Wei, Xiang Li, Jie Cui, Evolutionary perspectives on novel coronaviruses identified in pneumonia cases in China, National Science Review, Volume 7, Issue 2, February 2020, Pages 239–242, https://doi.org/10.1093/nsr/nwaa009
∎【註3】
▶蘇一峰 醫師:https://www.facebook.com/bsbipoke
▶中時新聞網 「mRNA疫苗臨床試驗95%有效 醫:哪國搶到就能結束比賽」:
https://www.chinatimes.com/realtimenews/20210104004141-260405?chdtv
∎【註4】
( 台大醫院 National Taiwan University Hospital-基因分子診斷實驗室)「DNA、RNA 以及蛋白質」:https://www.ntuh.gov.tw/gene-lab-mollab/Fpage.action?muid=4034&fid=3852
∎【註5】
《科學人》粉絲團 - 「新冠病毒知多少?」:https://sa.ylib.com/MagArticle.aspx?id=4665
∎【註6】
(報導者 The Reporter)【肺炎疫情關鍵問答】科學解惑 - 10個「為什麼」,看懂COVID-19病毒特性與防疫策略:https://www.twreporter.org/a/covid-19-ten-facts-ver-2
∎【註7】
科學月刊 Science Monthly - 「讓免疫系統再次偉大!mRNA疫苗會是COVID-19的救世主嗎?」:https://www.scimonth.com.tw/tw/article/show.aspx?num=4823&page=1
∎【註8】
GeneOnline 基因線上 「4 大 COVID-19 疫苗大解密!」 :https://geneonline.news/index.php/2021/01/04/4-covid-vaccine/
∎【註9】
(CDC)了解mRNA COVID-19疫苗
https://chinese.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/vaccines/different-vaccines/mrna.html
➤➤照片
∎【註4】:
圖1、分子生物學中心法則
∎【註7】:
圖2:mRNA 疫苗設計原理
圖3:mRNA 疫苗設計流程圖
2. 【國衛院論壇出版品 免費閱覽】
▶國家衛生研究院論壇出版品-電子書(PDF)-線上閱覽:
https://forum.nhri.org.tw/publications/
3. 【國衛院論壇學術活動】
▶https://forum.nhri.org.tw/events/
#國家衛生研究院 #國衛院 #國家衛生研究院論壇 #國衛院論壇 #衛生福利部 #疾病管制署 #COVID-19 #mRNA疫苗 #新英格蘭醫學醫學期刊 #NEJM
衛生福利部 / 疾病管制署 - 1922防疫達人 / 財團法人國家衛生研究院 / 國家衛生研究院-論壇