GUSS DAMN GOOD ไอศกรีมคนไทย ที่มาไกลจากบอสตัน / โดย ลงทุนแมน
ถ้าใครอยากรู้ว่ารสชาติของการไม่ยอมแพ้เป็นอย่างไร
ให้ลองเดินเข้าร้าน Guss Damn Good
แล้วสั่งไอศกรีมรส Don’t Give Up #18 มาชิม
Guss Damn Good เป็นชื่อของร้านไอศกรีมสัญชาติไทย
แต่มีต้นกำเนิดที่มาไกลถึงสหรัฐอเมริกา
╔═══════════╗
แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
จุดเริ่มต้นของ Guss Damn Good มาจากคน 2 คน
คนแรก คุณระริน ธรรมวัฒนะ ซึ่งเรียนจบมาจากสายการเงิน
รับอาสาออกแบบรสชาติไอศกรีมและทำการตลาด
ส่วนคนที่สอง คุณนที จรัสสุริยงค์ เรียนจบด้านวิศวกรรม
รับหน้าที่สร้างโมเดลตั้งต้นเพื่อคำนวณสูตรไอศกรีมบนโปรแกรม Microsoft Excel
เช่น ต้องใช้ไขมันหรือของเหลวเป็นสัดส่วนเท่าไรเพื่อให้ได้เนื้อไอศกรีมที่ต้องการ
ทั้ง 2 คนมาเจอกันตอนไปเรียนต่อปริญญาโทที่ Babson College เมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีจุดร่วมที่เหมือนกันก็คือ ความชื่นชอบไอศกรีม
ที่น่าสนใจคือ เมืองบอสตันเป็นเมืองหนาว ช่วงที่ร้อนที่สุดคือเดือนกรกฎาคม ซึ่งมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 23 องศาเซลเซียส ส่วนเดือนที่หนาวสุดคือเดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ -1.7 องศาเซลเซียส
ทั้งๆ ที่สภาพอากาศเป็นแบบนี้ แต่ก็ยังมีร้านไอศกรีมเปิดเต็มไปหมด
โดยจุดเด่นของร้านไอศกรีมของเมืองนี้จะเน้นที่รสชาติของไอศกรีมเป็นหลัก ไม่ได้ทานกับทอปปิงเสริม และแม้กระทั่งวันที่หิมะตกหนัก ก็ยังมีคนต่อคิวเพื่อซื้อไอศกรีม
คุณระรินจึงไปถามเพื่อนชาวอเมริกันว่าไม่หนาวเหรอ ซึ่งเธอได้รับคำตอบว่า “ไอศกรีมทำให้เขานึกถึงช่วงเวลาในฤดูร้อน”
ในบางครั้งการทำสินค้าอาจไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในตอนนั้น แต่ถ้าทำให้คนได้สัมผัส แล้วได้ประสบการณ์ อารมณ์ร่วม มันก็น่าจะตอบโจทย์กับผู้บริโภค
เรื่องนี้ทำให้คุณระรินเริ่มสนใจการทำไอศกรีม เพราะนอกจากความอร่อยแล้ว ไอศกรีมยังสร้างอารมณ์และความรู้สึก สามารถทำให้ผู้ทานย้อนไปถึงเรื่องราวต่างๆ ในความทรงจำได้
และตอนนั้นเธอกำลังมองหาช่องทางทำธุรกิจพอดี จึงชวนคุณนที ที่ชื่นชอบไอศกรีมเหมือนกัน ให้มาร่วมด้วย
ทั้งสองตระเวนชิมไอศกรีมไปทั่วบอสตัน ศึกษาจากตำราบ้าง พูดคุยกับเจ้าของร้านบ้าง
จากนั้นก็ทดลองทำไอศกรีม โดยซื้อเครื่องทำไอศกรีมเล็กๆ มาเริ่มทำกันในอะพาร์ตเมนต์
เมื่อกลับเมืองไทยในปี พ.ศ. 2557 ทั้งสองจึงเริ่มทำเป็นธุรกิจอย่างจริงจัง
ลงทุนซื้อเครื่องทำไอศกรีม ตู้เย็น รวมถึงตู้แช่
แต่อุปสรรคที่เกิดขึ้นตอนนั้นก็คือ พวกเขาขายไอศกรีมไม่เป็น
คือรู้ว่าทำทานเล่นกันเองอย่างไร แต่ไม่รู้ว่าถ้าจะทำขายจริงๆ ต้องทำอย่างไร
อย่างไรก็ตาม หลังจากทดลองกันอยู่นาน ทั้งสองก็ได้สูตรไอศกรีมแรกที่มีรสชาติลงตัว
ซึ่งพวกเขาตั้งชื่อรสนี้ว่า Don’t Give up #18
แน่นอนว่าชื่อนี้ต้องมีที่มา..
จริงๆ แล้ว Don’t Give Up #18 เป็นไอศกรีมรสนม ซึ่งเกิดจากความพยายามหาส่วนผสมระหว่างนมและครีมว่ายี่ห้อไหนจะเข้าคู่กันได้ดีที่สุด
โดยเลข 18 มาจากการทดลองครั้งที่ 18 ซึ่งเป็นครั้งที่เริ่มใกล้เคียงกับรสชาติปัจจุบันมากที่สุด
ทั้งสองจึงใช้เลขนี้มาเป็นเครื่องเตือนใจว่าอย่ายอมแพ้
ซึ่งสุดท้ายก็ต้องทดลองกันไปรวมๆ กว่า 30 ครั้ง ถึงจะได้รสชาติที่ต้องการ
หลังจากได้สูตรไอศกรีมแล้ว ทั้งสองก็นำไปออกร้านขายเลยที่ตลาดนัด Flea Market
ผลปรากฏว่า ไม่มีคนซื้อ เพราะลูกค้าไม่รู้จัก จึงไม่มีใครกล้าชิม
แต่เรื่องนี้ไม่ได้ทำให้คุณระริน และคุณนทียอมแพ้
พวกเขาเริ่มเอาไอศกรีมไปฝากขายตามร้านกาแฟ รวมถึงออกบูทตามตลาดนัดสินค้าทำมือ
เนื่องจากทั้งสองมองว่าไอศกรีมของพวกเขา ก็เป็นหนึ่งในงานฝีมือเช่นกัน
เพราะวัตถุดิบทุกชิ้นผ่านการคัดสรรมาอย่างตั้งใจ ไม่ได้เน้นใส่กลิ่นใส่สี
โดยเน้นที่รสชาติของไอศกรีมจริงๆ ไม่ใช่เครื่องทอปปิงที่เสริมเข้ามา
ที่สำคัญคือ ทุกรสชาติต้องมีเรื่องราว ดังนั้นไอศกรีมของ Guss Damn Good จึงไม่มีรสวานิลลา ช็อกโกแลต หรือสตรอว์เบอร์รี
ตัวอย่างรสชาติของ ไอศกรีม Guss Damn Good
Why Can’t Coffee Be White? ซึ่งเกิดจากการผสมไอศกรีมกาแฟ แต่กลับได้เนื้อสีขาวแทนสีน้ำตาล
หรือ BONFIRE ไอศกรีมรสคาราเมลที่นำมาเผาจึงมีรสขม ก็เกิดจากความชอบเล่นสโนว์บอร์ดของคุณนที ซึ่งส่วนใหญ่หลังจากเล่นเสร็จทุนคนก็จะมานั่งล้อมวงแล้วจุดกองไฟปิ้งมาร์ชแมลโลว์ ได้รสชาติที่ออกขมเช่นกัน จึงเป็นที่มาของชื่อ BONFIRE
อีกกลยุทธ์ที่น่าสนใจของ Guss Damn Good คือการทำโปรเจกต์ร่วมกับแบรนด์อื่น ผ่านการทำไอศกรีมที่เป็นรสชาติของแบรนด์นั้นๆ เช่น แบรนด์รองเท้า TOMS หรือเครื่องสำอาง Wet n Wild
อย่างไรก็ตาม สำหรับตัวแบรนด์ Guss Damn Good กลับแทบไม่ได้ใช้งบประมาณการตลาดเลย แต่อาศัยการเล่าเรื่องราวและรสชาติของไอศกรีม ทำให้เกิดการบอกปากต่อปากเป็นหลัก
โดยตอนนี้ Guss Damn Good ได้เปิดร้านสาขาของตัวเอง และขยายจนมีหน้าร้านถึง 6 สาขา
แล้วตอนนี้ผลประกอบการของ Guss Damn Good เป็นอย่างไร?
รายได้ย้อนหลังของ บริษัท กัสส์ แดมน์ กู๊ด จำกัด ที่เพิ่งก่อตั้งเมื่อปลายปี 2560
ปี 2560 รายได้ 1,220,807 บาท
ปี 2561 รายได้ 16,145,740 บาท
เรื่องราวของ Guss Damn Good ถือเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจ
สำหรับคนที่อยากมีธุรกิจเป็นของตัวเอง หนึ่งในจุดเริ่มต้นที่ดีที่สุดก็ควรจะเป็นสิ่งที่เรารัก
แต่นอกจากความรักในสิ่งที่ทำแล้ว อีกหนึ่งสิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือความอดทน
เพราะถ้าหากคุณระรินและนทีล้มเลิก ไม่ทำต่อ
วันนี้เราก็คงจะไม่มีโอกาสรู้รสชาติของการไม่ยอมแพ้ จากไอศกรีมรส Don’t Give Up #18 ของพวกเขานั่นเอง..
╔═══════════╗
แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
References
-https://amarinacademy.com/…/interview-review/guss-damn-good/
-https://adaymagazine.com/shop-24/
-https://www.timeout.com/bangkok/restaurants/guss-damn-good
-https://www.maeban.co.th/features_detail.php…
-http://bigmoneymag.com/listed-guss-damn-good-crafted-ice-c…/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Boston#Geography
-กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
同時也有36部Youtube影片,追蹤數超過15萬的網紅pennyccw,也在其Youtube影片中提到,AI's video in 1993 Nike Camp Courtesy to Hoopmixtape Allen Iverson Kobe Bryant Tracy Mcgrady Vince Carter Dwyane Wade Shaq Jermaine O'Neal Gilbe...
boston college 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
GUSS DAMN GOOD ไอศกรีมคนไทย ที่มาไกลจากบอสตัน / โดย ลงทุนแมน
ถ้าใครอยากรู้ว่ารสชาติของการไม่ยอมแพ้เป็นอย่างไร
ให้ลองเดินเข้าร้าน Guss Damn Good
แล้วสั่งไอศกรีมรส Don’t Give Up #18 มาชิม
Guss Damn Good เป็นชื่อของร้านไอศกรีมสัญชาติไทย
แต่มีต้นกำเนิดที่มาไกลถึงสหรัฐอเมริกา
╔═══════════╗
แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
จุดเริ่มต้นของ Guss Damn Good มาจากคน 2 คน
คนแรก คุณระริน ธรรมวัฒนะ ซึ่งเรียนจบมาจากสายการเงิน
รับอาสาออกแบบรสชาติไอศกรีมและทำการตลาด
ส่วนคนที่สอง คุณนที จรัสสุริยงค์ เรียนจบด้านวิศวกรรม
รับหน้าที่สร้างโมเดลตั้งต้นเพื่อคำนวณสูตรไอศกรีมบนโปรแกรม Microsoft Excel
เช่น ต้องใช้ไขมันหรือของเหลวเป็นสัดส่วนเท่าไรเพื่อให้ได้เนื้อไอศกรีมที่ต้องการ
ทั้ง 2 คนมาเจอกันตอนไปเรียนต่อปริญญาโทที่ Babson College เมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีจุดร่วมที่เหมือนกันก็คือ ความชื่นชอบไอศกรีม
ที่น่าสนใจคือ เมืองบอสตันเป็นเมืองหนาว ช่วงที่ร้อนที่สุดคือเดือนกรกฎาคม ซึ่งมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 23 องศาเซลเซียส ส่วนเดือนที่หนาวสุดคือเดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ -1.7 องศาเซลเซียส
ทั้งๆ ที่สภาพอากาศเป็นแบบนี้ แต่ก็ยังมีร้านไอศกรีมเปิดเต็มไปหมด
โดยจุดเด่นของร้านไอศกรีมของเมืองนี้จะเน้นที่รสชาติของไอศกรีมเป็นหลัก ไม่ได้ทานกับทอปปิงเสริม และแม้กระทั่งวันที่หิมะตกหนัก ก็ยังมีคนต่อคิวเพื่อซื้อไอศกรีม
คุณระรินจึงไปถามเพื่อนชาวอเมริกันว่าไม่หนาวเหรอ ซึ่งเธอได้รับคำตอบว่า “ไอศกรีมทำให้เขานึกถึงช่วงเวลาในฤดูร้อน”
ในบางครั้งการทำสินค้าอาจไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในตอนนั้น แต่ถ้าทำให้คนได้สัมผัส แล้วได้ประสบการณ์ อารมณ์ร่วม มันก็น่าจะตอบโจทย์กับผู้บริโภค
เรื่องนี้ทำให้คุณระรินเริ่มสนใจการทำไอศกรีม เพราะนอกจากความอร่อยแล้ว ไอศกรีมยังสร้างอารมณ์และความรู้สึก สามารถทำให้ผู้ทานย้อนไปถึงเรื่องราวต่างๆ ในความทรงจำได้
และตอนนั้นเธอกำลังมองหาช่องทางทำธุรกิจพอดี จึงชวนคุณนที ที่ชื่นชอบไอศกรีมเหมือนกัน ให้มาร่วมด้วย
ทั้งสองตระเวนชิมไอศกรีมไปทั่วบอสตัน ศึกษาจากตำราบ้าง พูดคุยกับเจ้าของร้านบ้าง
จากนั้นก็ทดลองทำไอศกรีม โดยซื้อเครื่องทำไอศกรีมเล็กๆ มาเริ่มทำกันในอะพาร์ตเมนต์
เมื่อกลับเมืองไทยในปี พ.ศ. 2557 ทั้งสองจึงเริ่มทำเป็นธุรกิจอย่างจริงจัง
ลงทุนซื้อเครื่องทำไอศกรีม ตู้เย็น รวมถึงตู้แช่
แต่อุปสรรคที่เกิดขึ้นตอนนั้นก็คือ พวกเขาขายไอศกรีมไม่เป็น
คือรู้ว่าทำทานเล่นกันเองอย่างไร แต่ไม่รู้ว่าถ้าจะทำขายจริงๆ ต้องทำอย่างไร
อย่างไรก็ตาม หลังจากทดลองกันอยู่นาน ทั้งสองก็ได้สูตรไอศกรีมแรกที่มีรสชาติลงตัว
ซึ่งพวกเขาตั้งชื่อรสนี้ว่า Don’t Give up #18
แน่นอนว่าชื่อนี้ต้องมีที่มา..
จริงๆ แล้ว Don’t Give Up #18 เป็นไอศกรีมรสนม ซึ่งเกิดจากความพยายามหาส่วนผสมระหว่างนมและครีมว่ายี่ห้อไหนจะเข้าคู่กันได้ดีที่สุด
โดยเลข 18 มาจากการทดลองครั้งที่ 18 ซึ่งเป็นครั้งที่เริ่มใกล้เคียงกับรสชาติปัจจุบันมากที่สุด
ทั้งสองจึงใช้เลขนี้มาเป็นเครื่องเตือนใจว่าอย่ายอมแพ้
ซึ่งสุดท้ายก็ต้องทดลองกันไปรวมๆ กว่า 30 ครั้ง ถึงจะได้รสชาติที่ต้องการ
หลังจากได้สูตรไอศกรีมแล้ว ทั้งสองก็นำไปออกร้านขายเลยที่ตลาดนัด Flea Market
ผลปรากฏว่า ไม่มีคนซื้อ เพราะลูกค้าไม่รู้จัก จึงไม่มีใครกล้าชิม
แต่เรื่องนี้ไม่ได้ทำให้คุณระริน และคุณนทียอมแพ้
พวกเขาเริ่มเอาไอศกรีมไปฝากขายตามร้านกาแฟ รวมถึงออกบูทตามตลาดนัดสินค้าทำมือ
เนื่องจากทั้งสองมองว่าไอศกรีมของพวกเขา ก็เป็นหนึ่งในงานฝีมือเช่นกัน
เพราะวัตถุดิบทุกชิ้นผ่านการคัดสรรมาอย่างตั้งใจ ไม่ได้เน้นใส่กลิ่นใส่สี
โดยเน้นที่รสชาติของไอศกรีมจริงๆ ไม่ใช่เครื่องทอปปิงที่เสริมเข้ามา
ที่สำคัญคือ ทุกรสชาติต้องมีเรื่องราว ดังนั้นไอศกรีมของ Guss Damn Good จึงไม่มีรสวานิลลา ช็อกโกแลต หรือสตรอว์เบอร์รี
ตัวอย่างรสชาติของ ไอศกรีม Guss Damn Good
Why Can’t Coffee Be White? ซึ่งเกิดจากการผสมไอศกรีมกาแฟ แต่กลับได้เนื้อสีขาวแทนสีน้ำตาล
หรือ BONFIRE ไอศกรีมรสคาราเมลที่นำมาเผาจึงมีรสขม ก็เกิดจากความชอบเล่นสโนว์บอร์ดของคุณนที ซึ่งส่วนใหญ่หลังจากเล่นเสร็จทุนคนก็จะมานั่งล้อมวงแล้วจุดกองไฟปิ้งมาร์ชแมลโลว์ ได้รสชาติที่ออกขมเช่นกัน จึงเป็นที่มาของชื่อ BONFIRE
อีกกลยุทธ์ที่น่าสนใจของ Guss Damn Good คือการทำโปรเจกต์ร่วมกับแบรนด์อื่น ผ่านการทำไอศกรีมที่เป็นรสชาติของแบรนด์นั้นๆ เช่น แบรนด์รองเท้า TOMS หรือเครื่องสำอาง Wet n Wild
อย่างไรก็ตาม สำหรับตัวแบรนด์ Guss Damn Good กลับแทบไม่ได้ใช้งบประมาณการตลาดเลย แต่อาศัยการเล่าเรื่องราวและรสชาติของไอศกรีม ทำให้เกิดการบอกปากต่อปากเป็นหลัก
โดยตอนนี้ Guss Damn Good ได้เปิดร้านสาขาของตัวเอง และขยายจนมีหน้าร้านถึง 6 สาขา
แล้วตอนนี้ผลประกอบการของ Guss Damn Good เป็นอย่างไร?
รายได้ย้อนหลังของ บริษัท กัสส์ แดมน์ กู๊ด จำกัด ที่เพิ่งก่อตั้งเมื่อปลายปี 2560
ปี 2560 รายได้ 1,220,807 บาท
ปี 2561 รายได้ 16,145,740 บาท
เรื่องราวของ Guss Damn Good ถือเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจ
สำหรับคนที่อยากมีธุรกิจเป็นของตัวเอง หนึ่งในจุดเริ่มต้นที่ดีที่สุดก็ควรจะเป็นสิ่งที่เรารัก
แต่นอกจากความรักในสิ่งที่ทำแล้ว อีกหนึ่งสิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือความอดทน
เพราะถ้าหากคุณระรินและนทีล้มเลิก ไม่ทำต่อ
วันนี้เราก็คงจะไม่มีโอกาสรู้รสชาติของการไม่ยอมแพ้ จากไอศกรีมรส Don’t Give Up #18 ของพวกเขานั่นเอง..
╔═══════════╗
แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
References
-https://amarinacademy.com/1123/interview-review/guss-damn-good/
-https://adaymagazine.com/shop-24/
-https://www.timeout.com/bangkok/restaurants/guss-damn-good
-https://www.maeban.co.th/features_detail.php?id=480&fbclid=IwAR2XKPygLPRrhb7Wi76qIdtswqY0evnaR1NO_BcPPMEtrzrEsKgcUJVqDeA
-http://bigmoneymag.com/listed-guss-damn-good-crafted-ice-cream/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Boston#Geography
-กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
boston college 在 曾沛慈 Pets Tseng Facebook 八卦
在一成不變的生活裡,看看這樣的影片和音樂,好像真的跟著一起去旅行了⋯
#重點是我想出去玩哈哈哈
《Electro 360 Session》-【Live in Boston】
你用這樣的角度跟音樂看過波士頓嗎?
利用這次到 Berklee College of Music參加Fiveweeks的課程,
完成了第一首獨立製作的電音作品;
搭配360度攝影技術呈現,
期望讓你們能更直接感受波士頓這個城市。
I produced this piece of electronic work after attending Fiveweeks lecture in Berklee College of Music. The clip was captured with 360 degree filming technique in order to let you experience Boston directly.
☆360眼力大考驗抽獎活動:
--------------------------------
只要你分享這個影片至你的Facebook塗鴉牆上,
並回答下列問題就有機會得到來自波士頓的精美禮物。
1.請問 蔡琴 出現在影片中幾分幾秒?(答案正負三秒內)
2.請問 我在1:36時手指指的路牌名稱是?
3.請問 1:56秒至1:58之間我經過的 Fenway Park球場牆邊,
紅襪隊Boston Red Sox最早的冠軍年份是?
希望大家能夠踴躍參與分享抽獎,
也希望你們喜歡這隻很辛苦才完成的作品。
Hope you enjoy my music video,
and please share the post if you like it.
P.S.
Music & Film by P.S.黃柏勳
Special thanx to 得體夫婦
Power by 敲開勳音樂工作室 Super Happy Music Studio
Camera 360fly
boston college 在 pennyccw Youtube 的評價
AI's video in 1993 Nike Camp
Courtesy to Hoopmixtape
Allen Iverson Kobe Bryant Tracy Mcgrady Vince Carter Dwyane Wade Shaq Jermaine O'Neal Gilbert Arenas Tim Duncan Kevin Garnett Yao Ming Chris Bosh Steve Nash Lebron James Carmelo Anthony Chris Webber Dennis Rodman Steve Francis Stephon Marbury Shawn Marion Amare Stoudemire Michael Jordan Scottie Pippen Charles Barkley Larry Bird Magic Johnson Karl Malone John Stockton
Boston Celtics New Jersey Nets New York Knicks Philadelphia 76ers Toronto Raptors Chicago Bulls
Cleveland Cavaliers Detroit Pistons
Indiana Pacers Milwaukee Bucks Atlanta Hawks Charlotte Bobcats Miami Heat Orlando Magic Washington Wizards
Dallas Mavericks Houston Rockets Memphis Grizzlies NO/Okla. City Hornets San Antonio Spurs Denver Nuggets Minnesota Timberwolves Portland Trail Blazers Seattle SuperSonics Utah Jazz Golden State Warriors Los Angeles Clippers Los Angeles Lakers Phoenix Suns Sacramento Kings
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/KpPKhUQnIic/hqdefault.jpg)
boston college 在 pennyccw Youtube 的評價
For those who were there at McDonough Gymnasium on August 4, 1994, few will forget the arrival of a 6-0 freshman guard who needed no introduction. The rumors of Allen Iverson's arrival to the Kenner Summer League were true, and by game's end, Iverson had scored 40 points. By the Sunday afternoon final, before an overflow crowd inside the gym and a crowd of those outside who could not get in, Iverson finished a combined 99 point effort in three days against some of the best collegiate talent in the city. This, of course, from a player that had not played organized basketball in over a year. The Allen Iverson years had begun. A brief profile can't do justice to tell the story of one of the greatest pure athletes ever to attend Georgetown, a man without peer in his talent over two years at the collegiate level. Just a year before his Kenner debut, few would have imagined Allen Iverson ever playing college basketball. Iverson was not only a 31 point a game guard for Bethel HS, but a football player of tremendous skill. As a quarterback and defensive back his sophomore season, he produced nearly 1,600 yards offense and 13 INT's. By his junior year, he accounted for 2,204 yards, 21 touchdowns by rush or interception, and 14 touchdown passes. In a region which has produced NFL quarterbacks such as Michael Vick and Aaron Brooks, there are those who will still say "Bubbachuck" Iverson was better than both of them. Schools such as Arkansas, Kentucky, Duke, and three dozen other top programs across two sports were vying for perhaps the greatest two-sport star the Tidewater had ever produced. When he led Bethel to the state title, someone asked what it was like to win the title. "I'm going to get one in basketball now," which he did. In late February, 1993, en route to the state title he had promised, Iverson was one of a large group of Bethel teammates at a Hampton bowling alley when a fight broke out between students from rival schools trading racial insults. Three people were hurt in the aftermath. Despite conflicting testimony from eyewitnesses and no clear evidence linking him to the crime, Iverson was one of four black students arrested. Racial tensions were heightened when the prosecutors passed on a misdemeanor assault charge and charged Iverson with three counts of felony "maiming by mob", which carried a 20 year prison sentence. Despite video evidence which did not place Iverson in the crowd at the time of the fight, he was convicted in a racially charged case. The 20 year sentence was later reduced to five, and Iverson was granted clemency by Gov. Douglas Wilder three months later, sending Iverson to a detention program at an alternative high school. (The original charges were thrown out by the Virginia court of appeals in 1995.) In the spring of 1994, with Iverson still in detention, his mother approached John Thompson with a plea to help her son get to college and start a new chapter of his life. Though Thompson had passed on a number of troubled players in the past, he offered Iverson a scholarship in April of that season, contingent upon his completion of high school and his legal release, which was granted 48 hours before his Kenner debut. By his debut in a Georgetown uniform in November 1994, Iverson had been the subject of intense national media attention. In the Hoyas' annual exhibition with Fort Hood, Iverson scored 36 points, five assists, and three steals in 23 minutes. Local columnists were in awe. "Hang his number up in the rafters," wrote Tom Knott of the Washington Times. "He's better than most of the point guards in the NBA right now." Allen Iverson Kobe Bryant Tracy Mcgrady Vince Carter Dwyane Wade Shaq Jermaine O'Neal Gilbert Arenas Tim Duncan Kevin Garnett Yao Ming Chris Bosh Steve Nash Lebron James Carmelo Anthony Chris Webber Dennis Rodman Steve Francis Stephon Marbury Shawn Marion Amare Stoudemire Michael Jordan Scottie Pippen Charles Barkley Larry Bird Magic Johnson Karl Malone John Stockton Boston Celtics New Jersey Nets New York Knicks Philadelphia 76ers Toronto Raptors Chicago Bulls Cleveland Cavaliers Detroit Pistons Indiana Pacers Milwaukee Bucks Atlanta Hawks Charlotte Bobcats Miami Heat Orlando Magic Washington Wizards Dallas Mavericks Houston Rockets Memphis Grizzlies NO/Okla. City Hornets San Antonio Spurs Denver Nuggets Minnesota Timberwolves Portland Trail Blazers Seattle SuperSonics Utah Jazz Golden State Warriors Los Angeles Clippers Los Angeles Lakers Phoenix Suns Sacramento Kings
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/BGw8mnHI6IA/hqdefault.jpg)
boston college 在 pennyccw Youtube 的評價
Comparison between Iverson & Stephon Marbury before the 1996 NBA Draft
Allen Iverson Kobe Bryant Tracy Mcgrady Vince Carter Dwyane Wade Shaq Jermaine O'Neal Gilbert Arenas Tim Duncan Kevin Garnett Yao Ming Chris Bosh Steve Nash Lebron James Carmelo Anthony Chris Webber Dennis Rodman Steve Francis Stephon Marbury Shawn Marion Amare Stoudemire Michael Jordan Scottie Pippen Charles Barkley Larry Bird Magic Johnson Karl Malone John Stockton
Boston Celtics New Jersey Nets New York Knicks Philadelphia 76ers Toronto Raptors Chicago Bulls
Cleveland Cavaliers Detroit Pistons
Indiana Pacers Milwaukee Bucks Atlanta Hawks Charlotte Bobcats Miami Heat Orlando Magic Washington Wizards
Dallas Mavericks Houston Rockets Memphis Grizzlies NO/Okla. City Hornets San Antonio Spurs Denver Nuggets Minnesota Timberwolves Portland Trail Blazers Seattle SuperSonics Utah Jazz Golden State Warriors Los Angeles Clippers Los Angeles Lakers Phoenix Suns Sacramento Kings
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/3et5gt9mKns/hqdefault.jpg)
boston college 在 Boston College - YouTube 的八卦
This is the official channel of Boston College, a Jesuit Catholic university dedicated to uniting academic excellence with leadership and service to society ... ... <看更多>