【像變形金剛的──醣類!】
醣類分子看似單純,卻能彼此排列組合,變化出像是柯博文、大黃蜂、 密卡登等等不同結構,對應不同生化反應。
如何知道它們是用哪些零件組裝?這些零件如何合體?就要靠「質譜儀」來拆解!
http://research.sinica.edu.tw/ni-chi-kung-carbohydrate-mass-spectrometry/
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過62萬的網紅Bryan Wee,也在其Youtube影片中提到,...
「mass spectrometry」的推薦目錄:
- 關於mass spectrometry 在 研之有物 Facebook
- 關於mass spectrometry 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook
- 關於mass spectrometry 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook
- 關於mass spectrometry 在 Bryan Wee Youtube
- 關於mass spectrometry 在 Travel Thirsty Youtube
- 關於mass spectrometry 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube
mass spectrometry 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 八卦
สรุปความรู้เรื่อง "ขวด PET บรรจุน้ำดื่ม : ไม่ได้อันตราย ตากแดดได้ แต่ไม่ควรเอามาใช้ซ้ำบ่อยๆ"
เมื่อวันศุกร์ สถานี thai PBS มาสัมภาษณ์เกี่ยวกับขวดน้ำพลาสติกแบบขวด PET ในประเด็นข่าวลือมั่ว เก่าๆ ที่ว่า "ขวดน้ำตากแดด จะทำให้เกิดสารอันตรายขึ้น" ซึ่งไม่เป็นความจริงแต่อย่างไร
วันนี้ ก็เลยเอาข้อมูลเก่ามาเรียบเรียงใหม่ให้อ่านกัน แบบครบทุกประเด็นนะครับ
1. ขวดพลาสติกที่ใช้บรรจุน้ำดื่มจำหน่ายในประเทศไทยนั้น มักจะมี 2 แบบคือ ขวดสีขาวขุ่นและขวดใสไม่มีสี โดยพวกขวดขุ่นนั้น จะทำจากพลาสติกชนิดโพลีเอทีลีน (PE หรือ polyethylene หรือ PE) ส่วนขวดใส จะทำจากพลาสติกชนิดโพลีเอธิลีน เทเรพธาเลต (polyethylene terephthalate หรือ PET) ซึ่งพบว่า ปัจจุบัน พวกขวด PET จะเป็นที่นิยมใช้มากกว่าขวด PE
2. ขวด PET ที่นิยมใช้เป็นขวดใสใส่น้ำดื่มหรือเครื่องดื่มต่างๆ นั้น ถูกผลิตมาให้เป็นขวดที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง แต่สามารถนำมากลับมารีไซเคิ้ลได้ โดยเมื่อดูที่ก้นขวด มักจะเห็นเครื่องหมายลูกศร วนเป็นสามเหลี่ยมนั่น มีเลข 1 อยู่ตรงกลาง หมายถึงบรรจุภัณฑ์พลาสติกนั้นเป็นชนิด PET
3. ความที่มีหลายคนนิยมเก็บขวดน้ำดื่มเอาไว้ในรถ ซึ่งบางครั้งต้องไปจอดตากแดดทั้งวันจนมีอากาศร้อนจัด ทำให้เกิดข่าวลือข่าวมั่วทำนองที่ว่า อุณหภูมิที่สูงมากในรถจะทำให้สารเคมีที่อยู่ในขวดพลาสติกออกมาปนเปื้อนในน้ำ เช่น สาร BPA และเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ส่งผลต่อความผิดปรกติของพันธุกรรม เป็นโรคมะเร็งได้
4. สาร BPA (หรือ bisphenal A) นั้น แม้ว่าจะเป็นสารที่มีลักษณะคล้ายฮอร์โมนเพศ และมีความกังวลกันว่าอาจจะเกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ถ้าได้รับเข้าไปมาก แต่ความจริงแล้ว มันไม่ได้เป็นองค์ประกอบของพลาสติกที่มาทำเป็นขวด PET แต่อย่างไร ... สาร BPA นี้ ส่วนมากใช้ยารอยต่อของโลหะของกระป๋องอาหาร และใช้ผลิตพลาสติกพวกโพลีคาร์บอเนต (polycarbonate หรือ PC) และเคยนำมาใช้ในการผลิตเป็นขวดนมเด็กทารก แต่ปัจจุบันได้มีการรณรงค์ให้ยกเลิกการใช้ผลิตภาชนะสำหรับเด็กทารกไปแล้ว
5.1 นอกจากสาร BPA ก็ยังมีสารเคมีตัวอื่นที่แชร์กันว่าออกมาจากขวด PET อีกเช่น สารไดออกซิน (dionxin) และสารพีซีบี PCB ดังนั้นโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ทำการทดลองนำน้ำดื่มที่บรรจุในขวดพลาสติกที่จําหน่ายในตลาดสดและซุปเปอร์มาเก็ต จํานวน 18 ยี่ห้อ ไปวางในรถที่จอดกลางแดดเป็นเวลา 1 วัน และ 7 วัน
5.2 จากนั้นตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่ม Dionxin จํานวน 17 ตัว และ PCB จํานวน 18 ตัว โดยใช้เทคนิคขั้นสูง Isotope Dilution และวัดปริมาณด้วยเครื่องมือ High Resolution Gas Chromatography/High Resolution Mass Spectrometry ... ผลการวิเคราะห์สรุปว่า ตรวจไม่พบ สารประกอบกลุ่ม Dionxin และ PCB ในทุกตัวอย่างน้ำดื่มบรรจุขวด (ดู https://www.hiso.or.th/hiso5/healthy/news.php?names=08&news_id=5429)
6. จริงๆ แล้ว สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของขวด PET และอาจจะมีออกมาจากพลาสติกชนิดนี้ได้นั้น ก็มีอยู่บ้าง ตัวอย่างเช่น สารอะซิทอลดีไฮด์ (acetaldehyde) แต่มีปริมาณน้อยมาก และไม่น่าจะเป็นกังวล โดยสารอะซิทอลดีไฮด์นี้ แค่อาจจะทำให้น้ำเปล่าในขวดมีกลิ่นที่ไม่น่าดื่ม (ดู https://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate)
7. สารอีก 2 ตัว ที่มีคนกังวลเช่นกันว่าอาจจะปนเปื้อนมาในน้ำดื่มได้ เมื่อขวดนั้นถูกตากแดดทิ้งไว้ โดนความร้อนเป็นเวลายาวนาน คือ สารธาเลต (phthalate) และสาร พลวง (antimony) ... แต่จากงานวิจัยในอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 2012 พบว่า ถ้าจะให้ระดับของสารเหล่านี้ละลายออกมาอยู่ในน้ำดื่มบรรจุขวด จนเกินมาตรฐานที่อียูกำหนดไว้นั้น ขวดน้ำดังกล่าวจะต้องตั้งไว้ในที่อุณหภูมิสูงเกิน 60 องศาเซลเซียส นานเป็นเวลาเกิน 11 เดือน (ดูรายละเอียด https://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate#Safety)
8. ในประเทศไทยนั้น มาตรฐานของขวด PET ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดไว้ ระบุว่าต้องทนต่อความร้อนจัดตั้งแต่ 60 ถึง 95 องศาเซลเซียสได้ โดยเคยมีการสุ่มตรวจขวดน้ำ PET กว่า 10 บริษัท และพบว่า ปริมาณของสารต่างๆ ที่ละลายออกมานั้น ไม่ได้สูงเกินมาตรฐาน (http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/webroot/BQSF/File/VARITY/recycle_plastic.htm)
9. อย่างไรก็ตาม จากการที่ขวด PET ถูกออกแบบมาให้ใช้เพียงแค่ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ดังนั้น การที่บางคนนิยมนำมาใส่น้ำบริโภคซ้ำๆ หลายครั้ง ทางกระทรวงสาธารณสุขไม่แนะนำให้ทำตาม ซึ่งเหตุผลไม่ใช่การกลัวว่าจะมีสารเคมีละลายออกมาจากการใช้ขวดซ้ำ แต่เป็นเพราะว่าอาจจะมีเชื้อโรคและสิ่งสกปรกต่างๆ ตกค้าง ถ้าล้างทำความสะอาดไม่ดีพอก่อนที่จะใส่น้ำลงไปใหม่ (โดยเฉพาะบริเวณปากขวดนั้น ถ้าล้างไม่สะอาด อาจกลายเป็นที่สะสมเชื้อโรคได้)
10. บางคนบอกว่า เก็บขวดน้ำดื่มที่ดื่มแล้วบางส่วน ไว้ในรถที่จอดตากแดด เมื่อกลับมาดื่มใหม่วันหลัง พบว่ามีกลิ่นเหม็นเกิดขึ้นในน้ำ เป็นกลิ่นจากสารเคมีออกมาหรือเปล่า ? คำตอบคือไม่ใช่ แต่เป็นกลิ่นที่เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ในช่องปากของเรา ปนลงไปอยู่ในน้ำ และเจริญเติบโตพร้อมกับสร้างกลิ่นขึ้น พูดง่ายๆก็คือกลิ่นปากเรานั้นเอง 55
สรุป : น้ำดื่มที่บรรจุขวด PET และเก็บในรถที่จอดตากแดดนั้น ไม่ได้อันตราย ไม่ได้มีสารก่อมะเร็งปนเปื้อน ตัวของขวด
PET เอง ก็สามารถเก็บน้ำดื่มไว้ได้นานถ้ายังไม่ได้เปิดขวด (แต่ก็ควรจัดเก็บในที่ที่ไม่ร้อน ไม่ใช่เอาไปตากแดดไว้เวลาหลายเดือน) และถ้าไม่จำเป็น ก็ไม่ควรเอามาใช้ซ้ำครับ
ภาพ จาก https://sure.oryor.com/index.php/detail/media_specify/636
mass spectrometry 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 八卦
รายการ #ชัวร์แน่หรือแชร์มั่ว EP. 19 "ไม่ควรดื่มน้ำจากขวดที่ตากแดด จริงหรือ ? "
มีข่าวลือว่า "ขวดน้ำตากแดด จะทำให้เกิดสารอันตรายขึ้น" เป็นเรื่องจริง หรือเรื่องมั่ว ?? คำตอบคือ เป็นเรื่องมั่วครับ !!
1. ขวดพลาสติกที่ใช้บรรจุน้ำดื่มจำหน่ายในประเทศไทยนั้น มักจะมี 2 แบบคือ ขวดสีขาวขุ่นและขวดใสไม่มีสี โดยพวกขวดขุ่นนั้น จะทำจากพลาสติกชนิดโพลีเอทีลีน (PE หรือ polyethylene หรือ PE) ส่วนขวดใส จะทำจากพลาสติกชนิดโพลีเอธิลีน เทเรพธาเลต (polyethylene terephthalate หรือ PET) ซึ่งพบว่า ปัจจุบัน พวกขวด PET จะเป็นที่นิยมใช้มากกว่าขวด PE
2. ขวด PET ที่นิยมใช้เป็นขวดใสใส่น้ำดื่มหรือเครื่องดื่มต่างๆ นั้น ถูกผลิตมาให้เป็นขวดที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง แต่สามารถนำมากลับมารีไซเคิ้ลได้ โดยเมื่อดูที่ก้นขวด มักจะเห็นเครื่องหมายลูกศร วนเป็นสามเหลี่ยมนั่น มีเลข 1 อยู่ตรงกลาง หมายถึงบรรจุภัณฑ์พลาสติกนั้นเป็นชนิด PET
3. ความที่มีหลายคนนิยมเก็บขวดน้ำดื่มเอาไว้ในรถ ซึ่งบางครั้งต้องไปจอดตากแดดทั้งวันจนมีอากาศร้อนจัด ทำให้เกิดข่าวลือข่าวมั่วทำนองที่ว่า อุณหภูมิที่สูงมากในรถจะทำให้สารเคมีที่อยู่ในขวดพลาสติกออกมาปนเปื้อนในน้ำ เช่น สาร BPA และเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ส่งผลต่อความผิดปรกติของพันธุกรรม เป็นโรคมะเร็งได้
4. สาร BPA (หรือ bisphenal A) นั้น แม้ว่าจะเป็นสารที่มีลักษณะคล้ายฮอร์โมนเพศ และมีความกังวลกันว่าอาจจะเกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ถ้าได้รับเข้าไปมาก แต่ความจริงแล้ว มันไม่ได้เป็นองค์ประกอบของพลาสติกที่มาทำเป็นขวด PET แต่อย่างไร ... สาร BPA นี้ ส่วนมากใช้ยารอยต่อของโลหะของกระป๋องอาหาร และใช้ผลิตพลาสติกพวกโพลีคาร์บอเนต (polycarbonate หรือ PC) และเคยนำมาใช้ในการผลิตเป็นขวดนมเด็กทารก แต่ปัจจุบันได้มีการรณรงค์ให้ยกเลิกการใช้ผลิตภาชนะสำหรับเด็กทารกไปแล้ว
5.1 นอกจากสาร BPA ก็ยังมีสารเคมีตัวอื่นที่แชร์กันว่าออกมาจากขวด PET อีกเช่น สารไดออกซิน (dionxin) และสารพีซีบี PCB ดังนั้นโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ทำการทดลองนำน้ำดื่มที่บรรจุในขวดพลาสติกที่จําหน่ายในตลาดสดและซุปเปอร์มาเก็ต จํานวน 18 ยี่ห้อ ไปวางในรถที่จอดกลางแดดเป็นเวลา 1 วัน และ 7 วัน
5.2 จากนั้นตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุ่ม Dionxin จํานวน 17 ตัว และ PCB จํานวน 18 ตัว โดยใช้เทคนิคขั้นสูง Isotope Dilution และวัดปริมาณด้วยเครื่องมือ High Resolution Gas Chromatography/High Resolution Mass Spectrometry ... ผลการวิเคราะห์สรุปว่า ตรวจไม่พบ สารประกอบกลุ่ม Dionxin และ PCB ในทุกตัวอย่างน้ำดื่มบรรจุขวด (ดู https://www.hiso.or.th/hiso5/healthy/news.php?names=08&news_id=5429)
6. จริงๆ แล้ว สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของขวด PET และอาจจะมีออกมาจากพลาสติกชนิดนี้ได้นั้น ก็มีอยู่บ้าง ตัวอย่างเช่น สารอะซิทอลดีไฮด์ (acetaldehyde) แต่มีปริมาณน้อยมาก และไม่น่าจะเป็นกังวล โดยสารอะซิทอลดีไฮด์นี้ แค่อาจจะทำให้น้ำเปล่าในขวดมีกลิ่นที่ไม่น่าดื่ม (ดู https://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate)
7. สารอีก 2 ตัว ที่มีคนกังวลเช่นกันว่าอาจจะปนเปื้อนมาในน้ำดื่มได้ เมื่อขวดนั้นถูกตากแดดทิ้งไว้ โดนความร้อนเป็นเวลายาวนาน คือ สารธาเลต (phthalate) และสาร พลวง (antimony) ... แต่จากงานวิจัยในอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 2012 พบว่า ถ้าจะให้ระดับของสารเหล่านี้ละลายออกมาอยู่ในน้ำดื่มบรรจุขวด จนเกินมาตรฐานที่อียูกำหนดไว้นั้น ขวดน้ำดังกล่าวจะต้องตั้งไว้ในที่อุณหภูมิสูงเกิน 60 องศาเซลเซียส นานเป็นเวลาเกิน 11 เดือน (ดูรายละเอียด https://en.wikipedia.org/wiki/Polyethylene_terephthalate#Safety)
8. ในประเทศไทยนั้น มาตรฐานของขวด PET ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดไว้ ระบุว่าต้องทนต่อความร้อนจัดตั้งแต่ 60 ถึง 95 องศาเซลเซียสได้ โดยเคยมีการสุ่มตรวจขวดน้ำ PET กว่า 10 บริษัท และพบว่า ปริมาณของสารต่างๆ ที่ละลายออกมานั้น ไม่ได้สูงเกินมาตรฐาน (http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/webroot/BQSF/File/VARITY/recycle_plastic.htm)
9. อย่างไรก็ตาม จากการที่ขวด PET ถูกออกแบบมาให้ใช้เพียงแค่ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ดังนั้น การที่บางคนนิยมนำมาใส่น้ำบริโภคซ้ำๆ หลายครั้ง ทางกระทรวงสาธารณสุขไม่แนะนำให้ทำตาม ซึ่งเหตุผลไม่ใช่การกลัวว่าจะมีสารเคมีละลายออกมาจากการใช้ขวดซ้ำ แต่เป็นเพราะว่าอาจจะมีเชื้อโรคและสิ่งสกปรกต่างๆ ตกค้าง ถ้าล้างทำความสะอาดไม่ดีพอก่อนที่จะใส่น้ำลงไปใหม่ (โดยเฉพาะบริเวณปากขวดนั้น ถ้าล้างไม่สะอาด อาจกลายเป็นที่สะสมเชื้อโรคได้)
10. บางคนบอกว่า เก็บขวดน้ำดื่มที่ดื่มแล้วบางส่วน ไว้ในรถที่จอดตากแดด เมื่อกลับมาดื่มใหม่วันหลัง พบว่ามีกลิ่นเหม็นเกิดขึ้นในน้ำ เป็นกลิ่นจากสารเคมีออกมาหรือเปล่า ? คำตอบคือไม่ใช่ แต่เป็นกลิ่นที่เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ในช่องปากของเรา ปนลงไปอยู่ในน้ำ และเจริญเติบโตพร้อมกับสร้างกลิ่นขึ้น พูดง่ายๆก็คือกลิ่นปากเรานั้นเอง 55
สรุป : น้ำดื่มที่บรรจุขวด PET และเก็บในรถที่จอดตากแดดนั้น ไม่ได้อันตราย ไม่ได้มีสารก่อมะเร็งปนเปื้อน ตัวของขวด
PET เอง ก็สามารถเก็บน้ำดื่มไว้ได้นานถ้ายังไม่ได้เปิดขวด (แต่ก็ควรจัดเก็บในที่ที่ไม่ร้อน ไม่ใช่เอาไปตากแดดไว้เวลาหลายเดือน) และถ้าไม่จำเป็น ก็ไม่ควรเอามาใช้ซ้ำครับ
mass spectrometry 在 Bryan Wee Youtube 的評價
mass spectrometry 在 Travel Thirsty Youtube 的評價
mass spectrometry 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube 的評價
mass spectrometry 在 What is Mass Spectrometry? | Broad Institute 的相關結果
Mass spectrometry is an analytical tool useful for measuring the mass-to-charge ratio (m/z) of one or more molecules present in a sample. ... <看更多>
mass spectrometry 在 Overview of Mass Spectrometry for Protein Analysis - Thermo ... 的相關結果
Mass spectrometry is a sensitive technique used to detect, identify and quantitate molecules based on their mass-to-charge (m/z) ratio. Originally developed ... ... <看更多>
mass spectrometry 在 質譜法- 維基百科,自由的百科全書 的相關結果
質譜(英語:mass spectrometry,縮寫:MS)是一種電離化學物質並根據其質荷比(質量-電荷比)對其進行排序的分析技術。簡單來說,質譜測量樣品內的質量。 ... <看更多>