ได้ความรู้ๆ
เคยสงสัยกันมั้ยว่า เอ๊!! ทำไมเวลาผัดกะเพราหมู ไก่ ต้องใช้พริกขี้หนูสดตำเป็นตัวชูโรงให้ความเผ็ด แต่พอเป็นกะเพราเนื้อ (วัว) จะให้เด็ดนั้นต้องเป็นพริกขี้หนูแห้งเท่านั้นที่จะทำให้เมนูนั้นมีความหอมฉุนเผ็ดสะใจวัยรุ่น (?) อย่างเรา ยิ่งถ้าทานกับข้าวสวยร้อนๆพร้อมพริกน้ำปลา และใบกะเพราแบบแกร็นๆ แล้วตัดความร้อนแรงด้วยไข่ดาวที่ทอดจนกรอบเหลืองขอบนอก แต่ไข่แดงสุกพอเป็นยางมะตูมด้วยแล้วนี่ อื้อหือ!! 😂😂
📕 อ้าว!! แล้วพริกแห้งนี่!! มันจะมีความแตกต่างของกลิ่นรสจากพริกขี้หนูสดเดิมๆขนาดนั้นเลยเรอะ!! หลายๆคนก็คงจะแอบสงสัยตรงนี้กันนะครับ ดังนั้นวันนี้แอดก็จะมาเล่าถึง #เกร็ดความรู้ที่ไม่จำเป็นต้องรู้ก็ได้ ถึงเรื่อง #วิทยาศาสตร์ของพริกแห้งและความเข้ากันได้ในเมนูผัดกะเพราเนื้อ (วัว) ให้ฟังกันนะครับ
📕 อันที่จริงการทำเมนูผัดกะเพราของเนื้อสัตว์ที่ค่อนข้างมีกลิ่นที่โดดเด่น เช่น เนื้อวัว เนื้อแกะ หรือเนื้อสัตว์เคี้ยวเอื้องอื่นๆ นั้นเมื่อนำมาทำอาหารมักจะมีกลิ่นสาบ (gamey odor) เกิดขึ้นมานะครับ ในขณะที่ถ้าเป็นเนื้อหมูและเนื้อไก่นั้นกลับมีกลิ่นสาบที่น้อยกว่ามาก (แต่แอดขอเว้นให้เนื้อเป็ดไปอีกอย่างนะครับ ทั้งๆที่มันก็ไม่ใช่สัตว์เคี้ยวเอื้องสักหน่อย!! แต่ลองอ่านไปถึงภาคผนวกดูนะครับ แล้วเดี๋ยวก็จะอ๋อ!! เองนะครับ)
📕 เมื่อเนื้อสัตว์ที่มีกลิ่นสาบขึ้นมานั้น การใช้เครื่องปรุงและเครื่องเทศที่มีกลิ่นเย้ายวนใจนั้นก็จะสามารถกลบเกลื่อนกลิ่นสาบของเนื้อสัตว์นั้นได้ ดังนั้นการใช้พริกแห้งมาโขลกรวมกับกระเทียมก็สามารถที่จะทำให้กะเพราเนื้อ (วัว) นั้นมีกลิ่นที่ชวนกินมากขึ้น
📕 มีการศึกษาถึงอิทธิพลของการทำแห้งของพริกหลายๆพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นงานวิจัยของฟากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ที่ทำการศึกษา “พริกชี้ฟ้าแห้ง” / หรืองานวิจัยของต่างประเทศที่ทำการศึกษาสารพัดพริกเผ็ดๆ อย่าง Hanabero, Bhut Jolokia และพริกเด่นๆในแต่ละฟากโลก ทั้งการตากแห้งด้วยแสงแดด (sun drying) และการอบแห้ง (oven drying) ว่าจะทำให้ได้กลิ่นรสต่างไปจากพริกสดอย่างไรบ้าง??
📕 ผลการศึกษาส่วนใหญ่นั้นให้ผลที่สอดคล้องกันว่า
👉 เมื่อนำพริกสดมาทำให้แห้งแล้ว จะสูญเสียน้ำหนักประมาณ 85-90% ดังนั้นความเผ็ดที่ได้ของพริกแห้งนั้นจะมีความเผ็ดต่อน้ำหนักสูงกว่าถึง 7-10 เท่า ซึ่งก็ไม่น่าแปลกใจอะไรนัก เพราะก็มันเบาลงตั้งเยอะ แต่สารให้ความเผ็ดยังมีเท่าเดิม ความเผ็ดต่อน้ำหนักมันก็ต้องสูงขึ้นอยู่แล้ว
👉 แต่สิ่งที่ทำให้เห็นความแตกต่างจริงๆ คือ “สารให้กลิ่น” ของพริกแห้งนั้นมีหลากหลายกว่าพริกสดหลายเท่าตัวนัก เนื่องจากว่ามี “สารให้กลิ่นใหม่” ที่เกิดจากการแตกหักของสารพัดโมเลกุลในพริกนั้นๆ มาแจ้งเกิดในวงการร่วมกับ “สารให้กลิ่นรุ่นพี่” ที่มีแต่เดิมด้วย
📕 ด้วยความที่มีประชากรของสารให้กลิ่นหอมฉุนที่หลากหลายมากขึ้น ก็จะทำให้เกิดมิติของกลิ่นรสที่เพิ่มขึ้น แล้วพอไปรวมกับกลิ่นสาบอ่อนๆของเนื้อวัวที่นำมาผัดกะเพรา จึงทำให้ได้ผัดกะเพราที่เต็มเปี่ยมไปด้วยอะโรม่า
📕 จึงเป็นที่มาของเคล็ดลับการผัดกะเพราเนื้อ (วัว) จะเด็ด ก็ต่อเมื่อเผ็ดด้วยพริกแห้ง แถมบางครอบครัวอาจจะเสริมด้วยใบยี่หร่าเพิ่มความร้อนแรงไปได้อีกนะครับ
#ใจทรามยามดึก
#ดีต่อใจจัญไรต่อพุง
#กินอิ่มนอนอุ่นหุ่นช่างมัน
#กะเพราไม่รอหน้า #กระเพาะไม่รอหลัง
#ส่วนกะเทยกับกะหรี่นั้นเป็นได้เลยไม่ต้องรอ 😂😂
📕 สุดท้ายนี้แอดก็ขอขอบคุณรูปประกอบบทความจากฝีมือตัวเองที่แสนจะน่ากินยามค่ำคืนอะไรเช่นนี้ (คือ ทำเองก็ต้องชมเองไง 🤣🤣)
🔴 ภาคผนวก 1 : ที่มาของกลิ่นสาบในเนื้อสัตว์
1️⃣ กลิ่นสาบ (Gamey odor) ของเนื้อวัว / หรือสัตว์เคี้ยวเอื้องอื่นๆ นั้นมักจะเกิดจากการย่อยสลายของไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fat) ที่อยู่ในรูปของหยดน้ำมันที่แทรกในมัดกล้ามเนื้อ (Intramuscular fat : IMF) หลายๆชนิด
2️⃣ กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่มีบทบาทหลักต่อการเกิดกลิ่นสาบของเนื้อวัวนั้น ก็คือ Linoleic fatty acids, linolenic fatty acid และ arachidonic fatty acids นะครับ เนื่องจากว่ามันสามารถแตกหักจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน จะโดยเอนไซม์ Lipoxygenase หรือโดยอนุมูลอิสระที่เกิดจากการสัมผัสแสงยูวี เกิดเป็นสารโมเลกุลเล็กๆที่ให้กลิ่นสาบออกมา
3️⃣ ปกติการแตกหักของกรดไขมันในเนื้อสัตว์เหล่านี้จะให้
👉 Oleic acid จะให้สารหลักที่ให้กลิ่นเนื้อ (meaty flavor) คือ 2-nonenal และ 2,4-decadienal
👉 Linoleic fatty acids, linolenic fatty acid และ arachidonic fatty acids จะให้ทั้งสารที่ให้กลิ่นสาบ (gamey odor) คือ trans-4,5-epoxy-(E)-2-decenal, 1-octen-3-one, 2,4-decadienal, 2,4,7-tridecatrienal, และ hexanal นะครับ
4️⃣ สัตว์เคี้ยวเอื้องที่ถูกเลี้ยงด้วยธัญพืช (fed on grains) หรือที่บ้านเราเรียกว่า “เลี้ยงด้วยหัวอาหาร” นั่นแหละ!! จะมีปริมาณกรดไขมันอย่าง Oleic acid ในชั้นไขมัน IMF สูงกว่า ส่งผลทำให้เนื้อมีความนุ่ม (tender) กว่า และมีกลิ่นสาบน้อยกว่า
5️⃣ ในขณะที่กลุ่มที่ถูกเลี้ยงด้วยหญ้า (fed on grass) จะมีไขมันไม่อิ่มตัวอย่าง linolenic fatty acid และ arachidonic fatty acids นั้นจะมีกลิ่นสาบมากกว่า และมีความเหนียวที่สูงกว่า
6️⃣ ดังนั้นเนื้อเป็ด / หรือเนื้อสัตว์ป่าที่กินพืชเป็นอาหารนั้นจึงมีกลิ่นสาบกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์ที่มีสปีชีส์ใกล้เคียงกันนะครับ เนื่องจากว่ามีแนวโน้มในการเกิดกรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่าง linolenic fatty acid และ arachidonic fatty acids ที่แทรกอยู่ใน IMF สูงกว่านั่นเอง
🔴 ภาคผนวก 2: กลิ่นรสที่แตกต่างกันของเนื้อหมูและเนื้อวัว
1️⃣ กลิ่นรสของเนื้อสัตว์ เมื่อผ่านความร้อนนั้นเกิดจากผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาเมลลาร์ดที่มาจากการรวมตัวของน้ำตาลรีดิวซิง (reducing sugars) /กรดอะมิโน (amino acids) / ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการย่อยสลายด้วยความร้อนของไขมัน (heat degradation of lipid) รวมไปถึงสารไธอะมีน (thiamine) หรือที่เรารู้จักกันในชื่อของ “วิตามินบี 1” ที่มีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ในเนื้อสัตว์น้่นเอง
2️⃣ โดยที่กลิ่นของเนื้อสัตว์แต่ละชนิดที่แตกต่างกันจะขึ้นอยู่กับอัตราส่วนของสารให้กลิ่นชนิดต่างๆ เช่น เนื้อวัวที่ผ่านความร้อนนั้นจะมีกลิ่น “meaty-caramel odor” โดยสารหลักที่ให้กลิ่นของเนื้อวัวที่แสนหอมหวาน นั้นก็คือ 2-furfurylthiol, 2-methyl-3-furanthiol และ 4-hydroxy-2,5-dimethyl-3-(2H)-furanone นัครับ
3️⃣ ในขณะที่เนื้อหมูนั้นสารให้กลิ่นกลับเป็นของสารประกอบเอสเทอร์โมเลกุลเล็กๆ ที่แตกตัวออกมา แถมยังมี 4-hydroxy-2,5-dimethyl-3-(2H)-furanone ที่ต่ำกว่าเนื้อวัวอย่างมาก จึงทำให้มีอัตราส่วนกลิ่นหอมไขมันเกรียม : กลิ่นหอมเนื้อเกรียมที่สูงกว่า ดังนั้นกลิ่นของเนื้อหมูจะดูมีความนุ่มนวลกว่า แต่ไม่หอมหวลเท่านะครับ
🔴 ภาคผนวก 3 : สารให้กลิ่นรสของพริกแห้ง
1️⃣ ความเผ็ดของพริกมาจากสารประกอบในกลุ่มของ “แคปไซซินและอนุพันธ์ของมัน” (Capsaicinoid groups) โดยมี capsaicin นั้นเป็นสารหลักนะครับ มีอยู่มากในบริเวณเยื่อแกนกลางสีขาว ส่วนเปลือกและเมล็ดนั้นจะมีสารนี้น้อยนะครับ ดังนั้นถ้าเราเลาะเอาแกนพริกออกทิ้งเนี่ย ความเผ็ดเกือบทั้งหมดก็จะหายไปเลยนะครับ
2️⃣ สารระเหยในพริกสดเริ่มต้นนั้นมีเพียงสารในกลุ่มของ terpenoids, carotenoid, amino acids และ lipid derivatives รวมไปถึงสารประกอบ hydrocarbon และ terpenoid อย่าง gamma terpenine และ aromadendrene เท่านั้น
3️⃣ แต่การทำแห้งของพริกนั้นจะทำให้เกิดสารระเหยอีกหลายชนิดเพิ่มขึ้นมา เช่น hexanal, ethyl acetate, alpha-ionone, และ P-ionone รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ที่เกิดจาก Strecker degradation เช่น 2-methyl butanal และ 3-methyl buranal นะครับ
4️⃣ ในกรณีที่ตากแห้งด้วยแสงแดด (sun drying) ก็จะเกิดสารประกอบ Naphthalene เพื่มขึ้นมา แต่ถ้ากรณีที่อบแห้ง (oven drying) ก็จะเกิด 2-furancarboxaldehyde, 1-methyl-1H-pyrrole และ benzeneethanol เพิ่มขึ้นมานะครับ จึงทำให้พริกแห้งที่ได้จากกระบวนการที่แตกต่างกันก็จะมีกลิ่นรสที่แตกต่างกันไปด้วยนะครับ
😁😁😁
#แหล่งข้อมูล
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6154429/
https://www.scielo.br/scielo.php…
https://content.sciendo.com/…/journ…/fv/61/2/article-p11.pdf
https://www.researchgate.net/…/284040511_Comparison_of_vola…
Handbook of Antioxidants for Food Preservation
Meat Science and Applications
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過5萬的網紅Gobby Hong,也在其Youtube影片中提到,我既Facebook page : https://www.facebook.com/gobbyhappylife 歡迎留言/分享/傾吓計,私訊可PM我Facebook。成年前拍過既有關揀選洗甲水既video~!!! http://www.youtube.com/watch?v=LseaINK9_f...
「ethyl acetate」的推薦目錄:
- 關於ethyl acetate 在 Drama-addict Facebook
- 關於ethyl acetate 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook
- 關於ethyl acetate 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook
- 關於ethyl acetate 在 Gobby Hong Youtube
- 關於ethyl acetate 在 Gobby Hong Youtube
- 關於ethyl acetate 在 TAG Concept Youtube
- 關於ethyl acetate 在 Ethanol and the Hydrolysis of Ethyl Acetate - YouTube 的評價
ethyl acetate 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 八卦
#เก็บตก9 อย่าใช้ปากกาเมจิก เขียนบนพลาสติกบรรจุอาหาร
เรื่องเก็บตกเรื่องสุดท้ายในวันนี้ครับ มีคนส่งรูปมาฟ้องว่า ซื้อแซนวิชมา แล้วสีของหมึกปากกาเมจิที่เขียนบนกล่องแซนวิช มาซึมลงมาถึงขนมปังเลย !?!
เรื่องนี้เป็นไปได้นะครับ เหมือนเคส "ถุงโจ๊ก" ที่เคยเกิดขึ้นก่อนนี้แล้ว (ยังจำกันได้มั้ย) หมึกของปากกาเมจิก ที่มีสภาพเป็นสารมีขั้ว อาจจะซึมผ่านเนื้อของพลาสติกบางชนิดได้ครับ โดยเฉพาะกลุ่มพลาสติกที่เนื้อไม่แน่น และไปยังอาหารที่มีสภาพเป็นสารมีขั้วเช่นกัน
ดังนั้น จึงไม่ควรปากกาเมจิก เขียนลงไปบนบรรจุภัณฑ์ที่ใส่อาหารซึ่งทำจากพลาสติก นะครับ
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
เอาข้อมูลอย่างละเอียดจากเพจ "เคมีฟิสิกส์ของสิ่งทอ อาหาร และของรอบตัว" มาโพสต์ให้อ่านประกอบนะครับ
📕 หลายๆคนก็คงจะสงสัยว่า เอ๊!! ทำไมหมึกที่อยู่อีกด้านจึงสามารถที่จะทะลุเข้าไปด้านในได้นะเออ!! ดังนั้นวันนี้แอดก็จะมาเล่าถึง #เกร็ดความรู้ที่ไม่จำเป็นต้องรู้ก็ได้ ถึง #ปรากฏการณ์การเคลื่อนตัวของสีหมึกจากภายนอกถุงพลาสติกเข้าไปเปื้อนโจ๊ก ให้ฟังกันนะครับ 😁😁
📕 จากที่แอดดูแล้ว แอดก็จะเดาว่าปากกาเมจิกที่ใช้เขียนถุงพลาสติกเหล่านี้น่าจะเป็นปากกาที่เรามักจะเรียกกันเป็นภาษาชาวบ้านว่า “ปากกาเคมี” หรือ Permanent marker นะครับ
📕 ปกติแล้วสีย้อมที่นำมาใช้ทำเป็นหมึกปากกาเคมีเหล่านี้มักจะเป็น “สีประจุบวก” (cationic dyes) ที่มักจะเป็นสีในกลุ่มของ “ไตรเอริลมีเธน” (Triarylmethane dyes) และนิยมนำมาละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น Ethyl acetate, Acetone, Isopropyl alcohol หรืออาจจะเป็น Ethanol ก็ได้นะครับ
📕 เนื่องจากว่าสีเหล่านี้มีความเข้มสูง และเมื่อสีเหล่านี้เมื่ออยู่ในตัวทำละลายอินทรีย์ที่มีขั้วปานกลางเหล่านี้ก็จะทำให้มันมีแรงตึงผิวที่ต่ำพอ จนทำให้สามารถเกาะบนผิวพลาสติกที่ไม่มีขั้วอย่าง PP หรือ HDPE ที่นำมาทำเป็นถุงพลาสติกได้ดีนะครับ
📕 แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาความแตกต่างที่มากเหลือเกินของ “ความมีขั้วจากประจุบวกของสีย้อม” กับ “ความไม่มีขั้วของพลาสติก” เหล่านี้จึงทำให้สีนั้นสามารถเกิดการ “เคลื่อนตัวหนีจากพลาสติกได้เสมอ” ถ้ามีพลังงานที่มากพอและมีสิ่งที่มีขั้วที่ใกล้เคียงกับสีย้อมตัวนั้นมาดักรออีกฝั่งด้วย!! (เนื่องจากความมีขั้วของสีและถุงพลาสติกนั้นต่างกันมาก แต่ที่มาอยู่ด้วยกันตอนแรก เพราะโดนบังคับมาจากการกดขี่หัวปากกาใส่ถุงพลาสติก!!)
📕 แน่นอนว่า ในถุงโจ๊กนั้นมีทั้งคาร์โบไฮเดรตจากแป้ง โปรตีนจากไข่และเนื้อหมูสับที่ละลายอยู่ในน้ำซุปร้อนๆนั้น ต่างก็เป็นโมเลกุลที่มีขั้ว (polar molecule) ที่มากกว่าถุงพลาสติกเป็นไหนๆนะครับ ดังนั้นเมื่อสีย้อมที่มีขั้วนั้นได้เจอกับโมเลกุลที่มีขั้วเหมือนๆกัน ตามทฤษฎี “Like dissolves like” หรือตามภาษาความรักก็เรียกว่า “เคมีตรงกัน” ก็จะทำให้สีย้อมนั้นรีบปรี่เข้าไปหาโมเลกุลที่มีขั้วของอาหารในถุงอย่างไม่คิดชีวิตกันเลยทีเดียว 😅😅
📕 และแน่นอนว่าสีย้อมเหล่านี้ไม่ใช่ “สีผสมอาหาร” ดังนั้นถ้าเป็นไปได้ จึงไม่ควรนำปากกาเคมีเหล่านี้มาเขียนบนถุงพลาสติกที่ใส่อาหารโดยตรงนะครับ และถ้าผู้ซื้อเห็นว่าสีเลอะแล้วก็ควรจะ “ทิ้งไป” ซะนะครับ แต่ถ้าเผลอทานไปแล้วก็ไม่ต้องกังวลอะไรมาก เพราะความเข้มสีที่เห็นนั้นมีน้อยกว่าปริมาณอันตรายพอสมควร แต่ก็นะ!! ถ้าคราวหลังยังเห็นอีกก็ควรจะเลี่ยงการทานอาหารที่มีการเขียนถุงด้วยปากกาเมจิกเหล่านี้นะครับ 😅😅
จาก https://www.facebook.com/…/a.71137468223…/2739253166113100/…
ethyl acetate 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 八卦
#เก็บตก9 อย่าใช้ปากกาเมจิก เขียนบนพลาสติกบรรจุอาหาร
เรื่องเก็บตกเรื่องสุดท้ายในวันนี้ครับ มีคนส่งรูปมาฟ้องว่า ซื้อแซนวิชมา แล้วสีของหมึกปากกาเมจิที่เขียนบนกล่องแซนวิช มาซึมลงมาถึงขนมปังเลย !?!
เรื่องนี้เป็นไปได้นะครับ เหมือนเคส "ถุงโจ๊ก" ที่เคยเกิดขึ้นก่อนนี้แล้ว (ยังจำกันได้มั้ย) หมึกของปากกาเมจิก ที่มีสภาพเป็นสารมีขั้ว อาจจะซึมผ่านเนื้อของพลาสติกบางชนิดได้ครับ โดยเฉพาะกลุ่มพลาสติกที่เนื้อไม่แน่น และไปยังอาหารที่มีสภาพเป็นสารมีขั้วเช่นกัน
ดังนั้น จึงไม่ควรปากกาเมจิก เขียนลงไปบนบรรจุภัณฑ์ที่ใส่อาหารซึ่งทำจากพลาสติก นะครับ
-----------------
เอาข้อมูลอย่างละเอียดจากเพจ "เคมีฟิสิกส์ของสิ่งทอ อาหาร และของรอบตัว" มาโพสต์ให้อ่านประกอบนะครับ
📕 หลายๆคนก็คงจะสงสัยว่า เอ๊!! ทำไมหมึกที่อยู่อีกด้านจึงสามารถที่จะทะลุเข้าไปด้านในได้นะเออ!! ดังนั้นวันนี้แอดก็จะมาเล่าถึง #เกร็ดความรู้ที่ไม่จำเป็นต้องรู้ก็ได้ ถึง #ปรากฏการณ์การเคลื่อนตัวของสีหมึกจากภายนอกถุงพลาสติกเข้าไปเปื้อนโจ๊ก ให้ฟังกันนะครับ 😁😁
📕 จากที่แอดดูแล้ว แอดก็จะเดาว่าปากกาเมจิกที่ใช้เขียนถุงพลาสติกเหล่านี้น่าจะเป็นปากกาที่เรามักจะเรียกกันเป็นภาษาชาวบ้านว่า “ปากกาเคมี” หรือ Permanent marker นะครับ
📕 ปกติแล้วสีย้อมที่นำมาใช้ทำเป็นหมึกปากกาเคมีเหล่านี้มักจะเป็น “สีประจุบวก” (cationic dyes) ที่มักจะเป็นสีในกลุ่มของ “ไตรเอริลมีเธน” (Triarylmethane dyes) และนิยมนำมาละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น Ethyl acetate, Acetone, Isopropyl alcohol หรืออาจจะเป็น Ethanol ก็ได้นะครับ
📕 เนื่องจากว่าสีเหล่านี้มีความเข้มสูง และเมื่อสีเหล่านี้เมื่ออยู่ในตัวทำละลายอินทรีย์ที่มีขั้วปานกลางเหล่านี้ก็จะทำให้มันมีแรงตึงผิวที่ต่ำพอ จนทำให้สามารถเกาะบนผิวพลาสติกที่ไม่มีขั้วอย่าง PP หรือ HDPE ที่นำมาทำเป็นถุงพลาสติกได้ดีนะครับ
📕 แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาความแตกต่างที่มากเหลือเกินของ “ความมีขั้วจากประจุบวกของสีย้อม” กับ “ความไม่มีขั้วของพลาสติก” เหล่านี้จึงทำให้สีนั้นสามารถเกิดการ “เคลื่อนตัวหนีจากพลาสติกได้เสมอ” ถ้ามีพลังงานที่มากพอและมีสิ่งที่มีขั้วที่ใกล้เคียงกับสีย้อมตัวนั้นมาดักรออีกฝั่งด้วย!! (เนื่องจากความมีขั้วของสีและถุงพลาสติกนั้นต่างกันมาก แต่ที่มาอยู่ด้วยกันตอนแรก เพราะโดนบังคับมาจากการกดขี่หัวปากกาใส่ถุงพลาสติก!!)
📕 แน่นอนว่า ในถุงโจ๊กนั้นมีทั้งคาร์โบไฮเดรตจากแป้ง โปรตีนจากไข่และเนื้อหมูสับที่ละลายอยู่ในน้ำซุปร้อนๆนั้น ต่างก็เป็นโมเลกุลที่มีขั้ว (polar molecule) ที่มากกว่าถุงพลาสติกเป็นไหนๆนะครับ ดังนั้นเมื่อสีย้อมที่มีขั้วนั้นได้เจอกับโมเลกุลที่มีขั้วเหมือนๆกัน ตามทฤษฎี “Like dissolves like” หรือตามภาษาความรักก็เรียกว่า “เคมีตรงกัน” ก็จะทำให้สีย้อมนั้นรีบปรี่เข้าไปหาโมเลกุลที่มีขั้วของอาหารในถุงอย่างไม่คิดชีวิตกันเลยทีเดียว 😅😅
📕 และแน่นอนว่าสีย้อมเหล่านี้ไม่ใช่ “สีผสมอาหาร” ดังนั้นถ้าเป็นไปได้ จึงไม่ควรนำปากกาเคมีเหล่านี้มาเขียนบนถุงพลาสติกที่ใส่อาหารโดยตรงนะครับ และถ้าผู้ซื้อเห็นว่าสีเลอะแล้วก็ควรจะ “ทิ้งไป” ซะนะครับ แต่ถ้าเผลอทานไปแล้วก็ไม่ต้องกังวลอะไรมาก เพราะความเข้มสีที่เห็นนั้นมีน้อยกว่าปริมาณอันตรายพอสมควร แต่ก็นะ!! ถ้าคราวหลังยังเห็นอีกก็ควรจะเลี่ยงการทานอาหารที่มีการเขียนถุงด้วยปากกาเมจิกเหล่านี้นะครับ 😅😅
จาก https://www.facebook.com/textile.phys.and.chem/photos/a.711374682234302/2739253166113100/?type=3&theater
ethyl acetate 在 Gobby Hong Youtube 的評價
我既Facebook page : https://www.facebook.com/gobbyhappylife 歡迎留言/分享/傾吓計,私訊可PM我Facebook。成年前拍過既有關揀選洗甲水既video~!!! http://www.youtube.com/watch?v=LseaINK9_fY
產品Product mention:
1) Cutex - Strengthening Nail Polish Remover
詳情 - http://www.cutexnails.com/nail-care-products/liquid-nail-polish-remover/pick-your-formula
購至 - 莎莎/卓悅
價錢 - HKD$25.6
2) SuperDrug - Acetone-free nail polish remover
詳情 - http://www.superdrug.com/superdrug/superdrug-nail-polish-remover-acetone-free-250ml-/invt/219145&bklist=
購至 - 百佳
價錢 - HKD$2x-3x (好耐之前買落但實在好少用。印象中係同Cutex差不多價錢的)
3) LCN - SPA Orchid Nail Polish Remover(PR贈送試用)
詳情 - http://lcnasia.oneconceptgroup.com/product/spa.php
價錢 - HKD$96
4) PritiNYC - Soy Polish Remover
詳情 - http://priti-hk.com/cn/products/001-%252d-Soy-Remover-2-oz.-Lemongrass-scent.html
購至 - http://priti-hk.com/
價錢 - HKD$100
3隻選用指甲油:
Single color - PritiNYC #509 Scotch Thistie
Metallic color - Cirque #Epoch
Glitter color - Happy Hands #Am I Not Yours?
小助手契麒youtube: http://www.youtube.com/channel/UCkxex7GQnzDukD5-Hx7ZvXg
Follow me at
Instagram : http://instagram.com/gobihong
微博 : http://weibo.com/gobbyhong
Twitter : http://twitter.com/gobbyhong
Subscribe if you like !!! ^^
ethyl acetate 在 Gobby Hong Youtube 的評價
Comment below and let me know what you think...^^
Don't forget to visit my
Youtube channel: http://www.youtube.com/gobihomu
English blog: http://gobbyhong.blogspot.com/
Chinese blog: http://gobbyhong.theztyle.com
Follow me @
微博 : http://weibo.com/gobbyhong
Twitter : http://twitter.com/gobbyhong
Instagram user name @gobihong
Subscribe if you like !!! ^^
ethyl acetate 在 TAG Concept Youtube 的評價
【紋紋不行了!超高效抗衰老面部護理油!】
VERSO SUPER FACIAL OIL(WITH RETINOL 8 complex: 0.06%) 7.5ml X 4支
根據嬸計處調查,普遍女人未到四十已經look like一pat爛茶渣(例子如ffx)!喂你估人人都可以keep到思嫣bb咁pure咁true,玩晒菊花咁出寫真架咩?!不要去羨慕,不要去妒忌喇,開講都有話,日防夜防,幼紋難防呀嘛!就算係完美無瑕嘅瘋瘋,都會有紋出沒注意嘅煩惱,又乾紋又幼紋又皺紋咁,總之就不用分那麼細,反正都係紋起啦!為咗繼續霸佔美魔男呢個寶號,我決定嚟個終極抗衰老油長抗爭!
油呢家嘢,夏天嚟講老子真係少掂!事關熱到站著也出汗咁嘅環境,齋聽到個油字經已唔c服!只會聯想到笠!笠!同埋笠!但若然係瑞典VERSO出品的話咁就唔同講法喇!呢盒SUPER FACIAL OIL未空降TAG Concept之前,已經得到Swedish BEAUTY & COSMETICS Awards賜賞加持,肯肯定佢抗衰老嘅超然地位!
一盒SUPER FACIAL OIL內裡有4支各7.5ml嘅抗衰老護理油,其中一支隱藏喺一個特製嘅黑色樽入面隨時候命!每用完一支就可以換支新嘅入去,確保護理油內嘅Retinol 8成分得到充分保護!
呢盒SUPER FACIAL OIL老子係由6月頭開始試用,第一次吱出嚟嘅感覺係「咦he?唔笠架喎!」由於佢係高效滲透嘅分子油,搽上面按摩半分鐘已經吸收晒,同笠可謂扯唔上關係!內裡含有濃度0.06%嘅專利成分Retinol 8,有效激活肌底自我增生更多膠原蛋白,減少細紋、皺紋同色斑,提升肌膚彈性,緊致面部輪廓。同時滋養dry到核爆嘅細胞,令肌膚重現光澤!喂仲可以抵抗外來污染源頭對皮膚嘅侵害,延緩肌膚老化添呀!
講返大家最關心嘅改善情況先!當然你咪L癲到以為用一星期就淡到跟咗你幾年嘅幼紋先得架!頭幾日用都冇乜特別情況,大約第六日面頰位置就有少少紅同甩皮,嚇到瘋瘋個心離一離呀!好彩官方有提及此乃剔走壞死細胞死皮嘅自然現象!兩個星期之後已經有firm嘅緊覺!老子啲虎紋比較任性,一唔夠瞓或者做唔夠補濕就會超明顯!但用咗三支SUPER FACIAL OIL(約7星期)之後,幼紋相信已經比佢狠狠地克制住,就算高清之下我依舊都係一條美魔男!提升效果亦相當nice時!嗱經過那些年,你可唔可以尋回那天暑假我唔知,但VERSO SUPER FACIAL OIL絕對可以幫你扭轉肌膚老已衰嘅跡象!
想知道美魔女是如何煉成的?VERSO此產品到底係tum住你先定長效改善?以及咩皮膚用大約幾時會有咩反應?請咪L捉比卡住超先,see see下面條劣質YouTube吧!
美魔女修煉成分:
Retinol 8(Retinyl retinoate)、Helianthus Annuus Seed Oil Unsaponifiables、Canola oil、Tocopheryl Acetate、Shea butter Ethyl Esters
ethyl acetate 在 Ethanol and the Hydrolysis of Ethyl Acetate - YouTube 的八卦
In this video, I purify ethanol from hardware-store denatured alcohol by hydrolyzing its ethyl acetate ... ... <看更多>