Anomalisa (2015) [เปิดเผยเนื้อหา]
ถ้าถามว่าหนังดูยากไหม เราจะบอกว่าถ้าจะดูให้ง่ายก็คิดซะว่าเป็น Lost in Translation เวอร์ชั่นดาร์คและหนักหน่วงทางอารมณ์มากกว่า บรรยากาศหนังเต็มไปด้วยความอึดอัดกระอักกระอ่วนใจ และเนื้อหาที่พูดถึง sex และความเบื่อหน่ายของวัยกลางคนมันก็เพียงพอคุ้มค่าแก่การรับชม ทั้งหมดนี้คือส่วนที่ดูง่ายของหนัง ส่วนอย่างอื่นเช่นความลึกของหนังที่อาจจะต้องใช้การวิเคราะห์ตีความจับประเด็นก็ให้ถือเป็นกำไรของหนังไป
.
หนังเล่าถึง 'สโตน' (ให้เสียงพากย์โดย David Thewlis) ชายวัยกลางคนที่แต่งงานมีครอบครัวแล้ว ในระหว่างค้างคืนที่โรงแรมเพื่อเตรียมตัวขึ้นบรรยาย เขาได้พบ 'ลิซ่า' (ให้เสียงพากย์โดย Jennifer Jason Leigh) หญิงสาวที่แตกต่างจากที่เขาเคยพบเจอ
.
ข้อควรรู้อย่างแรกคือชื่อโรงแรม Fregoli นั้นน่าจะอ้างอิงถึงอาการ Fregoli delusion หรือความหลงผิดว่าบุคคลต่าง ๆ ที่พบเจอนั้นล้วนเป็นบุคคลเดียวกันปลอมตัวมา จึงไม่แปลกอะไรที่เราจะได้เห็นสโตนมองและได้ยินเสียงคนอื่น ๆ ในโรงแรมเหมือนกันหมดยกเว้นก็แต่ลิซ่าคนเดียวเท่านั้นที่แปลกต่าง (ใน Synecdoche, New York งานกำกับและเขียนบทของคอฟฟ์แมนเองก็เคยใช้สถานที่แทนอาการ Cotard delusion หลงผิดว่าตัวเองตายแล้ว)
.
อีกประการต่อมาที่น่าสนใจคือการผสมคำว่า Anomalisa (Anomaly+Lisa) ซึ่งใช้แทนนางเอกที่มีความแปลกต่างของเสียงและหน้าตาจากตัวละครอื่น ๆ ในเรื่องที่สโตนหลงผิดว่าเป็นคนเดียวกันหมด อาจจะไม่ใช่การผสมคำเพียงคำเดียวในหนังเพราะชื่อชู้รักเก่าอย่าง Bella Amarossi ผู้หญิงที่เขาขาดการติดต่อไป 10 ปี ก่อนจะโทรหาเพราะความอ้างว้างในโรงแรมนั้นแทนความหมายของ Amorous+Rossi ซึ่งอธิบายได้ว่าเป็นหญิงสาวที่เกี่ยวข้องกับ sex จากการนอกใจภรรยาของสโตน ตรงนี้เองที่มันสอดรับความสัมพันธ์ระหว่างสโตนกับลิซ่าได้พอดีเลย
.
จริง ๆ แล้วหนังมันก็พูดเรื่องความเบื่อหน่ายอ้างว้างของวัยกลางคน ในห้วงที่เขามองเห็นและได้ยินเสียงทุกคนเหมือนกันหมดจนกระทั่งพบเจอความแปลกต่างในคืนดังกล่าว ซึ่งก็คือการมองหาหญิงสาวมาร่วมหลับนอนคลายความเหงาในคืนก่อนขึ้นบรรยาย แต่ในท้ายที่สุดทุกข้อบกพร่องในตัวหญิงสาวที่เขาเคยมองข้ามกลับกลายเป็นจุดด้อยที่เขารำคาญจนค่อย ๆ ได้ยินเสียงที่เคยแปลกต่างของเธอเหมือนกับเสียงของคนอื่นในโลกที่เขามองว่าเหมือนกันหมด
.
ฉากการเปลี่ยนแปลงที่ว่ามันค่อนข้างเป็นความร้ายกาจของหนังเลยแหละ ไม่รู้ว่าเจตนาคนทำหนังตั้งใจเสียดสีความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ sex กับคนแปลกหน้าไหม แต่เราสัมผัสได้ว่ามันโคตรเรียลเลย ช่วงทำความรู้จักอยากได้สิ่งที่ต้องการคือมองทุกอย่างดีไปหมด ตำหนิและข้อบกพร่องอะไรล้วนมองข้ามได้ทุกอย่าง แต่หลังจากฝันร้าย(ตัวละครในฝันที่ชื่อว่า Gill เขาวิเคราะห์กันว่ามาจาก Guilt หมายถึงความรู้สึกผิด) พอตื่นมาหลังจากมี sex กลับเริ่มหงุดหงิดและมองเห็นทุกอย่างของเธอเป็นสิ่งที่น่ารำคาญใจ ซึ่งอันที่จริงแล้วมันอาจจะเป็นธรรมชาติของมนุษย์นั่นแหละ
Directors: Duke Johnson, Charlie Kaufman
play: Charlie Kaufman
screenplay: Charlie Kaufman (เขียนบท Adaptation., Being John Malkovich)
Genre: animation, drama, romance
8.5/10
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過175的網紅Yachi Chen,也在其Youtube影片中提到,現代都會中的你我, 都只是個小人物。 有一天, 你發現了另一位小人物, 一位了解自己的人。 你們共度快樂時光。 但, 知音是否如此容易尋覓? 也許, 真正了解你的人── 還是自己。...
「synecdoche, new york」的推薦目錄:
- 關於synecdoche, new york 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook
- 關於synecdoche, new york 在 電影文學希米露 Facebook
- 關於synecdoche, new york 在 Facebook
- 關於synecdoche, new york 在 Yachi Chen Youtube
- 關於synecdoche, new york 在 呂罰 Kipha Youtube
- 關於synecdoche, new york 在 Synecdoche, New York | Official Trailer (2008) - YouTube 的評價
synecdoche, new york 在 電影文學希米露 Facebook 八卦
相信《雲端情人》(Her, 2013)與《愛情不用翻譯》(Lost in Translation, 2006)是許多人的愛片首選。有天在想,為何這兩部電影明明時間差了七年,卻有種相互呼應的似曾相識。後來才注意到,《雲端情人》的導演 Spike Jonze 與《愛情不用翻譯》的導演 Sofia Coppola 曾有四年婚姻關係(1999-2003),或許就是天生的氣質原本相近,才會有愛情電影也有雷同風格之處。
有趣的是,就在1999年,當時的這對新人,曾經各自導演一部水準之上的口碑電影,Jonze 導演的是《變腦》(Being John Malkovich)而 Coppola 導演的是《死亡日記》(The Virgin Suicides)。在這兩個新銳導演的電影中,也分別都有位正在發光的女明星,在《變腦》裡的是Cameron Diaz,在《死亡筆記》的是 Kirsten Dunst。
《變腦》這部電影應該沒有在台灣的戲院中上映過(或許曾在影展上映),不過這部電影卻是美國口碑影評 Roger Ebert 的四顆星滿分,甚至譽為 1999 年的最佳電影。
讓我們回想一下1999年,當時好看的電影還有《鬥陣俱樂部》(Fight Club)《美國心玫瑰情》(American Beauyt)《駭客任務》(Matrix)《靈異第六感》(The Sixth Sense)等等,但是,在 Ebert 眼中,《變腦》最好。
為了這個《變腦》最好,我也特別朝聖看了一回,果然驚奇。並不只是讚嘆導演 Jonze 在人生中第一部電影就有如此表現,更驚嘆的是這個故事的創作者,也就是編劇 Charlie Kaufman,這個人的大腦裡到底裝了些什麼呢?
或許你會想說,誰是 Kaufman 呢?或許再介紹一部他曾編劇的電影,你就一定馬上入戲,不禁跟著想要拍手鼓掌。2004 年至今,所有談過戀愛的男女都會愛上的電影《王牌冤家》(Eternal Sunshine of the Spotless Mind),就是出自 Kaufman 這顆大腦的奇怪故事。
跟《王牌冤家》一樣,在《變腦》中也是有許多穿梭在人的主體意識之間的愛情故事,涉及同性和異性戀,也涉及變性。《變腦》的故事內容比《王牌冤家》複雜許多,大概從第一分鐘到最後一秒都能讓人驚奇。是的,直到最後一秒還是會被嚇一跳(會讓人不禁想到《黑鏡》中的〈黑暗博物館〉Black Museum )。
除了導演跟編劇都有經典的表現之外,飾演女配角的 Catherine Keener 也是讓人讚嘆,她絕對是這部電影最閃耀的靈魂。你或許也會想說,這個 Keener 是哪號人物呢?如果你也看過《逃出絕命鎮》(Get Out, 2017),肯定難忘劇中拿著咖啡杯的心理醫生母親,以及她那讓人無法拒絕而必須乖乖就範的傲氣、還有她那理所當然又最有道理的神秘魔氣。
Keener 在《變腦》中,美麗性感又聰明冷漠,每個愛上她的人都得經歷折磨,卻又讓人無法抗拒地乖乖受折磨,無論是自覺或不自覺,都受盡折磨。
《變腦》的故事,與換腦有點類似,於是,《變腦》與《逃出絕命鎮》也有許多情節相似之處,例如老人渴望永生不老、換腦就可以永生不老、還有秘密房間的「祖譜」(其餘就不能再多說,這是個不能暴雷的電影)。
看完《變腦》之後,我相信《逃出絕命鎮》的導演 Jordan Peele 肯定有看過《變腦》,一方面是因為其中有太多致敬畫面,另一方面就是 Keener 都是兩部電影的靈魂人物。
在《變腦》中的另一位重要人物是 John Malkovich,小時候最喜歡他的《危險關係》(Dangerous Liaisons, 1988)與《遮蔽的天空》(Sheltering Sky, 1990)。
看完《變腦》之後,決定要把 Kaufman 所有編劇與導演的電影通通看一輪,他或許不是地球人,才能想出那麼詭異離奇又多層次的故事吧。今晚先預約《紐約浮世繪》(Synecdoche, New York)。
... ... ... ... ... ...
這幾天為了找幾個「在電影故事中漸漸發瘋的角色」,不小心分神,就多看了幾部好看的老電影。
1999年那些討論度最高的好看電影(《鬥陣俱樂部》《美國心玫瑰情》《駭客任務》《靈異第六感》),二十年後的今天,還有哪幾部繼續熱門於網路上呢?或許不久之後《變腦》也會熱起來,這也是個超越那個時代的故事,至今仍不嫌老。
synecdoche, new york 在 Facebook 八卦
英國髮型設計師師保羅.亨特利(Paul Huntley),享壽87歲。他曾為百老匯作品如《艾薇塔 Evita》、《貓 Cats》、《芝加哥 Chicago》等兩百多部劇作設計假髮。其電影代表作則包括《窈窕淑男 Tootsie》(1982)、《101忠狗 101 Dalmatians》(1996)等。
.
保羅.亨特利出生倫敦。他從小就喜歡看母親替自己化妝,他有次偶然找到母親收藏的一本電影雜誌,該期聚焦於好萊塢懷斯摩爾家族(Westmore family)的介紹,該家族從默片時代開始主導美國電影髮型與化妝設計,亨特利因此留下深刻印象。服完兵役之後,亨特利前往戲劇學院就讀,在巡迴演出當中除了表演之外,也肩負維護假髮的工作。
.
在50年代末期,他在一間名為史坦利.霍爾的創意假髮公司任職,剛好這間公司的技術便是移植自懷斯摩爾家族。亨特利很快成為該公司的主要設計師,曾親自為瑪琳.黛德麗(Marlene Dietrich)設計14款金色假髮,並為《埃及艷后 Cleopatra》(1963)設計大量埃及與羅馬款式的假髮。
.
伊莉莎白.泰勒(Elizabeth Taylor)還親自拜託亨特利為他的好友麥克.尼可斯(Mike Nichols)設計一款假髮。這位後來以《畢業生 The Graduate》(1967)奠定影壇名望的導演,童年時因為一場疾病而終身失去頭髮,但他原本的假髮實在過於粗糙,亨特利在泰勒的請託下為他製作了全新的假髮。受到假髮重振自信的麥克.尼可斯隨後鼓勵亨特利來紐約發展,還親自為他擔任簽證的擔保人。
.
隨後亨特利被延攬到百老匯,在1973年參與了首部劇作《Uncle Vanya》。在1979年的《艾薇塔》當中,亨特利為主角貝隆夫人(Eva Perón)設計的金髮,既展現巴黎式的時尚,卻也表現出一種刻意討好百姓的虛假形象。亨特利之所以能精準設計每個演員的髮型,是因為他會親自詳讀劇本,也會與導演、服裝設計師仔細交換意見,掌握角色在戲劇中的個性,也對整體造型搭配有全盤的認知。
.
在百老匯發跡後,他也經常獲得好萊塢邀請,尤其代表性的是達斯汀.霍夫曼(Dustin Hoffman)反串演出的《窈窕淑男》,他花了數個月時間研究如何做出精確的「燙髮式假髮」。他也在原版的《貓》當中使用大量的染色牲牛毛,創造出極為華麗的光澤,效果震驚全場。2003年,亨特利獲得東尼獎的特別獎殊榮,當年他參與了必須呈現一百多種髮型的重量級劇作《髮膠明星夢 Hairspray》,獲得盛讚。
.
與之合作最為密切的演員帕蒂.盧波恩(Patti LuPone)曾說:「當我戴上保羅.亨特利設計的假髮時,除了我的角色之外,我不再有其它外在的感受。」
.
亨特利比較近期的電影代表作,無疑是《101忠狗》中葛倫.克蘿絲(Glenn Close)飾演的庫伊拉,浮誇的黑白髮型奠定了角色的經典形象。90年代起,包括《阿達一族 The Addams Family》(1991)、《油炸綠蕃茄 Fried Green Tomatoes》(1991)、《入侵腦細胞 The Cell》(2000)、《紐約浮世繪 Synecdoche, New York》(2008)等作都是他的得意之作。其中《101忠狗》與《噩夢輓歌 Requiem for a Dream》(2000)兩度助他提名線上電影與電視協會獎的最佳化妝與髮型設計獎。
.
保羅.亨特利的事業一直持續到2019年,當時他正在進行黛安娜王妃(Diana, Princess of Wales)的劇作《Diana: A True Musical Story》,亨特利設計了四頂假髮,以表現黛安娜四種不同的階段。在工作過程中,年事已高的亨特利不慎跌下樓,造成骨盆骨折。加上COVID-19的疫情影響,他不得不宣告退休,收到了在曼哈頓的工作室,回到倫敦靜養。
.
2021年7月9日,保羅.亨特利在倫敦家中辭世。
.
.
(圖右為保羅.亨特利,圖左為葛倫.克蘿絲。亨特利在1995年為葛倫.克蘿絲設計了《日落大道 Sunset Boulevard》的髮型,成就經典。)
synecdoche, new york 在 Yachi Chen Youtube 的評價
現代都會中的你我,
都只是個小人物。
有一天,
你發現了另一位小人物,
一位了解自己的人。
你們共度快樂時光。
但,
知音是否如此容易尋覓?
也許,
真正了解你的人──
還是自己。
synecdoche, new york 在 呂罰 Kipha Youtube 的評價
A Taiwanese artist exhibition in Long Island City, New York
Splitting as a Daily Practice is a multimedia trilogy started in 2017. Beginning with the practice of expanding spatial sensation and exploring the elusiveness of light; intercutting and teleporting situations from the clashes of mundane matters to the avenues of emotional turning point, Lee manifests the question of “What use is art?” onto structures he sampled from daily phenomena. From dawn to dusk, from here and there, Splitting as a Daily Practice offers various synecdoche of everydayness that intertwined all together: as one, and as everything. -Eugene Lee
Artist Eugene Lee Instagram: https://www.instagram.com/eugenevoyeur/
Music credit:
"Uniq - Art of Silence" is under a Royalty Free music license.
Music promoted by BreakingCopyright: https://youtu.be/er--pnwFDgU
Ikson - AM (Official) https://www.youtube.com/watch?v=cpENLhkM59E
synecdoche, new york 在 Synecdoche, New York | Official Trailer (2008) - YouTube 的八卦
From Charlie Kaufman, comes a visual and philosophic adventure, " SYNECDOCHE, NEW YORK ". ... Theater director Caden Cotard (Philip Seymour Hoffman) ... ... <看更多>