เรื่องแชร์มั่วเกี่ยวกับ "อันตราย จากการโทรศัพท์ผ่านแอพ LINE" กลับมาแชร์กันใหม่อีกแล้ว
ซึ่งเคยโพสต์ว่านานแล้วว่า "ไม่จริงนะครับ ! " (ดูบทความเก่า ด้านล่าง)
ตอนนี้ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม และสถาบันประสาทวิทยา ก็ออกมาชี้แจงแล้วเช่นกัน ว่า "ไม่จริง" นะครับ
------
(รายงานข่าว)
ข่าวปลอม อย่าแชร์! โทรผ่านไลน์ ได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามากกว่าปกติ ทำให้เกิดเนื้องอกในสมอง
ตามที่มีการเผยแพร่ในสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง โทรผ่านไลน์ ได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามากกว่าปกติ ทำให้เกิดเนื้องอกในสมอง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
กรณีการแชร์ข้อความว่า อันตรายจากการโทรผ่านทางไลน์ มาจากเวลา WiFi และ Data ทำงานรับส่งข้อมูล ค่า RF จะขึ้นไปสูงมาก จะได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามากกว่าโทรศัพท์ปกติถึง 9 เท่า จากปกติ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะถูกส่งออกมา 10,000 ไมโครวัตต์ แต่ถ้าโทรผ่านไลน์คลื่นจะถูกส่งออกมาสูงถึง 90,000 ไมโครวัตต์ ทำให้เกิดเนื้องอกในสมองได้
ทางสถาบันประสาทวิทยา ได้ชี้แจงว่า เรื่องดังกล่าวไม่เป็นความจริง เนื่องจากคลื่นโทรศัพท์ มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมของโลกทุกที่อยู่แล้ว แม้ในบริเวณใกล้เสารับส่งสัญญาณก็ไม่แตกต่างจากบริเวณที่อยู่ห่างออกไป หรือแม้แต่ผู้ที่ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่พกติดตัวไปในทุกที่ทุกเวลา ซึ่งยังไม่มีการศึกษายืนยันถึงผลของสัญญาณดังกล่าว ว่าทำให้เกิดเนื้องอกในสมอง
โดยการใช้โทรศัพท์ให้เหมาะสม ไม่มากหรือนานจนเกินไปก็จะช่วยลดอาการร้อนจากการสัมผัสโดยตรงได้ หรืออาจจะเลือกใช้ small talk หรือหูฟังก็สามารถช่วยได้ หรือบางท่านที่ถือโทรศัพท์ในท่าเดิมนาน ๆ ก็สามารถทำให้เกิดอาการชาเนื่องจากการขยับส่วนของร่างกายลดลง หรือจากท่าทางในการถือโทรศัพท์ที่อยู่ในท่าเดิมนานจนเกินไปได้
บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ยังไม่มีการศึกษายืนยันถึงผลของสัญญาณดังกล่าว ว่าทำให้เกิดเนื้องอกในสมองได้
จาก https://www.antifakenewscenter.com/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1-%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%8C-%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B4-%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87/
-----
(รีโพสต์จากเพจ อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ )
เรื่องเก่าจากพวกเพจคลิ๊กเบตเมื่อ 2 ปีก่อน ถูกเอามาแชร์ใหม่โดยการเอามาทำเป็นคลิปยูทูป เค้าอ้างว่า "เวลาโทรทางไลน์นั้นมีอันตราย เพราะเวลาใช้ WiFi และ Data ในการรับส่งข้อมูลเสียงผ่านไลน์นั้น ค่า RF จะขึ้นไปสูงเป็นร้อยมิลลิวัตต์ต่อตารางเมตรเลย ใครที่โทรผ่าน Skype หรือ Line เป็นประจำจะเป็นเนื้องอกในสมองในเวลาไม่นาน ฯลฯ"
.... เรื่องนี้ "ไม่จริงนะครับ"
ในเพจคลิ๊กเบตตั้งต้นนั้น จะมีภาพประกอบที่เอามาจากคลิปรายการทีวีรายการหนึ่งในประเทศจีน ซึ่งอ้างว่า "การโทรศัพท์คุยผ่านไลน์นั้นจะได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามากกว่าโทรศัพท์ปกติถึง 9 เท่า โดยจากปรกติ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะถูกส่งออกมา 1 หมื่นไมโครวัตต์ แต่ถ้าโทรผ่านไลน์คลื่นจะถูกส่งออกมาสูงถึง 9 หมื่นไมโครวัตต์"
ซึ่งวิธีการเขียนแบบนี้ เป็นการตั้งใจหาเรื่องเปลี่ยนหน่วยให้ดูน่ากลัว เพราะปรกติจะต้องคิดเป็นหน่วยวัตต์ ไม่ใช่ไมโครวัตต์ ซึ่งจะทำให้ค่าที่วัดได้จริงนั้นเป็น 0.01 - 0.09 วัตต์แค่นั้นเอง เมื่อใช้ไลน์
ซึ่งกำลังส่งของโทรศัพท์มือถือเรานั้นอยู่ที่ประมาณ 1 วัตต์ จะเห็นว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาน้อยกว่าการโทรศัพท์ธรรมดาเป็น 10 เท่าเลยทีเดียว
ข้อสรุปจริงๆ ของการใช้โทรศัพท์มือถือนั้น ยังเหมือนเดิมคือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะถูกจัดให้เป็นสารก่อมะเร็งในกลุ่ม 2B (หมายถึง มีความมั่นใจเพียงแค่ระดับ "อาจจะก่อมะเร็ง" เพราะมีผลการทดลองยืนยันในสัตว์ แต่ไม่มีผลการศึกษาพบในมนุษย์)
ระดับความรุนแรงที่จะเกิดความเสี่ยงต่อเนื้องอกในสมองได้นั้น คือ ต้องโทรแบบแนบหัว ติดต่อกันเป็นเวลากว่าครึ่งชั่วโมง นานนับ 10 ปีครับ
จาก https://m.facebook.com/OhISeebyAjarnJess/photos/a.281457299003997/889839908165730/?type=3&source=57&__tn__=EH-R
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過0的網紅Channel RL,也在其Youtube影片中提到,กด Subscribe ติดตามทาง YouTube ช่วยแชร์ด้วย บอกต่อเล่าต่อ เขียน comment มาคุยกันบ้าง สรรพคุณชาเจสัน วินเตอร์ ล้างสารพิษในระบบเลือด, ควบคุมระดับความด...
อันตราย หมายถึง 在 sittikorn saksang Facebook 八卦
หลักการใช้อำนาจทางปกครองในการกระทำทางปกครองระบบบริการสาธารณะ
สิทธิกร ศักดิ์แสง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
การปกครองแบบนิติรัฐในระบอบประชาธิปไตย ถือกันว่ากฎหมายเป็น “ทั้งที่มาของอำนาจ”และเป็น “ข้อจำกัดอำนาจ”ของการใช้อำนาจทางปกครองในการกระทางปกครองระบบบริการสาธารณะของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาและการกำกับดูแลของฝ่ายบริหารกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่มิได้อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาและการกำกับดูแลของฝ่ายบริหาร จะมีวิธีการที่กฎหมายมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองใช้อำนาจทางปกครอง มีอยู่ 2 แบบ คือ อำนาจผูกพันกับอำนาจดุลพินิจ
1.การใช้อำนาจผูกพันกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ
“การใช้อำนาจผูกพัน” (Mandatory powers) อำนาจผูกพัน หมายถึง การใช้อำนาจกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง หากว่าเข้าเงื่อนไขต่างๆที่กฎหมายกำหนดไว้แล้ว ฝ่ายปกครองจะต้องสั่งการไปในทางหนึ่งเท่านั้น กฎหมายมิให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองในการตัดสินใจเลือก กล่าวคือ อำนาจผูกพัน เป็นอำนาจที่กฎหมายมอบลงมาแล้วเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองถูกผูกพันจะต้องปฏิบัติตามนั้นโดยเคร่งครัดเด็ดขาด ไม่สามารถตัดสินใจต่อการกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะเป็นอย่างอื่นได้ กฎหมายมักจะใช้คำว่า “ต้อง” หรือ “ให้” หรือ “มีหน้าที่”เช่น กฎหมายให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองรับจดทะเบียนตั้งบริษัท โดยกำหนดเงื่อนไขไว้หลายประการ ถ้าเอกชนรายใดยื่นขอจดทะเบียนโดยปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กฎหมายบัญญัติไว้ครบถ้วนฝ่ายปกครองต้องรับจดทะเบียน จะอ้างเหตุที่กฎหมายไม่ได้บัญญัติติไว้เพื่อไม่รับจดทะเบียนไม่ได้ เป็นต้น
2.การใช้อำนาจดุลพินิจกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ
“การใช้อำนาจดุลพินิจ” (Discretionary powers) หมายถึง การใช้อำนาจกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ เช่น การออกคำสั่ง เมื่อผู้ออกคำสั่งได้ข้อเท็จจริงที่กฎหมายประสงค์แล้ว ผู้ออกคำสั่งมีอำนาจเลือกว่าจะตัดสินใจแบบที่ตนเห็นว่าเหมาะสม ซึ่งกฎหมายจะกำหนดทางเลือกไว้ 2 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 อาจกำหนดทางเลือกไว้ไม่มากนัก เช่น 3-4 ทางเลือก ลักษณะที่ 2 อาจกำหนดเปิดกว้างให้ใช้ดุลพินิจตามความเหมาะสม แม้จะเป็นอำนาจดุลพินิจ แต่หากเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองก็ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามขั้นตอนหรือวิธีการอันสาระสำคัญที่กำหนดไว้สำหรับการกระทำนั้นและเป็นไปโดยสุจริตทั้งต้องไม่เลือกปฏิบัติ กล่าวคือ เป็นเรื่องตรงข้ามกับอำนาจผูกพัน คือ กฎหมายมอบอำนาจให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่จะเลือกดำเนินการหรือเลือกไม่ดำเนินการหรือเลือกดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดในหลายๆอย่างก็ได้ การใช้อำนาจดุลพินิจกฎหมายมักใช้คำว่า “มีอำนาจ”หรือ “มีสิทธิ” หรือ “อาจจะ”หรือ “ควรจะ”หรือ “สามารถ” ดังนั้นอำนาจดุลพินิจจึงเป็นเสรีภาพของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ที่กฎหมายจัดวางไว้เพื่อให้ตัดสินใจเลือกระทำการหรือละเว้นกระทำการ หรือเลือกผลในทางกฎหมายอย่างใดอย่างหนึ่งในหลายอย่าง เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของกฎหมายตามหลักการปกครองแบบนิติรัฐที่ยึดหลักนิติธรรม ซึ่งประกอบด้วย หลักสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วนและหลักความเสมอภาค เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีอำนาจใช้ดุลพินิจได้ก็ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อำนาจตัดสินใจอย่างอิสระที่กระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือไม่กระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาทางที่เลือกล้วนต้องชอบด้วยกฎหมาย หากมีทางเลือกบางประการที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตรงนั้นก็ไม่ใช่เป็นดุลพินิจศาลก็มีอำนาจเข้าตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะได้
2.1กระบวนการใช้อำนาจปกครองที่เป็นอำนาจดุลพินิจ
กระบวนการใช้อำนาจปกครองที่กฎหมายมอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองใช้อำนาจดุลพินิจ คือ ดุลพินิจวินิจฉัยกับดุลพินิจตัดสินใจ ดังนี้
2.1.1 อำนาจดุลพินิจวินิจฉัย
อำนาจดุลพินิจวินิจฉัย คือ อำนาจปกครองที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองใช้ในส่วนที่เป็นข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบ อันเป็นกรณีที่ฝ่ายนิติบัญญัติประสงค์ให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง “ใช้อำนาจดุลพินิจในลักษณะวินิจฉัยข้อเท็จจริง” ในกรณีที่ฝ่ายนิติบัญญัติจะบัญญัติถ้อยคำที่มีความหมายไม่เจาะจง สำหรับประเทศไทยได้วางหลักการใช้ดุลพินิจวินิจฉัย เช่น
1.ข้อความในมาตรา 21 พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 ว่า “การกระทำที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี”เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องใช้อาจดุลพินิจวินิจฉัยว่าเป็นกระทำแบบใดที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
2.ข้อความใน มาตรา 11 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2503 ว่า “ลามกอนาจาร” เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องใช้ดุลพินิจวินิจฉัยว่าอะไรที่เป็นลามกอนาจาร
3.ข้อความในมาตรา 26 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ว่า “อาหารที่มีสิ่งน่าจะเป็นอันตรายแก่สุขภาพเจือปนอยู่ด้วย” เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องใช้ดุลพินิจวินิจฉัยว่าอะไรที่เป็นอาหารที่มีสิ่งน่าเป็นอันตรายแก่สุขภาพ เป็นต้น
2.1.2 อำนาจดุลพินิจตัดสินใจ
อำนาจดุลพินิจตัดสินใจ การใช้อำนาจดุลพินิจตัดสินใจเป็นให้ฝ่ายปกครอง “ใช้อำนาจในส่วนที่เป็นผลทางกฎหมาย” เป็นดุลพินิจของฝ่ายปกครองที่จะตัดสินใจว่าจะใช้อำนาจสั่งการหรือไม่ และเลือกว่าใช้อำนาจสั่งการไปอย่างไรตามที่กฎหมายเปิดช่องให้ใช้ดุลพินิจ ที่เรียกว่า “อำนาจดุลพินิจเลือกเนื้อความของคำสั่ง” มักจะใช้ถ้อยคำในการบทบัญญัติว่า “มีอำนาจ”“มีสิทธิ”“อาจ...”“ก็ได้”เป็นต้น ตัวอย่างการใช้ดุลพินิจตัดสินใจ เช่น กรณีที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจดุจพินิจที่จะตัดสินใจว่าจะใช้อำนาจหรือไม่ หากเลือกที่จะใช้อำนาจ กฎหมายก็ให้ดุลพินิจที่จะเลือกกระทำการหรือเลือกออกคำสั่งได้ leกรณีของประเทศไทยเกี่ยวกับการใช้อำนาจดุลพินิจตัดสินใจ เช่น พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 มาตรา 21 กำหนดว่า “ผู้รับอนุญาตตั้งสถานบริการขาดคุณสมบัติก็ดี ดำเนินกิจการสถานบริการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมก็ดี ดำเนินกิจการสถานบริการโดยไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ ฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ก็ดี พนักงานเจ้าหน้าที่ “มีอำนาจ” ไม่ต่ออายุใบอนุญาตหรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือสั่งเพิกถอนในอนุญาตก็ได้” เป็นต้น
2.1.3 ข้อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจดุลพินิจวินิจฉัยกับอำนาจดุลพินิจตัดสินใจ
การใช้อำนาจดุลพินิจในการตัดสินใจกับดุลพินิจในการวินิจฉัย เช่น นายป๊อดซื้อใบขับขี่มาซึ่งถือได้ว่าใบขับขี่ที่ออกมานั้นออกโดยมิชอบด้วยกฎหมายแต่ยังมีผลบังคับเพราะไม่เป็นโมฆะ ต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมาพบว่าใบขับขี่ที่ออกมานั้นเป็นการออกโดยมิชอบด้วยกฎหมาย แทนที่จะยกเลิกเพิกถอน ถ้ากฎหมายให้อำนาจดุจพินิจเจ้าหน้าที่จะยกเลิกเพิกถอนหรือไม่ก็ได้ ตรงนี้คือ “ดุลพินิจในการตัดสินใจ” ถ้าไม่ยกเลิกเรื่องก็จบ แต่ถ้าใช้ดุลพินิจยกเลิกก็ต้องมาพิจารณาดูกันว่าจะยกเลิกอย่างไร เมื่อไร จะให้มีผลในอนาคต หรือในปัจจุบันหรือย้อนหลัง ซึ่งส่วนนี้เรียกว่า “ดุลพินิจในการวินิจฉัย”
3.ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจผูกพันกับอำนาจดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง
กระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ
การใช้อำนาจอำนาจผูกพันกับอำนาจดุลพินิจเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองในการกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ ซึ่งการใช้อำนาจปกครองทั้ง 2 จะมีความสัมพันธ์ทั้ง 2 ส่วน คือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขส่วนประกอบส่วนเหตุ กับความสัมพันธ์ระหว่างผลทางกฎหมายเมื่อมีข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบส่วนเหตุ ดังนี้
3.1 อำนาจผูกพันทั้งในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจและผลทางกฎหมาย
กรณีนี้กฎหมายไม่เปิดทางให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีดุลพินิจทั้งในข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจและผลทางกฎหมายหากแต่จะกำหนดให้เป็นอำนาจผูกพัน เช่น กฎหมายกำหนดว่า “ผู้ใดยื่นเอกสารถูกต้องครบถ้วน เจ้าหน้าที่ต้องรับจดทะเบียน”ซึ่งเมื่อพิจารณาข้อความในกฎหมาย “ผู้ใดยื่นเอกสารถูกต้องครบถ้วน”ถือว่าเป็นการให้อำนาจพิจารณาในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขการใช้อำนาจ ส่วนข้อความ “เจ้าหน้าที่ต้องรับจดทะเบียน”ถือเป็นอำนาจผูกพันตามกฎหมายที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องทำปฏิเสธไม่ทำไม่ได้ เป็นต้น
3.2 อำนาจผูกพันในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ แต่มีอำนาจดุลพินิจในส่วนผลของกฎหมาย
กรณีนี้กฎหมายไม่เปิดทางให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีดุลพินิจในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ เช่น กฎหมายกำหนดว่า “โรงงานใดปล่อยน้ำเสีย เจ้าหน้าที่มีอำนาจพักใช้ใบอนุญาตเป็นเวลา 10 วัน หรือเพิกถอนใบอนุญาต” ซึ่งเมื่อพิจารณาข้อความตามกฎหมาย “โรงงานใดปล่อยน้ำเสีย”ถือว่าเป็นอำนาจผูกพันในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ ส่วนข้อความในกฎหมาย“เจ้าหน้าที่มีอำนาจพักใช้ใบอนุญาตเป็นเวลา 10 วัน หรือเพิกถอนใบอนุญาต”ถือเป็นการใช้อำนาจดุลพินิจในส่วนผลของกฎหมายว่าจะเลือกกระทำแบบใดตามที่กำหนดไว้ เป็นต้น
3.3 อำนาจดุลพินิจในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ แต่มีอำนาจผูกพันในส่วนของกฎหมาย
ในกรณีนี้กฎหมายเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีดุลพินิจในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ แต่กำหนดเป็นอำนาจผูกพันในส่วนผลของกฎหมาย เช่น กฎหมายกำหนดว่า “อาคารใดตกอยู่ในสภาพชำรุดทรุดโทรมน่ารังเกียจ เจ้าหน้าที่ต้องสั่งรื้อถอนอาคารนั้น”เมื่อพิจารณาข้อความในกฎหมายที่ว่า “อาคารใดตกอยู่ในสภาพชำรุดทรุดโทรมน่ารังเกียจ”ถือว่าเป็นการใช้อำนาจดุลพินิจในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ ส่วนข้อความที่ว่า “เจ้าหน้าที่ต้องสั่งรื้อถอนอาคารนั้น”ว่าเป็นการใช้อำนาจผูกพันในส่วนของกฎหมายที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องทำหรือใช้อำนาจกระทำการ เป็นต้น
3.4 อำนาจดุลพินิจทั้งในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจและผลทางกฎหมาย
กรณีนี้กฎหมายเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีดุลพินิจทั้งในส่วนเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจและผลทางกฎหมาย เช่น กฎหมายกำหนดว่า “อาคารหรือโรงเรือนใดอยู่ในสภาพน่าจะเป็นอันตราย เจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้แก้ไขหรือรื้อถอนอาคาร” เมื่อพิจารณาข้อความในกฎหมายที่ว่า “อาคารหรือโรงเรือนใดอยู่ในสภาพน่าจะเป็นอันตราย”ถือว่าเป็นอำนาจในส่วนข้อเท็จจริง (ดุลพินิจวินิจฉัย) อันเป็นเงื่อนของการใช้อำนาจ ว่าอันตรายหรือไม่ ถ้า “อันตราย”ให้ใช้ดุลพินิจว่า “เจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้แก้ไขหรือรื้อถอนอาคาร”คือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองเลือกที่จะออกคำสั่งให้รื้อแก้หรือรื้อถอน อาคารโรงเรือนนั้น เป็นต้น
อันตราย หมายถึง 在 sittikorn saksang Facebook 八卦
หลักการใช้อำนาจกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ
สิทธิกร ศักดิ์แสง
การปกครองแบบนิติรัฐในระบอบประชาธิปไตย ถือกันว่ากฎหมายเป็น “ทั้งที่มาของอำนาจ”และเป็น “ข้อจำกัดอำนาจ”ของการใช้อำนาจกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาและการกำกับดูแลของฝ่ายบริหารกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่มิได้อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาและการกำกับดูแลของฝ่ายบริหาร จะมีวิธีการที่กฎหมายมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองใช้อำนาจกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะมี 2 แบบ คือ อำนาจผูกพันกับอำนาจดุลพินิจ
1.การใช้อำนาจผูกพันกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ
“การใช้อำนาจผูกพัน” (Mandatory powers) อำนาจผูกพัน หมายถึง การใช้อำนาจกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง หากว่าเข้าเงื่อนไขต่างๆที่กฎหมายกำหนดไว้แล้ว ฝ่ายปกครองจะต้องสั่งการไปในทางหนึ่งเท่านั้น กฎหมายมิให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองในการตัดสินใจเลือก กล่าวคือ อำนาจผูกพัน เป็นอำนาจที่กฎหมายมอบลงมาแล้วเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองถูกผูกพันจะต้องปฏิบัติตามนั้นโดยเคร่งครัดเด็ดขาด ไม่สามารถตัดสินใจต่อการกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะเป็นอย่างอื่นได้ กฎหมายมักจะใช้คำว่า “ต้อง” หรือ “ให้” หรือ “มีหน้าที่”เช่น กฎหมายให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองรับจดทะเบียนตั้งบริษัท โดยกำหนดเงื่อนไขไว้หลายประการ ถ้าเอกชนรายใดยื่นขอจดทะเบียนโดยปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กฎหมายบัญญัติไว้ครบถ้วนฝ่ายปกครองต้องรับจดทะเบียน จะอ้างเหตุที่กฎหมายไม่ได้บัญญัติติไว้เพื่อไม่รับจดทะเบียนไม่ได้ เป็นต้น
2.การใช้อำนาจดุลพินิจกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ
“การใช้อำนาจดุลพินิจ” (Discretionary powers) หมายถึง การใช้อำนาจกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ เช่น การออกคำสั่ง เมื่อผู้ออกคำสั่งได้ข้อเท็จจริงที่กฎหมายประสงค์แล้ว ผู้ออกคำสั่งมีอำนาจเลือกว่าจะตัดสินใจแบบที่ตนเห็นว่าเหมาะสม ซึ่งกฎหมายจะกำหนดทางเลือกไว้ 2 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 อาจกำหนดทางเลือกไว้ไม่มากนัก เช่น 3-4 ทางเลือก ลักษณะที่ 2 อาจกำหนดเปิดกว้างให้ใช้ดุลพินิจตามความเหมาะสม แม้จะเป็นอำนาจดุลพินิจ แต่หากเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองก็ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามขั้นตอนหรือวิธีการอันสาระสำคัญที่กำหนดไว้สำหรับการกระทำนั้นและเป็นไปโดยสุจริตทั้งต้องไม่เลือกปฏิบัติ กล่าวคือ เป็นเรื่องตรงข้ามกับอำนาจผูกพัน คือ กฎหมายมอบอำนาจให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่จะเลือกดำเนินการหรือเลือกไม่ดำเนินการหรือเลือกดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดในหลายๆอย่างก็ได้ การใช้อำนาจดุลพินิจกฎหมายมักใช้คำว่า “มีอำนาจ”หรือ “มีสิทธิ” หรือ “อาจจะ”หรือ “ควรจะ”หรือ “สามารถ” ดังนั้นอำนาจดุลพินิจจึงเป็นเสรีภาพของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ที่กฎหมายจัดวางไว้เพื่อให้ตัดสินใจเลือกระทำการหรือละเว้นกระทำการ หรือเลือกผลในทางกฎหมายอย่างใดอย่างหนึ่งในหลายอย่าง เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของกฎหมายตามหลักการปกครองแบบนิติรัฐที่ยึดหลักนิติธรรม ซึ่งประกอบด้วย หลักสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วนและหลักความเสมอภาค เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีอำนาจใช้ดุลพินิจได้ก็ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อำนาจตัดสินใจอย่างอิสระที่กระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือไม่กระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาทางที่เลือกล้วนต้องชอบด้วยกฎหมาย หากมีทางเลือกบางประการที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตรงนั้นก็ไม่ใช่เป็นดุลพินิจศาลก็มีอำนาจเข้าตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะได้
2.1กระบวนการใช้อำนาจปกครองที่เป็นอำนาจดุลพินิจ
กระบวนการใช้อำนาจปกครองที่กฎหมายมอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองใช้อำนาจดุลพินิจ คือ ดุลพินิจวินิจฉัยกับดุลพินิจตัดสินใจ ดังนี้
2.1.1.อำนาจดุลพินิจวินิจฉัย
อำนาจดุลพินิจวินิจฉัย คือ อำนาจปกครองที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองใช้ในส่วนที่เป็นข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบ อันเป็นกรณีที่ฝ่ายนิติบัญญัติประสงค์ให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง “ใช้อำนาจดุลพินิจในลักษณะวินิจฉัยข้อเท็จจริง” ในกรณีที่ฝ่ายนิติบัญญัติจะบัญญัติถ้อยคำที่มีความหมายไม่เจาะจง สำหรับประเทศไทยได้วางหลักการใช้ดุลพินิจวินิจฉัย เช่น
1.ข้อความในมาตรา 21 พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 ว่า “การกระทำที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี”เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องใช้อาจดุลพินิจวินิจฉัยว่าเป็นกระทำแบบใดที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
2.ข้อความใน มาตรา 11 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2503 ว่า “ลามกอนาจาร” เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องใช้ดุลพินิจวินิจฉัยว่าอะไรที่เป็นลามกอนาจาร
3.ข้อความในมาตรา 26 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ว่า “อาหารที่มีสิ่งน่าจะเป็นอันตรายแก่สุขภาพเจือปนอยู่ด้วย” เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องใช้ดุลพินิจวินิจฉัยว่าอะไรที่เป็นอาหารที่มีสิ่งน่าเป็นอันตรายแก่สุขภาพ เป็นต้น
2.1.2 อำนาจดุลพินิจตัดสินใจ
อำนาจดุลพินิจตัดสินใจ การใช้อำนาจดุลพินิจตัดสินใจเป็นให้ฝ่ายปกครอง “ใช้อำนาจในส่วนที่เป็นผลทางกฎหมาย” เป็นดุลพินิจของฝ่ายปกครองที่จะตัดสินใจว่าจะใช้อำนาจสั่งการหรือไม่ และเลือกว่าใช้อำนาจสั่งการไปอย่างไรตามที่กฎหมายเปิดช่องให้ใช้ดุลพินิจ ที่เรียกว่า “อำนาจดุลพินิจเลือกเนื้อความของคำสั่ง” มักจะใช้ถ้อยคำในการบทบัญญัติว่า “มีอำนาจ”“มีสิทธิ”“อาจ...”“ก็ได้”เป็นต้น ตัวอย่างการใช้ดุลพินิจตัดสินใจ เช่น กรณีที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจดุจพินิจที่จะตัดสินใจว่าจะใช้อำนาจหรือไม่ หากเลือกที่จะใช้อำนาจ กฎหมายก็ให้ดุลพินิจที่จะเลือกกระทำการหรือเลือกออกคำสั่งได้ leกรณีของประเทศไทยเกี่ยวกับการใช้อำนาจดุลพินิจตัดสินใจ เช่น พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 มาตรา 21 กำหนดว่า “ผู้รับอนุญาตตั้งสถานบริการขาดคุณสมบัติก็ดี ดำเนินกิจการสถานบริการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมก็ดี ดำเนินกิจการสถานบริการโดยไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ ฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ก็ดี พนักงานเจ้าหน้าที่ “มีอำนาจ” ไม่ต่ออายุใบอนุญาตหรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือสั่งเพิกถอนในอนุญาตก็ได้” เป็นต้น
2.1.3 ข้อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจดุลพินิจวินิจฉัยกับอำนาจดุลพินิจตัดสินใจ
การใช้อำนาจดุลพินิจในการตัดสินใจกับดุลพินิจในการวินิจฉัย เช่น นายป๊อดซื้อใบขับขี่มาซึ่งถือได้ว่าใบขับขี่ที่ออกมานั้นออกโดยมิชอบด้วยกฎหมายแต่ยังมีผลบังคับเพราะไม่เป็นโมฆะ ต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมาพบว่าใบขับขี่ที่ออกมานั้นเป็นการออกโดยมิชอบด้วยกฎหมาย แทนที่จะยกเลิกเพิกถอน ถ้ากฎหมายให้อำนาจดุจพินิจเจ้าหน้าที่จะยกเลิกเพิกถอนหรือไม่ก็ได้ ตรงนี้คือ “ดุลพินิจในการตัดสินใจ” ถ้าไม่ยกเลิกเรื่องก็จบ แต่ถ้าใช้ดุลพินิจยกเลิกก็ต้องมาพิจารณาดูกันว่าจะยกเลิกอย่างไร เมื่อไร จะให้มีผลในอนาคต หรือในปัจจุบันหรือย้อนหลัง ซึ่งส่วนนี้เรียกว่า “ดุลพินิจในการวินิจฉัย”
3.ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจผูกพันกับอำนาจดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ
การใช้อำนาจอำนาจผูกพันกับอำนาจดุลพินิจเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองในการกระทำทางปกครองในระบบบริการสาธารณะ ซึ่งการใช้อำนาจปกครองทั้ง 2 จะมีความสัมพันธ์ทั้ง 2 ส่วน คือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขส่วนประกอบส่วนเหตุ กับความสัมพันธ์ระหว่างผลทางกฎหมายเมื่อมีข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบส่วนเหตุ ดังนี้
3.1 อำนาจผูกพันทั้งในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจและผลทางกฎหมาย
กรณีนี้กฎหมายไม่เปิดทางให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีดุลพินิจทั้งในข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจและผลทางกฎหมายหากแต่จะกำหนดให้เป็นอำนาจผูกพัน เช่น กฎหมายกำหนดว่า “ผู้ใดยื่นเอกสารถูกต้องครบถ้วน เจ้าหน้าที่ต้องรับจดทะเบียน”ซึ่งเมื่อพิจารณาข้อความในกฎหมาย “ผู้ใดยื่นเอกสารถูกต้องครบถ้วน”ถือว่าเป็นการให้อำนาจพิจารณาในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขการใช้อำนาจ ส่วนข้อความ “เจ้าหน้าที่ต้องรับจดทะเบียน”ถือเป็นอำนาจผูกพันตามกฎหมายที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องทำปฏิเสธไม่ทำไม่ได้ เป็นต้น
3.2 อำนาจผูกพันในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ แต่มีอำนาจดุลพินิจในส่วนผลของกฎหมาย
กรณีนี้กฎหมายไม่เปิดทางให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีดุลพินิจในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ เช่น กฎหมายกำหนดว่า “โรงงานใดปล่อยน้ำเสีย เจ้าหน้าที่มีอำนาจพักใช้ใบอนุญาตเป็นเวลา 10 วัน หรือเพิกถอนใบอนุญาต” ซึ่งเมื่อพิจารณาข้อความตามกฎหมาย “โรงงานใดปล่อยน้ำเสีย”ถือว่าเป็นอำนาจผูกพันในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ ส่วนข้อความในกฎหมาย“เจ้าหน้าที่มีอำนาจพักใช้ใบอนุญาตเป็นเวลา 10 วัน หรือเพิกถอนใบอนุญาต”ถือเป็นการใช้อำนาจดุลพินิจในส่วนผลของกฎหมายว่าจะเลือกกระทำแบบใดตามที่กำหนดไว้ เป็นต้น
3.3 อำนาจดุลพินิจในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ แต่มีอำนาจผูกพันในส่วนของกฎหมาย
ในกรณีนี้กฎหมายเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีดุลพินิจในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ แต่กำหนดเป็นอำนาจผูกพันในส่วนผลของกฎหมาย เช่น กฎหมายกำหนดว่า “อาคารใดตกอยู่ในสภาพชำรุดทรุดโทรมน่ารังเกียจ เจ้าหน้าที่ต้องสั่งรื้อถอนอาคารนั้น”เมื่อพิจารณาข้อความในกฎหมายที่ว่า “อาคารใดตกอยู่ในสภาพชำรุดทรุดโทรมน่ารังเกียจ”ถือว่าเป็นการใช้อำนาจดุลพินิจในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจ ส่วนข้อความที่ว่า “เจ้าหน้าที่ต้องสั่งรื้อถอนอาคารนั้น”ว่าเป็นการใช้อำนาจผูกพันในส่วนของกฎหมายที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองต้องทำหรือใช้อำนาจกระทำการ เป็นต้น
3.4 อำนาจดุลพินิจทั้งในส่วนข้อเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจและผลทางกฎหมาย
กรณีนี้กฎหมายเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมีดุลพินิจทั้งในส่วนเท็จจริงอันเป็นเงื่อนไขของการใช้อำนาจและผลทางกฎหมาย เช่น กฎหมายกำหนดว่า “อาคารหรือโรงเรือนใดอยู่ในสภาพน่าจะเป็นอันตราย เจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้แก้ไขหรือรื้อถอนอาคาร” เมื่อพิจารณาข้อความในกฎหมายที่ว่า “อาคารหรือโรงเรือนใดอยู่ในสภาพน่าจะเป็นอันตราย”ถือว่าเป็นอำนาจในส่วนข้อเท็จจริง (ดุลพินิจวินิจฉัย) อันเป็นเงื่อนของการใช้อำนาจ ว่าอันตรายหรือไม่ ถ้า “อันตราย”ให้ใช้ดุลพินิจว่า “เจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้แก้ไขหรือรื้อถอนอาคาร”คือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองเลือกที่จะออกคำสั่งให้รื้อแก้หรือรื้อถอน อาคารโรงเรือนนั้น เป็นต้น
อันตราย หมายถึง 在 Channel RL Youtube 的評價
กด Subscribe ติดตามทาง YouTube ช่วยแชร์ด้วย บอกต่อเล่าต่อ เขียน comment มาคุยกันบ้าง
สรรพคุณชาเจสัน วินเตอร์
ล้างสารพิษในระบบเลือด, ควบคุมระดับความดันโลหิต, เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน,ควบคุม
ระดับน้ำตาลในเลือด, ลดน้ำตาลในเลือด, กระชับสัดส่วน, แก้ปวดเมื่อย, ยับยั้งการแบ่งตัว
ที่ผิดปกติของเซลล์ เนื้องอก, ปรับสมดุลในร่างกาย, ผิวพรรณผ่องใส,
ชะลอความแก่, บำรุงสายตา, เพิ่มประสิทธิภาพการไหลเวียนของระบบเลือด ฯเหมาะ
สำหรับผู้ที่เป็น เบาหวาน, ความดันฯ, มะเร็ง, เก๊าส์, เนื้องอก, ซี๊ด, SLE, หรือดื่มเพื่อบำรุง
สุขภาพ, กระชับสัดส่วน, ล้างสารพิษในเลือดปรับสมดุลในร่างกาย ฯ
ส่วนประกอบที่สำคัญ
- เฮอร์บาลีน(Herbalene) สมุนไพรจากทวีปเอเชีย
- เซจส์(Sage) สมุนไพรจากทวีปอเมริกา
- เรด โคลเวอร์(Red Clover) สมุนไพรจากทวีปยุโรป
วิธีต้ม
ใช้ใบชาขนาด 2-3 ช้อนโต๊ะ/น้ำ 1 ลิตร ห่อใบชาในผ้าขาวขนาดประมาณผ้าเช็ด
หน้า(ห่อผ้าเพื่อป้องกันไม่ให้ใบชา ติดหม้อต้ม) มัดเชือกที่ทำจากผ้าหรือด้าย ต้มใบชา
ที่ห่อผ้าแล้ว ในน้ำเดือด 15 นาที เพื่อให้ชาละลายได้คุณภาพ จากนั้นปิดไฟ และรอให้
ชาอุ่นๆ แกะใบชาออกจากผ้า ละลายไปในน้ำชา ที่ต้มแล้ว เพราะใบชาที่ต้มแล้วสามารถ
ดื่มไปพร้อมกับน้ำชาได้เลย การต้มแต่ละครั้ง หากทานดื่มไม่หมด สามารถเก็บใส่ตู้เย็น
เมื่อจะดื่มครั้งต่อไป อุ่นประมาณ 5 นาทีให้พอร้อนก็ดื่มได้เลย
ปริมาณในการดื่ม
ดื่มก่อนอาหารครั้งละ 1-2 แก้วชา วันละ 2 เวลา เช้า และ ก่อนนอน
แบบเม็ด ทานก่อนอาหารเช้า กลางวัน เย็น ก่อนนอน มื้อละ1เม็ดค่ะ
ควรรับประทานขณะท้องว่าง จะได้ผลดีมาก
ชา เจสัน วินเตอร์ มีสรรพคุณในการขจัดสารพิษในระบบเลือด ทำให้เลือดสะอาดมี
ความต้านทานต่อเชื้อโรค เมื่อระบบเลือดสะอาดจึงทำให้ภูมิต้านทานมีมากขึ้น สุขภาพ
ดีขึ้น โรคต่างๆก็จะบรรเทาลง เช่น น้ำตาลในเลือดเมื่อถูกขจัดออกไปโรคเบาหวานก็จะ
เบาลงเรื่อยๆ คนที่เป็นเก๊าส์ สาเหตุจากกรดยูริคในเลือดมีมากเกินไป เมื่อกรดนี้ถูกขจัด
ออกไปก็จะบรรเทาลงได้แน่นอน คนที่มีระดับไขมันในเลือดสูง มีความเสี่ยงเส้นเลือด
อุดตัน ไขมันในตับสูง ความดันสูง โรคเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องกับเลือดก็มีอาการค่อยๆ
ดีขึ้นได้ ในเอกสารของผลิตภัณท์เจสัน วินเตอร์ ยังกล่าวถึงสรรพคุณในด้านรักษาโรค
มะเร็งมาถึง30ปีแล้ว คำโฆษณานี้เชื่อถือได้ เพราะที่อเมริกานี้เข้มงวดมากในเรื่องความ
ปลอดภัย ต้องมีการวิจัย การทดลอง มีสถิติที่มีการรับรองผลยืนยันได้ หากโฆษณา
เกินจริง ย่อมต้องถูกบทลงโทษถึงขั้นรุนแรงทีเดียว
มีผู้ป่วยจำนวนมากดื่มชาเจสันแล้ว มีอาการดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
ช่วยให้สุขภาพแข็งแรง โรคไม่ลุกลาม สามารถใช้ชีวิตได้ดีขึ้น ไม่
ต้องนอนซมกับที่นอน ชานี้เป็นความหวังที่น่าทดลองดู อย่างน้อยก็
ปลอดภัยจากสารเคมีของยาต่างๆสามารถดื่มควบคู่กับยาแผนปัจจุบัน
ได้
ความหมายของรูปดาวบนฉลาก
*สัญลักษณ์ รูปดาวแดง หมายถึงสินค้าที่ส่งออกขายนอกประเทศอเมริกา(EXPORT)เป็นแบบเดียวกับชนิดไม่มีดาว
**แบบ ไม่มีดาว หมายถึง สินค้านี้นำมาจากผู้ผลิตโดยตรง เป็นแบบที่คนอเมริกาบริโภคอยู่ทุกวันนี้ ซึ่งต้องปลอดภัยและมีคุณภาพขั้นสูงสุดของFDA. และไม่มีส่วนผสมของชาพารอล แต่ได้ทดแทนด้วยพืชอีกตัวชื่อ เซจส์ ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนกัน และปลอด ภัย ไม่มีพิษต่อตับ

อันตราย หมายถึง 在 Channel RL Youtube 的評價
กด Subscribe ติดตามทาง YouTube ช่วยแชร์ด้วย บอกต่อเล่าต่อ เขียน comment มาคุยกันบ้าง
สรรพคุณชาเจสัน วินเตอร์
ล้างสารพิษในระบบเลือด, ควบคุมระดับความดันโลหิต, เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน,ควบคุม
ระดับน้ำตาลในเลือด, ลดน้ำตาลในเลือด, กระชับสัดส่วน, แก้ปวดเมื่อย, ยับยั้งการแบ่งตัว
ที่ผิดปกติของเซลล์ เนื้องอก, ปรับสมดุลในร่างกาย, ผิวพรรณผ่องใส,
ชะลอความแก่, บำรุงสายตา, เพิ่มประสิทธิภาพการไหลเวียนของระบบเลือด ฯเหมาะ
สำหรับผู้ที่เป็น เบาหวาน, ความดันฯ, มะเร็ง, เก๊าส์, เนื้องอก, ซี๊ด, SLE, หรือดื่มเพื่อบำรุง
สุขภาพ, กระชับสัดส่วน, ล้างสารพิษในเลือดปรับสมดุลในร่างกาย ฯ
ส่วนประกอบที่สำคัญ
- เฮอร์บาลีน(Herbalene) สมุนไพรจากทวีปเอเชีย
- เซจส์(Sage) สมุนไพรจากทวีปอเมริกา
- เรด โคลเวอร์(Red Clover) สมุนไพรจากทวีปยุโรป
วิธีต้ม
ใช้ใบชาขนาด 2-3 ช้อนโต๊ะ/น้ำ 1 ลิตร ห่อใบชาในผ้าขาวขนาดประมาณผ้าเช็ด
หน้า(ห่อผ้าเพื่อป้องกันไม่ให้ใบชา ติดหม้อต้ม) มัดเชือกที่ทำจากผ้าหรือด้าย ต้มใบชา
ที่ห่อผ้าแล้ว ในน้ำเดือด 15 นาที เพื่อให้ชาละลายได้คุณภาพ จากนั้นปิดไฟ และรอให้
ชาอุ่นๆ แกะใบชาออกจากผ้า ละลายไปในน้ำชา ที่ต้มแล้ว เพราะใบชาที่ต้มแล้วสามารถ
ดื่มไปพร้อมกับน้ำชาได้เลย การต้มแต่ละครั้ง หากทานดื่มไม่หมด สามารถเก็บใส่ตู้เย็น
เมื่อจะดื่มครั้งต่อไป อุ่นประมาณ 5 นาทีให้พอร้อนก็ดื่มได้เลย
ปริมาณในการดื่ม
ดื่มก่อนอาหารครั้งละ 1-2 แก้วชา วันละ 2 เวลา เช้า และ ก่อนนอน
แบบเม็ด ทานก่อนอาหารเช้า กลางวัน เย็น ก่อนนอน มื้อละ1เม็ดค่ะ
ควรรับประทานขณะท้องว่าง จะได้ผลดีมาก
ชา เจสัน วินเตอร์ มีสรรพคุณในการขจัดสารพิษในระบบเลือด ทำให้เลือดสะอาดมี
ความต้านทานต่อเชื้อโรค เมื่อระบบเลือดสะอาดจึงทำให้ภูมิต้านทานมีมากขึ้น สุขภาพ
ดีขึ้น โรคต่างๆก็จะบรรเทาลง เช่น น้ำตาลในเลือดเมื่อถูกขจัดออกไปโรคเบาหวานก็จะ
เบาลงเรื่อยๆ คนที่เป็นเก๊าส์ สาเหตุจากกรดยูริคในเลือดมีมากเกินไป เมื่อกรดนี้ถูกขจัด
ออกไปก็จะบรรเทาลงได้แน่นอน คนที่มีระดับไขมันในเลือดสูง มีความเสี่ยงเส้นเลือด
อุดตัน ไขมันในตับสูง ความดันสูง โรคเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องกับเลือดก็มีอาการค่อยๆ
ดีขึ้นได้ ในเอกสารของผลิตภัณท์เจสัน วินเตอร์ ยังกล่าวถึงสรรพคุณในด้านรักษาโรค
มะเร็งมาถึง30ปีแล้ว คำโฆษณานี้เชื่อถือได้ เพราะที่อเมริกานี้เข้มงวดมากในเรื่องความ
ปลอดภัย ต้องมีการวิจัย การทดลอง มีสถิติที่มีการรับรองผลยืนยันได้ หากโฆษณา
เกินจริง ย่อมต้องถูกบทลงโทษถึงขั้นรุนแรงทีเดียว
มีผู้ป่วยจำนวนมากดื่มชาเจสันแล้ว มีอาการดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
ช่วยให้สุขภาพแข็งแรง โรคไม่ลุกลาม สามารถใช้ชีวิตได้ดีขึ้น ไม่
ต้องนอนซมกับที่นอน ชานี้เป็นความหวังที่น่าทดลองดู อย่างน้อยก็
ปลอดภัยจากสารเคมีของยาต่างๆสามารถดื่มควบคู่กับยาแผนปัจจุบัน
ได้
ความหมายของรูปดาวบนฉลาก
*สัญลักษณ์ รูปดาวแดง หมายถึงสินค้าที่ส่งออกขายนอกประเทศอเมริกา(EXPORT)เป็นแบบเดียวกับชนิดไม่มีดาว
**แบบ ไม่มีดาว หมายถึง สินค้านี้นำมาจากผู้ผลิตโดยตรง เป็นแบบที่คนอเมริกาบริโภคอยู่ทุกวันนี้ ซึ่งต้องปลอดภัยและมีคุณภาพขั้นสูงสุดของFDA. และไม่มีส่วนผสมของชาพารอล แต่ได้ทดแทนด้วยพืชอีกตัวชื่อ เซจส์ ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนกัน และปลอด ภัย ไม่มีพิษต่อตับ

อันตราย หมายถึง 在 อันตราย - พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน - Sanook 的相關結果
[อันตะราย] น. เหตุที่อาจทําให้ถึงแก่ความตายหรือพินาศ. (ป. ส. อนฺตราย ว่า อุปสรรคหรือภัยอันมาในระหว่าง). ดูคำอื่นๆในหมวด แปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน. ... <看更多>
อันตราย หมายถึง 在 อันตราย หมายถึงอะไร? - Wordy Guru 的相關結果
อันตราย หมายถึง [อันตะราย] น. เหตุที่อาจทําให้ถึงแก่ความตายหรือพินาศ. (ป., ส. อนฺตราย ว่า อุปสรรคหรือภัยอันมาในระหว่าง). ... <看更多>
อันตราย หมายถึง 在 อันตราย แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า ... 的相關結果
(n) danger, See also: hazard, Example: ฟ้าผ่านั้นมีอันตรายมากอาจทำให้มนุษย์ถึงแก่ความตายบ้านเรือนพังและลุกไหม้เป็นไฟได้, Thai Definition: เหตุที่อาจทำให้ถึงแก่ ... ... <看更多>