“เวียนนา” ทำอย่างไร? ให้เป็นเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลก 10 ปีซ้อน / โดย ลงทุนแมน
จากการจัดอันดับเมืองน่าอยู่ของบริษัทที่ปรึกษา Mercer จากทั้งหมด 231 เมืองทั่วโลก
กรุงเวียนนา เมืองหลวงของประเทศออสเตรีย ครองตำแหน่งเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลก
ในปี 2019 และครองตำแหน่งนี้มาตั้งแต่ปี 2010
เท่ากับว่า เมืองที่มีประชากร 2 ล้านคนแห่งนี้ เป็นเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลกมาเป็นเวลา 10 ปีซ้อน..
นอกจากบริษัทที่ปรึกษาด้านบริหารทรัพยากรบุคคลอย่าง Mercer แล้ว
สถาบันอย่าง The Economist ก็ได้มอบตำแหน่งเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลกให้กับเวียนนาในปี 2019 ด้วยเช่นกัน
สิ่งที่ทำให้เวียนนาเป็นเมือง “น่าอยู่” คืออะไร?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
พบกับ หนังสือ ลงทุนแมน 13.0 ที่อัดแน่นไปด้วยกรณีศึกษาและมุมมองธุรกิจที่น่าสนใจ
พร้อมให้คุณเป็นเจ้าของแล้ววันนี้ที่
Lazada: https://www.lazada.co.th/products/130-i1587474257-s4309842746.html
Shopee: https://shopee.co.th/Longtunman-หนังสือลงทุนแมน-13.0-i.116732911.7453767586
╚═══════════╝
ก่อนอื่นมารู้จักประวัติของเวียนนากันสักนิด
กรุงเวียนนา หรือชื่อภาษาเยอรมันว่า “Wien” ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศออสเตรีย
มีแม่น้ำดานูบไหลผ่านกลางเมือง
กรุงเวียนนาเป็นศูนย์กลางของราชวงศ์ฮับส์บวร์กมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16
ในศตวรรษที่ 18 ก็ขึ้นแท่นเป็นศูนย์กลางการปกครองที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งของยุโรป
มีพระราชวังเชินบรุนน์ที่งามสง่า มีถนนหนทางโอ่อ่า อาคารประดับประดาสวยงาม
เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมโดยเฉพาะดนตรีคลาสสิก ได้รับฉายาว่า “นครหลวงแห่งการดนตรี”
คีตกวีชื่อดังระดับโลกทั้ง โยฮันน์ ชเตราสส์, โมซาร์ท, เบทโฮเฟิน
ล้วนมีช่วงชีวิตรุ่งโรจน์อยู่ในเมืองแห่งนี้
เวียนนายังคงเป็นศูนย์กลางต่อเนื่องถึงจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 เวลานั้นตรงกับยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมของยุโรป
เวียนนาก็ไม่ต่างกับเมืองใหญ่ๆ หลายแห่งของยุโรป มีการสร้างโรงงานมากมาย ดึงดูดแรงงานจากชนบทให้เข้ามาอยู่ในเมือง ประชากรของเวียนนาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนมากกว่า 1 ล้านคน
ในช่วงทศวรรษ 1880s
ท้ายที่สุดก็นำมาสู่ปัญหาขาดแคลนที่อยู่อาศัย..
นอกถนนวงแหวนที่ล้อมเขตเมืองเก่าที่สวยงาม เต็มไปด้วยอาคารที่อยู่อาศัยที่เสื่อมโทรม
ผู้คนแออัดยัดเยียด หลายแห่งไม่มีห้องน้ำ ยังไม่นับรวมผู้คนอีกมากมายที่อาศัยอยู่ในบ้านทั้งหมดส่งผลให้สุขอนามัยของชาวเวียนนาอยู่ในขั้นวิกฤติ เกิดการระบาดอย่างรุนแรงของโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะ “วัณโรค”
ปัญหาดูจะย่ำแย่ลงไปอีก เมื่อจบสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1918 พร้อมกับการล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ผู้อพยพจากดินแดนอื่นๆ ของจักรวรรดิต่างหลั่งไหลมาอยู่กรุงเวียนนา และเกิดวิกฤติเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก หรือ Great Depression ที่ทำให้ผู้คนว่างงาน
แต่ช่วงเวลาที่ย่ำแย่ที่สุด ก็นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ทำให้วิถีชีวิตผู้คนดีขึ้น
หลังจักรวรรดิล่มสลาย ออสเตรียกลายเป็นสาธารณรัฐ มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
โดยเริ่มให้สิทธิเลือกตั้งกับทุกคนรวมถึงผู้หญิง ไม่จำกัดเฉพาะชนชั้นสูงผู้ชายอีกต่อไป
พรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยได้ขึ้นมาเป็นเทศมนตรีแห่งกรุงเวียนนาในช่วงปี ค.ศ. 1918 - ค.ศ. 1934 และชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเมืองก็เริ่มได้รับการพัฒนาขึ้นทีละน้อย
อย่างแรกก็คือ การแก้ปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย..
คุณ Karl Seitz นายกเทศมนตรีแห่งกรุงเวียนนาระหว่างปี ค.ศ. 1923 - ค.ศ. 1934
เป็นผู้ผลักดันโครงการที่อยู่อาศัยที่เมืองเป็นผู้สนับสนุนค่าเช่า
โดยเมืองจะทำหน้าที่เป็นผู้สร้าง และเก็บค่าเช่าจากผู้คนในราคาถูก
คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 4% ของค่าครองชีพ
แต่เนื่องจากเมืองก็ไม่ได้มีเงินทุนมากมาย จึงจำเป็นต้องหารายได้ด้วยการปฏิรูปภาษี
โดยเริ่มการปฏิรูปในปี ค.ศ. 1922 ด้วยการปรับขึ้นภาษีต่างๆ โดยเฉพาะภาษีที่ดิน และภาษีที่อยู่อาศัยสำหรับเอกชน
เมื่อเมืองมีรายได้มากขึ้น สวนทางกับภาคเอกชน ที่ไม่มีใครอยากซื้อที่ดินมาทำโครงการบ้าน เพราะทำไปก็ไม่คุ้ม ผลที่ได้ เมืองสามารถซื้อที่ดินว่างเปล่ามาเพื่อสร้างอะพาร์ตเมนต์สำหรับประชาชน ซึ่งถูกเรียกว่า “Gemeindebau”
แต่ Gemeindebau ก็ไม่ใช่อะพาร์ตเมนต์ที่สร้างแบบหยาบๆ มีการออกแบบให้มีพื้นที่สีเขียวควบคู่ไปด้วย มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน ทั้งศูนย์ดูแลเด็ก ห้องสมุด โรงยิม ร้านค้าสหกรณ์ สนามเด็กเล่น ซึ่งกลายเป็นชุมชนให้ผู้คนได้มาพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ท้ายที่สุด เมืองก็กลายมาเป็นผู้ครอบครองที่ดินมากที่สุดในเวียนนา โดยมีการสร้างอะพาร์ตเมนต์แบบ Gemeindebau กว่า 60,000 แห่งทั่วเมือง โดยอะพาร์ตเมนต์ที่ใหญ่ที่สุด คือ Karl Marx-Hof ซึ่งมีความยาวถึง 1.1 กิโลเมตร
เมื่อที่อยู่อาศัยซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานที่สุดของเมืองได้รับการแก้ไข ผู้คนมากมายสามารถมีที่อยู่โดยใช้เงินเพียงเล็กน้อย ปัญหาต่างๆ จึงเริ่มบรรเทาลง ทั้งปัญหาสุขอนามัย และอาชญากรรม
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ออสเตรียได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากสหรัฐอเมริกาในแผนการ Marshall ทำให้รัฐบาลมีเงินมาซ่อมแซมอาคารบ้านเรือนที่เสียหายจากสงคราม และปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน โดยสร้างอะพาร์ตเมนต์แบบใหม่ที่สะดวกสบายมากขึ้นอีก และปรับปรุงระบบขนส่งมวลชนให้มีประสิทธิภาพ
เมื่อระบบรถราง (Tram) และรถไฟใต้ดินของเวียนนาที่สร้างมาตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19
เริ่มเก่าและเสื่อมสภาพลง จึงมีการปรับปรุงและขยายเส้นทางให้ครอบคลุมทั่วเมือง ในช่วงทศวรรษ 1970s เกิดเป็น Vienna U-Bahn ระบบรถไฟในเมือง
และ Vienna S-Bahn ระบบรถไฟชานเมือง เชื่อมระหว่างใจกลางเมือง กับเขตเมืองรอบๆ
ในปัจจุบัน เวียนนาและเขตปริมณฑล มีระบบรถไฟทั้ง U-Bahn และ S-Bahn
รวมกันเป็นระยะทางมากกว่า 700 กิโลเมตร และระบบรถรางเป็นระยะทางกว่า 170 กิโลเมตร
โดยค่าตั๋วเดินทางแบบรายปี มีราคาเพียง 365 ยูโร สามารถใช้กับระบบขนส่งมวลชนในเขตเมืองได้ทุกประเภททั้งรถไฟ รถราง และรถเมล์ ซึ่งเฉลี่ยแล้วจะเป็นค่าใช้จ่ายวันละ 1 ยูโร หรือ 40 บาทต่อวัน
เมื่อเทียบกับ GDP ต่อหัวของชาวเวียนนาในปี 2019 ที่ 44,000 ยูโร
ค่าเดินทางจะมีสัดส่วนไม่ถึง 1% ของรายได้ด้วยซ้ำ..
ปัจจุบันเวียนนาจึงมีระบบขนส่งมวลชนที่ครอบคลุมในราคาที่เอื้อมถึง มีพื้นที่สีเขียว มีพื้นที่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และที่สำคัญ ประชาชนมี “บ้าน” ที่ปลอดภัย ถูกสุขอนามัย และมีค่าเช่าที่ไม่แพง
ปัจจุบันมีชาวเวียนนากว่า 60% อาศัยอยู่ในอะพาร์ตเมนต์ Gemeindebau ที่มีการออกแบบทันสมัยมากขึ้น มีการนำนวัตกรรมด้านประหยัดพลังงานมาใช้พัฒนาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นไปอีก
โดยตัวแปรในการจัดอันดับเมืองน่าอยู่ของ Mercer ประกอบไปด้วย
ความมั่นคงทางการเมือง เสรีภาพในการแสดงออก สุขอนามัย อาชญากรรม การศึกษา
ระบบขนส่งมวลชน พื้นที่สาธารณะ และที่อยู่อาศัย
ถ้าอ่านมาถึงตรงนี้ คงได้คำตอบแล้วว่า
อะไรที่ทำให้เวียนนา “น่าอยู่” จนได้รับตำแหน่งอันดับ 1 ของโลกมาครอบครอง..
สำหรับกรุงเทพมหานคร จากการจัดอันดับเมืองน่าอยู่ของ Mercer อยู่ในอันดับที่ 133 จากทั้งหมด 231 เมืองทั่วโลก
ทุกคนรู้ว่ากรุงเทพฯ มีนักท่องเที่ยวต่างชาติมาเยือนเป็นอันดับ 1 ของโลก
เป็นเมือง “น่าเที่ยว” ที่มีสถานที่สวยงามมากมาย มีอาหารอร่อย มีบริการที่ครบครันในราคาไม่แพง
แต่สำหรับความ “น่าอยู่” แล้ว
สิ่งรอบตัวคนกรุงเทพฯ เช่น ระบบขนส่งมวลชน การจราจร พื้นที่สีเขียว และทางเท้า คงจะเป็นตัวอย่างแบบง่ายๆ ว่าทำไม กรุงเทพฯ ถึงเป็นเมืองน่าอยู่อันดับที่ 133 ของโลก..
╔═══════════╗
พบกับ หนังสือ ลงทุนแมน 13.0 ที่อัดแน่นไปด้วยกรณีศึกษาและมุมมองธุรกิจที่น่าสนใจ
พร้อมให้คุณเป็นเจ้าของแล้ววันนี้ที่
Lazada: https://www.lazada.co.th/products/130-i1587474257-s4309842746.html
Shopee: https://shopee.co.th/Longtunman-หนังสือลงทุนแมน-13.0-i.116732911.7453767586
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.mercer.com/newsroom/2019-quality-of-living-survey.html
-https://www.independent.co.uk/travel/news-and-advice/vienna-best-city-live-quality-life-ranking-mercer-australia-europe-a8820396.html
-https://www.wien.info/en/sightseeing/red-vienna/100-years-of-red-vienna
-https://ec.europa.eu/growth/tools-databases/regional-innovation-monitor/base-profile/vienna
-https://www.theguardian.com/world/2019/jul/09/vienna-euro-a-day-public-transport-berlin-365-annual-ticket
-เมืองน่าอยู่ที่รู้สึก, Little Thoughts
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過531的網紅Humans Offshore Podcast離島人,也在其Youtube影片中提到,Ep052 -建築設計、數位製造與電腦科學的跨領域研究:高鼎鈞⠀ 這週邀請到建築設計、數位製造與電腦科學的跨領域研究:高鼎鈞學長⠀ 學長從淡江大學建築系畢業後,在陳珍誠教授的研究室的研究與教學助理⠀ 碩士則到斯圖加特大學的計算機設計學院與建築與結構設計學院進行研究⠀ 畢業後在當地營建工程公司的建築...
databases 在 陳建仁 Chen Chien-Jen Facebook 八卦
要求《The Lancet》立即更正錯誤,共同捍衛台灣主權與學術尊嚴
世界頂尖學術期刊《The Lancet》(刺胳針)於6月25日刊登一篇中國的醫學研究,由於該研究將台灣納為中國的一省,嚴重矮化台灣的國際地位,除引發數千網友在其臉書上留言抗議並要求更正外,衛福部也將正式行文給《The Lancet》抗議,說明「台灣是台灣、中國是中國」。
雖然《The Lancet》回應表示,這是根據聯合國(UN)和世界衛生組織(WHO)的方針,才將台灣列為中國一省,和其它的國際衛生分析沒有不同。但必須嚴正指出的是,除了政治上的錯誤之外,正因為台灣和中國為各自獨立的兩個不同國家,有各自獨立不同的行政、健保體系,在健保相關資料的完整性與正確性上,台灣與中國更是有許多差異,因此,這篇研究將不同方法所蒐集的健康資料放在同一個層級的模型來作研究,不但產生許多方法學上與研究結果的偏差,更已犯了學術研究的大忌,我們認為頂尖的《The Lancet》期刊不應該犯這樣的錯誤才對。
因此,我和中央研究院陳定信院士、廖運範院士、楊泮池院士等人,特別聯名致函《The Lancet》編輯部,要求該期刊立即更正錯誤,因為,這不只關係到台灣的主權尊嚴,更關係著國際學術研究的專業與倫理。
我也要在此呼籲所有關心這個事件的國人同胞,踴躍到 《The Lancet》的臉書粉絲專業表答您的意見,
https://www.facebook.com/374651963469/posts/10157661625328470/?substory_index=0
以下是致函《The Lancet》編輯部全文:
To the Editor:
We read the recent article by Zhou et al. comparing mortality, morbidity and risk factors in China and its provinces, 1990-2017. The authors used data from Global Burden of Diseases, Injuries, and Risk Factors Study (GBD) 2017 to analyse health patterns in 34 province-level administrative units in China. This is a misleading and biased report due to the inclusion of Taiwan in the analyses.
The authors made an obvious flaw by including Taiwan in the study. The national health system, government system and administrative system are independent in Taiwan. The completeness and accuracy of national databases of health insurance, cancer registry, death certification, cancer screening and health surveillance in Taiwan is totally different from those of China. The health outcomes measured by different methods should not be included in the same hierarchical models. Taiwan has its own cancer and death registration system, and the information were not collected by the Chinese Center for Disease Control and Prevention as described wrongly in the article. The data source from the Global Health Data Exchange (http://ghdx.healthdata.org/countries) that the authors used in this paper also clearly showed Taiwan and China are two distinguished countries under the category of Eastern Asia.
Taiwan has an independent National Health Insurance system which covers more than 95% of 23 million people since 1995. Taiwan has also implemented a series of public health programs to reduce mortality and morbidity which are not implemented in China. For example, Taiwan is the first country in the world to implement universal newborn hepatitis B vaccination program since 1984 whereas China started in 1992. We reimbursed antiviral treatment for chronic viral hepatitis since 2003 and decreased liver disease burdens continuously. Taiwan started to reimburse direct antiviral agents for chronic hepatitis C patients with advance fibrosis since 2017 and for all chronic hepatitis C patients since 2019, and has committed to eliminating hepatitis C infection in 2025, 5 years earlier than the 2030 deadline set by WHO.
The inclusion of Taiwan in the analysis leads definitely to a significant bias of the findings of Zhou et al. In their similar publication in 2016 (Lancet 387:251-272), Taiwan was not included in the analyses. We would like to urge the authors to re-run the analyses and remove Taiwan from their analyses in order to yield unbiased estimates of mortality, morbidity and risk factors in China. Lancet, as an esteemed medical journal, has the reputation to publish accurate and precise research findings. Such a major categorization mistake in the methods section by Zhou et al. should be rectified.
Maggie Dai-Hua TSAI RIEDIKER
Mei-Hsuan LEE
Ding-Sing CHEN
Yun-Fan LIAW
Pan-Chyr YANG
Yi-Hao HUANG
Chien-Jen CHEN
databases 在 美國在台協會 AIT Facebook 八卦
🌊「每到夏天我要去海邊~~~」你也跟小編一樣想去海邊享受夏天、現在卻因為疫情而選擇宅在家救台灣嗎?現在有個好機會讓我們一起在線上聊聊大海!AIT高雄分處和台灣的海洋委員會明天將共同舉辦線上「2021台灣海洋青年論壇」,這是一個由台灣高中生及大學生針對海洋相關的環境挑戰,全程以英文進行來提案簡報的競賽!明天上午9點和我們一起觀看直播,競賽將由AIT前副處長谷立言開幕致詞,以及由美國海洋專家Linwood Pendleton博士進行專題演講《透視數據科技,打造健康海洋—前景與挑戰》!內容精彩豐富,愛護海洋的你不要錯過!
✅「2021台灣海洋青年論壇」直播連結:https://youtu.be/A40yDc2rr-E
✅天下雜誌網站上先睹為快Pendleton博士介紹全球海洋數據:https://bit.ly/3wjBcGk
✅海洋青年論壇詳情請見:https://bit.ly/2TvrDqF
🌊Are you daydreaming about traveling to the beach during these hot summer days but choosing to stay home to help contain this pandemic? The next best thing to visiting the ocean, is gathering online with likeminded advocates to help protect the ocean. Starting July 7, AIT Kaohsiung Branch Office and Taiwan’s Ocean Affairs Council will co-host the 2021 Ocean Challenge virtual forum. Taiwan high school and university students will compete and present their solutions to pressing environmental challenges facing our shared oceans. Join us to watch the forum at 9:00am for former AIT Deputy Director Raymond Greene’s remarks, followed by ✅the keynote speech “Data and Technology for a Healthy Ocean - Promises and Challenges” by U.S. ocean policy expert Dr. Linwood Pendleton. https://youtu.be/A40yDc2rr-E.
✅You can also preview Dr. Pendleton’s key points on CommonWealth Magazine’s sustainability column now! https://bit.ly/3wjBcGk
✅For more details of the Ocean Challenge Forum: https://bit.ly/2TvrDqF
databases 在 Humans Offshore Podcast離島人 Youtube 的評價
Ep052 -建築設計、數位製造與電腦科學的跨領域研究:高鼎鈞⠀
這週邀請到建築設計、數位製造與電腦科學的跨領域研究:高鼎鈞學長⠀
學長從淡江大學建築系畢業後,在陳珍誠教授的研究室的研究與教學助理⠀
碩士則到斯圖加特大學的計算機設計學院與建築與結構設計學院進行研究⠀
畢業後在當地營建工程公司的建築資訊研究部門、擔任程式工程師與專案工程師參與研究案與開發案⠀
.⠀
目前是蘇黎世聯邦理工學院及和瑞士國家能力研究中心數位製造的博士研究員⠀
博士主要在蘇黎世聯邦理工學院建築與科技學院攻讀「建築與結構設計Architecture and Structural Design」,「數位製造Digital Fabrication」,「電腦運算設計Computational Design」,並同時在資工系輔修「電腦科學Computer Science」⠀
.⠀
⠀
透過這個機會,想跟學長請教一路上從建築開始、參與德國的營建工程、到現在在ETH黎世聯邦理工學院做跨領域研究的轉折和契機⠀
同時也想知道學長在號稱歐陸第一名校蘇黎世聯邦理工學院(ETH)的環境氛圍⠀
以及瑞士,德國與台灣唸書與工作環境的差異⠀
.⠀
若大家對高鼎鈞學長的經歷有興趣,歡迎參考學長的個人網站、Linkedin和學長聯絡交流⠀
https://www.linkedin.com/in/kaogene/⠀
https://www.geneatcg.com/⠀
.⠀
#ETH⠀
#蘇黎世聯邦理工學院⠀
#參數設計⠀
#數位製造⠀
#高鼎鈞⠀
.⠀
經歷:⠀
- 瑞士 蘇黎世聯邦理工學院(ETH Zurich) Block Research Group (Architecture and Structure) 和瑞士國家能力研究中心的數位製造領域(NCCR Digital Fabrication):博士研究員,主攻建築與結構設計,以及數位製造,電腦運算設計 。⠀
- 瑞士 ETH Zurich資工系輔修電腦科學(CAS in Computer Science)主攻視覺運算(Visual Computing)領域⠀
- 德國 德國與奧地利營建工程公司 Ed. Züblin AG / Strabag AG:程式工程師與專案工程師參與研究案與開發案⠀
- 德國 斯圖加特大學 運算設計與製造研究所(ICD)與建築與結構設計研究所(ITKE):ITECH碩士研究小組⠀
- 台灣 淡江大學 數位設計與製造實驗室:研究與教學助理⠀
- 台灣 淡江大學 建築系:學業特別與傑出設計獎⠀
⠀
🔥🔥🔥備註🔥🔥🔥⠀
✳️Block Research Group - http://www.block.arch.ethz.ch/brg/⠀
✳️NCCR Digital Fabrication - http://www.dfab.ch/⠀
✳️CAS in Computer Science - https://inf.ethz.ch/continuing-education/certificate-program.html⠀
✳️Ed. Züblin AG - https://www.zueblin.de/databases/internet/_public/content30.nsf/web30?Openagent&id=EN-ZUEBLIN.DEN_welcome.html ⠀
✳️Strabag AG - https://www.strabag.com/⠀
✳️運算設計與製造研究所(ICD) - https://icd.uni-stuttgart.de/⠀
✳️建築與結構設計研究所(ITKE) - https://www.itke.uni-stuttgart.de/de/⠀
✳️ITECH碩士研究小組 - https://icd.uni-stuttgart.de/?p=6111⠀
✳️淡江大學 數位設計與製造實驗室 - https://www.facebook.com/digitalaieou/⠀
-------------
🎧離島人們的經驗交流播客平台
A podcast platform, shares experiences of those who are offshore.
🏠 離島人Homepage | https://www.humansoffshore.com
🎬 Youtube | https://bit.ly/ho_youtube
🌹 Paypal小額贊助 | http://bit.ly/humansoffshore_paypal
databases 在 Database - Wikipedia 的相關結果
In computing, a database is an organized collection of data stored and accessed electronically from a computer system. Where databases are more complex they ... ... <看更多>
databases 在 MySQL 的相關結果
MySQL Database Service is a fully managed database service to deploy cloud-native ... MySQL Cluster enables users to meet the database challenges of next ... ... <看更多>
databases 在 Top 10 Databases to Use in 2021. MySQL, Oracle, PostgreSQL 的相關結果
Databases are the cornerstone of any Software Applications. You will need one or more databases to develop almost all kind of Software Applications: Web, ... ... <看更多>