By now, you have probably heard about my father’s red box. Minister Heng Swee Keat posted about it last week. The red box was a fixture of my father’s work routine. It is now on display at the National Museum of Singapore in his memorial exhibition.
Some of my father’s other personal items are there too. His barrister’s wig (of horsehair) from when he was admitted to the Bar. And a Rolex Oyster Perpetual watch given to him by the Singapore Union of Postal and Telecommunications Workers after he represented them in the famous postmen’s strike in 1952.
I enjoyed my visit to the exhibition a few days ago. Was happy to hear that many of you went yesterday. The exhibition will be on until 26 April. – LHL
MR LEE'S RED BOX
Mr Lee Kuan Yew had a red box. When I worked as Mr Lee’s Principal Private Secretary, or PPS, a good part of my daily life revolved around the red box. Before Mr Lee came in to work each day, the locked red box would arrive first, at about 9 am.
As far as the various officers who have worked with Mr Lee can remember, he had it for many, many years. It is a large, boxy briefcase, about fourteen centimetres wide. Red boxes came from the British government, whose Ministers used them for transporting documents between government offices. Our early Ministers had red boxes, but Mr Lee is the only one I know who used his consistently through the years. When I started working for Mr Lee in 1997, it was the first time I saw a red box in use. It is called the red box but is more a deep wine colour, like the seats in the chamber in Parliament House.
This red box held what Mr Lee was working on at any one time. Through the years, it held his papers, speech drafts, letters, readings, and a whole range of questions, reflections, and observations. For example, in the years that Mr Lee was working on his memoirs, the red box carried the multiple early drafts back and forth between his home and the office, scribbled over with his and Mrs Lee’s notes.
For a long time, other regular items in Mr Lee’s red box were the cassette tapes that held his dictated instructions and thoughts for later transcription. Some years back, he changed to using a digital recorder.
The red box carried a wide range of items. It could be communications with foreign leaders, observations about the financial crisis, instructions for the Istana grounds staff, or even questions about some trees he had seen on the expressway. Mr Lee was well-known for keeping extremely alert to everything he saw and heard around him – when he noticed something wrong, like an ailing raintree, a note in the red box would follow.
We could never anticipate what Mr Lee would raise – it could be anything that was happening in Singapore or the world. But we could be sure of this: it would always be about how events could affect Singapore and Singaporeans, and how we had to stay a step ahead. Inside the red box was always something about how we could create a better life for all.
We would get to work right away. Mr Lee’s secretaries would transcribe his dictated notes, while I followed up on instructions that required coordination across multiple government agencies. Our aim was to do as much as we could by the time Mr Lee came into the office later.
While we did this, Mr Lee would be working from home. For example, during the time that I worked with him (1997-2000), the Asian Financial Crisis ravaged many economies in our region and unleashed political changes. It was a tense period as no one could tell how events would unfold. Often, I would get a call from him to check certain facts or arrange meetings with financial experts.
In the years that I worked for him, Mr Lee’s daily breakfast was a bowl of dou hua (soft bean curd), with no syrup. It was picked up and brought home in a tiffin carrier every morning, from a food centre near Mr Lee’s home. He washed it down with room-temperature water. Mr Lee did not take coffee or tea at breakfast.
When Mr Lee came into the office, the work that had come earlier in the red box would be ready for his review, and he would have a further set of instructions for our action.
From that point on, the work day would run its normal course. Mr Lee read the documents and papers, cleared his emails, and received official calls by visitors. I was privileged to sit in for every meeting he conducted. He would later ask me what I thought of the meetings – it made me very attentive to every word that was said, and I learnt much from Mr Lee.
Evening was Mr Lee’s exercise time. Mr Lee has described his extensive and disciplined exercise regime elsewhere. It included the treadmill, rowing, swimming and walking – with his ears peeled to the evening news or his Mandarin practice tapes. He would sometimes take phone calls while exercising.
He was in his 70s then. In more recent years, being less stable on his feet, Mr Lee had a simpler exercise regime. But he continued to exercise. Since retiring from the Minister Mentor position in 2011, Mr Lee was more relaxed during his exercises. Instead of listening intently to the news or taking phone calls, he shared his personal stories and joked with his staff.
While Mr Lee exercised, those of us in the office would use that time to focus once again on the red box, to get ready all the day’s work for Mr Lee to take home with him in the evening. Based on the day’s events and instructions, I tried to get ready the materials that Mr Lee might need. It sometimes took longer than I expected, and occasionally, I had to ask the security officer to come back for the red box later.
While Mrs Lee was still alive, she used to drop by the Istana at the end of the day, in order to catch a few minutes together with Mr Lee, just to sit and look at the Istana trees that they both loved. They chatted about what many other old couples would talk about. They discussed what they should have for dinner, or how their grandchildren were doing.
Then back home went Mr Lee, Mrs Lee and the red box. After dinner, Mr and Mrs Lee liked to take a long stroll. In his days as Prime Minister, while Mrs Lee strolled, Mr Lee liked to ride a bicycle. It was, in the words of those who saw it, “one of those old man bicycles”. None of us who have worked at the Istana can remember him ever changing his bicycle. He did not use it in his later years, as he became frail, but I believe the “old man bicycle” is still around somewhere.
After his dinner and evening stroll, Mr Lee would get back to his work. That was when he opened the red box and worked his way through what we had put into it in the office.
Mr Lee’s study is converted out of his son’s old bedroom. His work table is a simple, old wooden table with a piece of clear glass placed over it. Slipped under the glass are family memorabilia, including a picture of our current PM from his National Service days. When Mrs Lee was around, she stayed up reading while Mr Lee worked. They liked to put on classical music while they stayed up.
In his days as PM, Mr Lee’s average bedtime was three-thirty in the morning. As Senior Minister and Minister Mentor, he went to sleep after two in the morning. If he had to travel for an official visit the next day, he might go to bed at one or two in the morning.
Deep into the night, while the rest of Singapore slept, it was common for Mr Lee to be in full work mode.
Before he went to bed, Mr Lee would put everything he had completed back in the red box, with clear pointers on what he wished for us to do in the office. The last thing he did each day was to place the red box outside his study room. The next morning, the duty security team picked up the red box, brought it to us waiting in the office, and a new day would begin.
Let me share two other stories involving the red box.
In 1996, Mr Lee underwent balloon angioplasty to insert a stent. It was his second heart operation in two months, after an earlier operation to widen a coronary artery did not work. After the operation, he was put in the Intensive Care Unit for observation. When he regained consciousness and could sit up in bed, he asked for his security team. The security officer hurried into the room to find out what was needed. Mr Lee asked, “Can you pass me the red box?”
Even at that point, Mr Lee’s first thought was to continue working. The security officer rushed the red box in, and Mr Lee asked to be left to his work. The nurses told the security team that other patients of his age, in Mr Lee’s condition, would just rest. Mr Lee was 72 at the time.
In 2010, Mr Lee was hospitalised again, this time for a chest infection. While he was in the hospital, Mrs Lee passed away. Mr Lee has spoken about his grief at Mrs Lee’s passing. As soon as he could, he left the hospital to attend the wake at Sri Temasek.
At the end of the night, he was under doctor’s orders to return to the hospital. But he asked his security team if they could take him to the Singapore River instead. It was late in the night, and Mr Lee was in mourning. His security team hastened to give a bereaved husband a quiet moment to himself.
As Mr Lee walked slowly along the bank of the Singapore River, the way he and Mrs Lee sometimes did when she was still alive, he paused. He beckoned a security officer over. Then he pointed out some trash floating on the river, and asked, “Can you take a photo of that? I’ll tell my PPS what to do about it tomorrow.” Photo taken, he returned to the hospital.
I was no longer Mr Lee’s PPS at the time. I had moved on to the Monetary Authority of Singapore, to continue with the work to strengthen our financial regulatory system that Mr Lee had started in the late 1990s. But I can guess that Mr Lee probably had some feedback on keeping the Singapore River clean. I can also guess that the picture and the instructions were ferried in Mr Lee’s red box the next morning to the office. Even as Mr Lee lay in the hospital. Even as Mrs Lee lay in state.
The security officers with Mr Lee were deeply touched. When I heard about these moments, I was also moved.
I have taken some time to describe Mr Lee’s red box. The reason is that, for me, it symbolises Mr Lee’s unwavering dedication to Singapore so well. The diverse contents it held tell us much about the breadth of Mr Lee’s concerns – from the very big to the very small; the daily routine of the red box tells us how Mr Lee’s life revolved around making Singapore better, in ways big and small.
By the time I served Mr Lee, he was the Senior Minister. Yet he continued to devote all his time to thinking about the future of Singapore. I could only imagine what he was like as Prime Minister. In policy and strategy terms, he was always driving himself, me, and all our colleagues to think about what each trend and development meant for Singapore, and how we should respond to it in order to secure Singapore’s wellbeing and success.
As his PPS, I saw the punishing pace of work that Mr Lee set himself. I had a boss whose every thought and every action was for Singapore.
But it takes private moments like these to bring home just how entirely Mr Lee devoted his life to Singapore.
In fact, I think the best description comes from the security officer who was with Mr Lee both of those times. He was on Mr Lee’s team for almost 30 years. He said of Mr Lee: “Mr Lee is always country, country, country. And country.”
This year, Singapore turns 50. Mr Lee would have turned 92 this September. Mr Lee entered the hospital on 5 February 2015. He continued to use his red box every day until 4 February 2015.
(Photo: MCI)
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過147萬的網紅Kento Bento,也在其Youtube影片中提到,Our Merch: https://standard.tv/kentobento Our Patreon: https://patreon.com/kentobento Nebula: https://watchnebula.com/kentobento Twitter: https://tw...
asian development bank 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
ศรีลังกา ประเทศที่เคย “รวย” กว่าไทย /โดย ลงทุนแมน
ประเทศนี้เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ถูกเรียกว่า “ซีลอน”
ปฏิเสธไม่ได้ว่า อังกฤษได้เข้ามาวางรากฐานหลายๆ อย่างให้กับประเทศเกาะเล็กๆ แห่งนี้
ทั้งระบบการศึกษา ถนน และทางรถไฟที่ครอบคลุมทั่วทั้งเกาะ
จนทำให้หลังได้รับเอกราช
ศรีลังกาเป็นหนึ่งในประเทศที่มีระบบการศึกษาดีเป็นอันดับต้นๆ ของเอเชีย
เมื่อ 60 ปีที่แล้ว คนศรีลังกามี GDP ต่อหัวมากกว่าคนไทยเกือบ 1.5 เท่า
ปี 1960 GDP ต่อหัวของคนศรีลังกาอยู่ที่ 3,010 บาทต่อปี
ในขณะที่ GDP ต่อหัวของคนไทยมีเพียง 2,140 บาทต่อปี
เกาะแห่งนี้เป็นแหล่งเพาะปลูกชาที่สำคัญของโลก ซึ่งเราคุ้นหูกันว่า ชาซีลอน
มีทั้งอัญมณีเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญ
มีทำเลที่ตั้งเป็นจุดยุทธศาสตร์ของการขนส่งกลางมหาสมุทรอินเดีย
ทั้งๆ ที่ทุกอย่างดูเหมือนจะไปได้ดี..
แต่ศรีลังกากลับต้องประสบปัญหาที่นำมาสู่สงครามกลางเมืองที่ยาวนานเกือบ 30 ปี
ฉุดให้เศรษฐกิจของประเทศไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร
จนทำให้คนศรีลังกามี GDP ต่อหัวอยู่ที่ 122,770 บาท ในปี 2018
ซึ่งน้อยกว่าคนไทยถึง 2 เท่า
ปัญหาที่ว่านั้นคืออะไร?
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ ซีรีส์บทความ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอน ศรีลังกา
╔═══════════╗
Blockdit แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ปัญหาที่กัดกร่อนเศรษฐกิจของศรีลังกามาตลอดก็คือ “ความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติ”
ประชากรศรีลังกาแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ 2 กลุ่ม ได้แก่
ชาวสิงหล ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีสัดส่วน 74% ของประชากรทั้งหมด
ชาวทมิฬ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดู มีสัดส่วน 18% ของประชากรทั้งหมด
ยังมีชาวมัวร์ที่นับถือศาสนาอิสลามอีกประมาณ 7%
โดยปัญหาระหว่างชาวสิงหลกับชาวทมิฬ มีรากฐานมาตั้งแต่ครั้งศรีลังกายังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ และใช้ชื่อว่า ซีลอน
แม้อังกฤษจะช่วยวางรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งระบบการศึกษา ระบบขนส่ง และการทำการเกษตร แต่ภาคการเกษตรโดยเฉพาะไร่ชาขนาดใหญ่นั้น
ต้องการแรงงานจำนวนมาก
ชาวสิงหล และชาวทมิฬเดิม ซึ่งเป็นชาวพื้นเมืองของซีลอน ไม่สนใจทำงานในไร่ชาของอังกฤษ
อังกฤษจึงได้นำแรงงานชาวทมิฬอินเดีย ซึ่งเป็นชาวพื้นเมืองทางตอนใต้ของอินเดีย
เข้ามาทำงานในไร่ชาที่เกาะซีลอน
และสิ่งนี้เองที่สร้างรอยร้าวให้กับผู้คนบนเกาะแห่งนี้
ชาวทมิฬอินเดียที่ถูกนำเข้ามาทำงานในไร่ของอังกฤษ
มักได้รับสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจที่ดีกว่าชาวพื้นเมืองเดิม
โรงเรียนแบบตะวันตกส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือ ซึ่งมีชาวทมิฬอาศัยอยู่หนาแน่น
ชาวทมิฬจึงได้รับการศึกษาที่ดีกว่า
นำมาสู่ความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษาและการประกอบอาชีพของคนทั้ง 2 กลุ่ม
หลังจากซีลอนได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 1948
แม้เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม จะค่อยๆ พัฒนาขึ้นตามลําดับ
แต่ความขัดแย้งระหว่างชาวสิงหลกับชาวทมิฬยังคงอยู่
ชาวทมิฬซึ่งมีการศึกษาดีกว่า ฐานะดีกว่า ผูกขาดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
สร้างความไม่พอใจให้กับชาวสิงหล ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
เมื่อรัฐบาลที่ได้รับเลือกตั้งเป็นชาวสิงหล
จึงมีการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก ซีลอน มาเป็น ศรีลังกา ในปี 1972
พร้อมกับการกำหนดให้ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ
และเริ่มดำเนินนโยบายกีดกันชาวทมิฬ ทั้งการบังคับไม่ให้มีการเรียนการสอนภาษาทมิฬ
การบรรจุเข้ารับราชการต้องใช้ภาษาสิงหลเท่านั้น
ทำให้เกิดการต่อต้านรุนแรงจากชาวทมิฬ
ชาวทมิฬจึงมารวมกันอยู่ทางตอนเหนือของประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ
จนมีการก่อตั้ง กลุ่มเสรีภาพพยัคฆ์ทมิฬอีแลม (Liberation Tigers of Tamil Ealam) ในปี 1976
จุดประสงค์หลักของการก่อตั้งกลุ่มนี้ คือ การแบ่งแยกดินแดนทางตอนเหนือของศรีลังกา
ซึ่งประชากร 3 ล้านคนส่วนใหญ่เป็นชาวทมิฬ
กลุ่มพยัคฆ์ทมิฬอีแลมมีกองทัพเป็นของตัวเอง
มีกองกำลังครบทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ มีการฝึกซ้อมทหารเข้ารบอย่างเป็นระบบ
เพื่อผลิตคนที่มีความเชี่ยวชาญในการโจมตี
โดยมีเงินทุนสนับสนุนจากชาวทมิฬที่ตั้งรกรากในยุโรปและสหรัฐอเมริกา
และจากธุรกิจผิดกฎหมาย
จนกระทั่งในปี 1983 เหตุการณ์ได้รุนแรงถึงขั้นลุกลามกลายเป็นสงครามกลางเมือง
กลุ่มกบฏพยัคฆ์ทมิฬอีแลม ได้ประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับรัฐบาล
วิธีการต่อสู้ของกลุ่มกบฏที่แพร่หลายที่สุดก็คือ การก่อการร้ายโดยการก่อวินาศกรรม
และการระเบิดพลีชีพ
ตลอดระยะเวลาการสู้รบที่ยาวนานนับตั้งแต่ปี 1983 - 2009
ผลจากสงครามทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง 65,000 คน
และผู้คนนับล้านต้องลี้ภัย และสูญเสียทรัพย์สิน
เศรษฐกิจของศรีลังกาได้รับผลกระทบอย่างหนัก
ทั้งภาคการท่องเที่ยวและภาคการผลิต
ในภาคการท่องเที่ยว ศรีลังกาเป็นแหล่งวัฒนธรรม มีทั้งโบราณสถาน เมืองเก่า
และชายหาดที่สวยงาม
แต่จากเหตุการณ์ก่อการร้าย
ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ มีอยู่เพียง 300,000 - 500,000 คนต่อปี
ตลอดช่วงเวลายาวนานของสงคราม
ในภาคการผลิต ความรุนแรงจากสงครามกลางเมืองทำให้ศรีลังกาดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติได้น้อย
อุตสาหกรรมหลักของประเทศมีเพียงอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซึ่งถือเป็นสินค้าส่งออกหลักของประเทศจวบจนปัจจุบัน
ทั้งที่ศักยภาพและการศึกษาของแรงงานชาวศรีลังกาสามารถพัฒนาไปได้ไกลกว่านี้
เมื่อสินค้าส่งออกหลักมีเพียง สิ่งทอ ชา อัญมณี
ในขณะที่ศรีลังกาจำเป็นต้องนำเข้าสินค้ามากมาย
ทั้งอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ เครื่องจักร และเชื้อเพลิง
ศรีลังกาจึงขาดดุลการค้าอย่างต่อเนื่องยาวนานมานับตั้งแต่ปี 1983
การขาดดุลการค้าทำให้เงินตราต่างประเทศร่อยหรอ
ในขณะที่รัฐบาลต้องมีค่าใช้จ่ายในงบประมาณป้องกันประเทศที่สูงถึง 6% ของ GDP ในปี 1995 ซึ่งเป็นช่วงที่สงครามกลางเมืองรุนแรงที่สุด
รัฐบาลจึงจำเป็นต้องกู้เงินจากต่างประเทศ
หนี้สาธารณะของศรีลังกาจึงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนมาอยู่ที่ระดับ 86% ของ GDP ในปี 2009
แต่อย่างไรก็ตาม ในปี 2009 นี้เอง
กองทัพศรีลังกาภายใต้การนำของรัฐบาล นายมหินทรา ราชปักษา
ได้บุกปิดล้อมปราบปรามกลุ่มพยัคฆ์ทมิฬอีแลมอย่างหนัก
จนทำให้ฝ่ายกบฏต้องยอมยุติการสู้รบกับฝ่ายรัฐบาล
เป็นการยุติสงครามกลางเมืองที่ยาวนานมากว่า 26 ปี
หลังสงครามกลางเมือง เศรษฐกิจของศรีลังกาเริ่มดีขึ้น อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้น
มีการลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะจากอินเดีย
ในขณะที่ภาคการท่องเที่ยวก็เติบโตขึ้น จนมีนักท่องเที่ยวมาเยือนศรีลังกากว่า 2.3 ล้านคน ในปี 2018
GDP ที่เพิ่มขึ้น ทำให้สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP เริ่มลดลง
แต่อย่างไรก็ตาม ศรีลังกาจำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ถูกทำลายไปในช่วงสงคราม
ทำให้สัดส่วนหนี้สาธารณะกลับมาเพิ่มสูงอีกครั้ง
ในขณะที่ความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติครั้งใหม่ก็ได้ปะทุขึ้นอีกครั้ง
แต่ครั้งนี้ไม่ใช่ระหว่างชาวพุทธกับชาวฮินดู
แต่เป็นปัญหาระหว่างชาวพุทธกับชาวมุสลิม..
ก็เป็นที่น่าติดตามต่อไป ว่าเศรษฐกิจของศรีลังกาจะเป็นอย่างไร
ท่ามกลางความขัดแย้งครั้งใหม่ที่ก่อตัวขึ้น..
ในสัปดาห์หน้า จะเป็นตอนสุดท้าย ของซีรีส์ประเทศที่เคย “รวย” กว่าไทย
เป็นเรื่องราวของประเทศหนึ่ง ที่เคยเป็นที่ตั้งของจักรวรรดิโบราณแห่งเทือกเขาแอนดีส
มีทรัพยากรธรรมชาติอย่างแร่ทองแดงเป็นสินค้าส่งออกสำคัญ
ผู้คนในประเทศนี้เคยมี GDP ต่อหัวมากกว่าคนไทยถึง 2.5 เท่า
แต่ทุกวันนี้กลับจนกว่าไทย
ประเทศนั้นคือ “สาธารณรัฐเปรู”...
ติดตาม ซีรีส์ ประเทศที่ เคย “รวย” กว่า ไทย ตอนต่อไปได้ในสัปดาห์หน้า
โหลดแอป Blockdit เพื่ออ่านซีรีส์ตอนก่อนหน้านี้ ได้ที่ Blockdit.com/download
╔═══════════╗
Blockdit แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
References
-The Sri Lankan Economy: Charting a New Course, ASIAN DEVELOPMENT BANK
-รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report) สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา, มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
-ทมิฬอีแลม (Tamil Eelam) : ปัญหาชาติพันธุ์ในศรีลังกา, ผศ.ดร.วงเดือน นาราสัจจ์
-https://www.indexmundi.com/f…/sri-lanka/military-expenditure
-https://www.ceicdata.com/…/indicator/sri-lanka/trade-balance
asian development bank 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
ศรีลังกา ประเทศที่เคย “รวย” กว่าไทย /โดย ลงทุนแมน
ประเทศนี้เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ถูกเรียกว่า “ซีลอน”
ปฏิเสธไม่ได้ว่า อังกฤษได้เข้ามาวางรากฐานหลายๆ อย่างให้กับประเทศเกาะเล็กๆ แห่งนี้
ทั้งระบบการศึกษา ถนน และทางรถไฟที่ครอบคลุมทั่วทั้งเกาะ
จนทำให้หลังได้รับเอกราช
ศรีลังกาเป็นหนึ่งในประเทศที่มีระบบการศึกษาดีเป็นอันดับต้นๆ ของเอเชีย
เมื่อ 60 ปีที่แล้ว คนศรีลังกามี GDP ต่อหัวมากกว่าคนไทยเกือบ 1.5 เท่า
ปี 1960 GDP ต่อหัวของคนศรีลังกาอยู่ที่ 3,010 บาทต่อปี
ในขณะที่ GDP ต่อหัวของคนไทยมีเพียง 2,140 บาทต่อปี
เกาะแห่งนี้เป็นแหล่งเพาะปลูกชาที่สำคัญของโลก ซึ่งเราคุ้นหูกันว่า ชาซีลอน
มีทั้งอัญมณีเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญ
มีทำเลที่ตั้งเป็นจุดยุทธศาสตร์ของการขนส่งกลางมหาสมุทรอินเดีย
ทั้งๆ ที่ทุกอย่างดูเหมือนจะไปได้ดี..
แต่ศรีลังกากลับต้องประสบปัญหาที่นำมาสู่สงครามกลางเมืองที่ยาวนานเกือบ 30 ปี
ฉุดให้เศรษฐกิจของประเทศไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร
จนทำให้คนศรีลังกามี GDP ต่อหัวอยู่ที่ 122,770 บาท ในปี 2018
ซึ่งน้อยกว่าคนไทยถึง 2 เท่า
ปัญหาที่ว่านั้นคืออะไร?
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ ซีรีส์บทความ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอน ศรีลังกา
╔═══════════╗
Blockdit แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ปัญหาที่กัดกร่อนเศรษฐกิจของศรีลังกามาตลอดก็คือ “ความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติ”
ประชากรศรีลังกาแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ 2 กลุ่ม ได้แก่
ชาวสิงหล ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีสัดส่วน 74% ของประชากรทั้งหมด
ชาวทมิฬ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดู มีสัดส่วน 18% ของประชากรทั้งหมด
ยังมีชาวมัวร์ที่นับถือศาสนาอิสลามอีกประมาณ 7%
โดยปัญหาระหว่างชาวสิงหลกับชาวทมิฬ มีรากฐานมาตั้งแต่ครั้งศรีลังกายังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ และใช้ชื่อว่า ซีลอน
แม้อังกฤษจะช่วยวางรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งระบบการศึกษา ระบบขนส่ง และการทำการเกษตร แต่ภาคการเกษตรโดยเฉพาะไร่ชาขนาดใหญ่นั้น
ต้องการแรงงานจำนวนมาก
ชาวสิงหล และชาวทมิฬเดิม ซึ่งเป็นชาวพื้นเมืองของซีลอน ไม่สนใจทำงานในไร่ชาของอังกฤษ
อังกฤษจึงได้นำแรงงานชาวทมิฬอินเดีย ซึ่งเป็นชาวพื้นเมืองทางตอนใต้ของอินเดีย
เข้ามาทำงานในไร่ชาที่เกาะซีลอน
และสิ่งนี้เองที่สร้างรอยร้าวให้กับผู้คนบนเกาะแห่งนี้
ชาวทมิฬอินเดียที่ถูกนำเข้ามาทำงานในไร่ของอังกฤษ
มักได้รับสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจที่ดีกว่าชาวพื้นเมืองเดิม
โรงเรียนแบบตะวันตกส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือ ซึ่งมีชาวทมิฬอาศัยอยู่หนาแน่น
ชาวทมิฬจึงได้รับการศึกษาที่ดีกว่า
นำมาสู่ความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษาและการประกอบอาชีพของคนทั้ง 2 กลุ่ม
หลังจากซีลอนได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 1948
แม้เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม จะค่อยๆ พัฒนาขึ้นตามลําดับ
แต่ความขัดแย้งระหว่างชาวสิงหลกับชาวทมิฬยังคงอยู่
ชาวทมิฬซึ่งมีการศึกษาดีกว่า ฐานะดีกว่า ผูกขาดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
สร้างความไม่พอใจให้กับชาวสิงหล ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
เมื่อรัฐบาลที่ได้รับเลือกตั้งเป็นชาวสิงหล
จึงมีการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก ซีลอน มาเป็น ศรีลังกา ในปี 1972
พร้อมกับการกำหนดให้ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ
และเริ่มดำเนินนโยบายกีดกันชาวทมิฬ ทั้งการบังคับไม่ให้มีการเรียนการสอนภาษาทมิฬ
การบรรจุเข้ารับราชการต้องใช้ภาษาสิงหลเท่านั้น
ทำให้เกิดการต่อต้านรุนแรงจากชาวทมิฬ
ชาวทมิฬจึงมารวมกันอยู่ทางตอนเหนือของประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ
จนมีการก่อตั้ง กลุ่มเสรีภาพพยัคฆ์ทมิฬอีแลม (Liberation Tigers of Tamil Ealam) ในปี 1976
จุดประสงค์หลักของการก่อตั้งกลุ่มนี้ คือ การแบ่งแยกดินแดนทางตอนเหนือของศรีลังกา
ซึ่งประชากร 3 ล้านคนส่วนใหญ่เป็นชาวทมิฬ
กลุ่มพยัคฆ์ทมิฬอีแลมมีกองทัพเป็นของตัวเอง
มีกองกำลังครบทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ มีการฝึกซ้อมทหารเข้ารบอย่างเป็นระบบ
เพื่อผลิตคนที่มีความเชี่ยวชาญในการโจมตี
โดยมีเงินทุนสนับสนุนจากชาวทมิฬที่ตั้งรกรากในยุโรปและสหรัฐอเมริกา
และจากธุรกิจผิดกฎหมาย
จนกระทั่งในปี 1983 เหตุการณ์ได้รุนแรงถึงขั้นลุกลามกลายเป็นสงครามกลางเมือง
กลุ่มกบฏพยัคฆ์ทมิฬอีแลม ได้ประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับรัฐบาล
วิธีการต่อสู้ของกลุ่มกบฏที่แพร่หลายที่สุดก็คือ การก่อการร้ายโดยการก่อวินาศกรรม
และการระเบิดพลีชีพ
ตลอดระยะเวลาการสู้รบที่ยาวนานนับตั้งแต่ปี 1983 - 2009
ผลจากสงครามทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง 65,000 คน
และผู้คนนับล้านต้องลี้ภัย และสูญเสียทรัพย์สิน
เศรษฐกิจของศรีลังกาได้รับผลกระทบอย่างหนัก
ทั้งภาคการท่องเที่ยวและภาคการผลิต
ในภาคการท่องเที่ยว ศรีลังกาเป็นแหล่งวัฒนธรรม มีทั้งโบราณสถาน เมืองเก่า
และชายหาดที่สวยงาม
แต่จากเหตุการณ์ก่อการร้าย
ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ มีอยู่เพียง 300,000 - 500,000 คนต่อปี
ตลอดช่วงเวลายาวนานของสงคราม
ในภาคการผลิต ความรุนแรงจากสงครามกลางเมืองทำให้ศรีลังกาดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติได้น้อย
อุตสาหกรรมหลักของประเทศมีเพียงอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซึ่งถือเป็นสินค้าส่งออกหลักของประเทศจวบจนปัจจุบัน
ทั้งที่ศักยภาพและการศึกษาของแรงงานชาวศรีลังกาสามารถพัฒนาไปได้ไกลกว่านี้
เมื่อสินค้าส่งออกหลักมีเพียง สิ่งทอ ชา อัญมณี
ในขณะที่ศรีลังกาจำเป็นต้องนำเข้าสินค้ามากมาย
ทั้งอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ เครื่องจักร และเชื้อเพลิง
ศรีลังกาจึงขาดดุลการค้าอย่างต่อเนื่องยาวนานมานับตั้งแต่ปี 1983
การขาดดุลการค้าทำให้เงินตราต่างประเทศร่อยหรอ
ในขณะที่รัฐบาลต้องมีค่าใช้จ่ายในงบประมาณป้องกันประเทศที่สูงถึง 6% ของ GDP ในปี 1995 ซึ่งเป็นช่วงที่สงครามกลางเมืองรุนแรงที่สุด
รัฐบาลจึงจำเป็นต้องกู้เงินจากต่างประเทศ
หนี้สาธารณะของศรีลังกาจึงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนมาอยู่ที่ระดับ 86% ของ GDP ในปี 2009
แต่อย่างไรก็ตาม ในปี 2009 นี้เอง
กองทัพศรีลังกาภายใต้การนำของรัฐบาล นายมหินทรา ราชปักษา
ได้บุกปิดล้อมปราบปรามกลุ่มพยัคฆ์ทมิฬอีแลมอย่างหนัก
จนทำให้ฝ่ายกบฏต้องยอมยุติการสู้รบกับฝ่ายรัฐบาล
เป็นการยุติสงครามกลางเมืองที่ยาวนานมากว่า 26 ปี
หลังสงครามกลางเมือง เศรษฐกิจของศรีลังกาเริ่มดีขึ้น อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้น
มีการลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะจากอินเดีย
ในขณะที่ภาคการท่องเที่ยวก็เติบโตขึ้น จนมีนักท่องเที่ยวมาเยือนศรีลังกากว่า 2.3 ล้านคน ในปี 2018
GDP ที่เพิ่มขึ้น ทำให้สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP เริ่มลดลง
แต่อย่างไรก็ตาม ศรีลังกาจำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ถูกทำลายไปในช่วงสงคราม
ทำให้สัดส่วนหนี้สาธารณะกลับมาเพิ่มสูงอีกครั้ง
ในขณะที่ความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติครั้งใหม่ก็ได้ปะทุขึ้นอีกครั้ง
แต่ครั้งนี้ไม่ใช่ระหว่างชาวพุทธกับชาวฮินดู
แต่เป็นปัญหาระหว่างชาวพุทธกับชาวมุสลิม..
ก็เป็นที่น่าติดตามต่อไป ว่าเศรษฐกิจของศรีลังกาจะเป็นอย่างไร
ท่ามกลางความขัดแย้งครั้งใหม่ที่ก่อตัวขึ้น..
ในสัปดาห์หน้า จะเป็นตอนสุดท้าย ของซีรีส์ประเทศที่เคย “รวย” กว่าไทย
เป็นเรื่องราวของประเทศหนึ่ง ที่เคยเป็นที่ตั้งของจักรวรรดิโบราณแห่งเทือกเขาแอนดีส
มีทรัพยากรธรรมชาติอย่างแร่ทองแดงเป็นสินค้าส่งออกสำคัญ
ผู้คนในประเทศนี้เคยมี GDP ต่อหัวมากกว่าคนไทยถึง 2.5 เท่า
แต่ทุกวันนี้กลับจนกว่าไทย
ประเทศนั้นคือ “สาธารณรัฐเปรู”...
ติดตาม ซีรีส์ ประเทศที่ เคย “รวย” กว่า ไทย ตอนต่อไปได้ในสัปดาห์หน้า
โหลดแอป Blockdit เพื่ออ่านซีรีส์ตอนก่อนหน้านี้ ได้ที่ Blockdit.com/download
╔═══════════╗
Blockdit แอปเขียนบล็อกอันดับ 1
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
References
-The Sri Lankan Economy: Charting a New Course, ASIAN DEVELOPMENT BANK
-รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report) สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา, มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
-ทมิฬอีแลม (Tamil Eelam) : ปัญหาชาติพันธุ์ในศรีลังกา, ผศ.ดร.วงเดือน นาราสัจจ์
-https://www.indexmundi.com/facts/sri-lanka/military-expenditure
-https://www.ceicdata.com/en/indicator/sri-lanka/trade-balance
asian development bank 在 Kento Bento Youtube 的評價
Our Merch: https://standard.tv/kentobento
Our Patreon: https://patreon.com/kentobento
Nebula: https://watchnebula.com/kentobento
Twitter: https://twitter.com/kentobento2015
Business Inquiries: kentobento@standard.tv
Download Dashlane for free to manage all your passwords: https://dashlane.com/kentobento.
If you then want to upgrade to premium, use the code "KENTOBENTO" for 10% off.
Other videos you may like:
The Bizarre South Korean Bank Heist: https://youtu.be/8JclG3gZLQI
This Is The Greatest Bank Heist in Chinese History: https://youtu.be/qW0uzPJEO10
The Incredible Japanese Prison Break: https://youtu.be/oI8trlbCbU8
This Is The Greatest Art Heist in Chinese History: https://youtu.be/9LDVQYfeseo
The $1,000,000,000 North Korean Bank Heist: https://youtu.be/Usu9z0feHug
How This Lake in Northwest Asia Got Deadlier Than Chernobyl: https://youtu.be/SQCfOjhguO0
Music:
Epidemic Sound: http://epidemicsound.com
Channel Description:
Animated documentary-style videos on extraordinary Asian events.
Credits:
Kento Bento — Researcher, writer, narrator, audio editor, video editor, motion graphics & art director
Charlie Rodriguez — Illustrator
Isambard Dexter — Research assistant
Nina Bento — Cheerleader
Video Title: This Is The Greatest Bank Heist in Japanese History
"Tokyo. December 10th, 1968. It was pouring rain. The bank manager of the Nihon Trust bank was on edge. Someone had threatened his life and those around him over the past few months. Just four days prior, a letter (one of recent many) was sent to his personal residence demanding 300 million yen or his house would be blown up with dynamite. The letter was made up of characters cut out and pasted from movie magazines. Police were notified, and indeed they kept a close eye on the bank and his home. Though this did not ease the mind of the bank manager who shared his concerns with his branch employees. Now of course, this is Japan, and work is work - the show must go on. With this in mind, the bank manager went on with his duties sending four of his employees to the nearby Toshiba factory to make a scheduled drop. So off they went taking the company car, but not long after leaving the bank the four heard police sirens approaching. At that very moment they happened to be next to a prison of all places. A police officer screeched to a halt in front of the car, and frantically got off his motorcycle to warn them..."
Talking Points:
- Fake police officer
- Dynamite
- 1700 ATMs
- 7-Elevens
- Largest heist team ever
- Polite thank you note
- Cyanide
- Post-war Tokyo
- US occupation
- Dysentery outbreak
- Fake health inspector
- Department of Disease Prevention
- Business cards
- Death row
- Sadamichi Hirasawa
- Pornographic drawings
- Unit 731, a covert biological & chemical warfare research & development unit of the Imperial Japanese Army
- Cyber crime
- Virtual currency
- Coincheck company
- Biggest cryptocurrency heist in history
- Hackers
- NEM
- "Hot wallet"
- Online security

asian development bank 在 Kento Bento Youtube 的評價
Our Merch: https://standard.tv/kentobento
Our Patreon: https://patreon.com/kentobento
Nebula: https://watchnebula.com/kentobento
Twitter: https://twitter.com/kentobento2015
Business Inquiries: kentobento@standard.tv
The first 200 people to use this link will get 20% off their premium Brilliant membership: https://brilliant.org/kentobento
Other videos you may like:
The Incredible Japanese Prison Break: https://youtu.be/oI8trlbCbU8
The Mysterious Chinese Art Heists Across Europe: https://youtu.be/9LDVQYfeseo
This Is The Greatest Bank Heist in Chinese History: https://youtu.be/qW0uzPJEO10
The $1,000,000,000 North Korean Bank Heist: https://youtu.be/Usu9z0feHug
This Is The Greatest Bank Heist in Japanese History: https://youtu.be/gbeN-2ErxBw
The Bizarre South Korean Bank Heist: https://youtu.be/8JclG3gZLQI
Sources:
http://www.dtic.mil/dtic/tr/fulltext/u2/a254669.pdf
https://fas.org/nuke/cochran/nuc_01009302a_112b.pdf
http://users.physics.harvard.edu/~wilson/publications/pp747/techa_cor.htm
https://serc.berkeley.edu/field-trip-to-the-worlds-most-contaminated-site/
http://www.iaea.org/inis/collection/NCLCollectionStore/_Public/33/011/33011239.pdf
https://www.cell.com/trends/ecology-evolution/fulltext/S0169-5347(16)00019-7
https://www.huffingtonpost.ca/samira-goetschel/ozersk-city-40-russia_b_9857470.html?guccounter=2
https://www.independent.co.uk/news/world/europe/the-worlds-worst-radiation-hotspot-1784502.html
Music:
Epidemic Sound: http://epidemicsound.com
Channel Description:
Animated documentary-style videos on extraordinary Asian events.
Credits:
Kento Bento — Researcher, writer, narrator, audio editor, video editor, motion graphics & art director
Charlie Rodriguez — Illustrator
Isambard Dexter — Research assistant
Nina Bento — Cheerleader
Video Title: How This Lake in Northwest Asia Got Deadlier Than Chernobyl
"Central Russia, 1957. Villagers near the Southern Ural mountains were scared. They were terrified. Men claiming to be from the government had appeared out of nowhere ordering people to leave their homes. Without warning, they started burying crops, and slaughtering their livestock. The villagers were in shock and they were confused. What was going on?..."
Talking Points:
- Hiroshima & Nagasaki Atomic Bombings
- The Soviet Union's early nuclear history
- Joseph Stalin
- Nuclear Arms Race
- Nuclear weapons development
- Mayak (Russia's first plutonium plant)
- Chelyabinsk
- Secret City of Chelyabinsk-40 or City 40
- Lake Kyzyltash
- Russian and US closed cities
- Hanford Nuclear Plant
- Secret City of Richland, Washington
- Soviet spy rings
- Manhattan Project
- Techa River
- Lake Irtyash (Plutonium Lake or The Lake of Death)
- Lake Karachay (Lake Karachai, Карача́й)
- Nuclear accident
- Kyshtym Disaster
- INES
- Chernobyl Disaster
- Fukushima Nuclear Disaster
- Acute Radiation Sickness
- Caesium-137 contamination
- Ozersk (Ozyorsk, Озерск)
- Radiation Poisoning

asian development bank 在 Asian Development Bank - Wikipedia 的相關結果
The Asian Development Bank (ADB) is a regional development bank established on 19 December 1966, which is headquartered in the Ortigas Center located in the ... ... <看更多>
asian development bank 在 Asian Development Bank (ADB) | LinkedIn 的相關結果
ADB will continue to prioritize the region's poorest and most vulnerable countries. Established in 1966, ADB is owned by 68 members, including 48 from the ... ... <看更多>
asian development bank 在 Asian Development Bank 的相關結果
The Asian Development Bank (ADB) is committed to achieving a prosperous, inclusive, resilient, and sustainable Asia and the Pacific, while sustaining its ... ... <看更多>