It is Mooncake festival again, also known as Pesta TangLong, Mid-Autumn Moon Festival. Masa kecil mmg festival favourite ChongWei, bersama abang kakak main tanglong, main lilin, makan kuih bulan. Time dating, bawak Mew Choo naik bukit layan bulan mengambang. Lepas kahwin, main tanglong dgn Terrance Kingston, sambil minum teh, sharing asal-usul perayaan ini.
Tahun lepas ChongWei dah citer origin of Moon Cake. Tapi mesti ramai yg wonder why time mooncake festival shopping mall mesti ada jual Tanglong cute & decoration bulan and rabbit kan? There’s a few version la asal-usul citer dongeng ni. Peminat game Mobile Legend mesti suka. Introducing Chang’Er.
Chinese Mythology, there were 10 suns. 10 matahari ni kluar satu-satu across the sky. But satu hari, these 10 suns decided to come out and play together. It scorched the Earth and killing all the crops. The Emperor pun minta tolong brader “Lord Archer” HawkEye Cina, nama Hou-Yi. He was famous for slaying other mythical beasts which causes harm to the humans. Cuba dia runding with the suns, tak jadi. Finally with no choice he shot one of the sun. Kena! The sun turned into the 3 legged raven and fell off the sky. He started to shoot the rest of the suns, all of them fell, tinggal 1.
Hou-Yi saved the day and was rewarded pill of immortality by the Gods. He asked his wife Chang’Er to keep it, as he didn’t want to gain immortality without his beloved wife. One day his apprentice broke into his house while he was out hunting, paksa Chang’Er bagi dia pill keabadian itu. No choice, she telan the pill herself to prevent the bad guy from getting immortality. Chang’Er started floating to the sky, panicked she quickly grabbed her pet rabbit, and fly up to the moon. That’s the story of the “Bunny Girl” on the moon, which was actually briefed before Apollo-11 first landing on the moon 1969.
Of course ada juga version lain. Half of the pill makes you immortal, full pill turns you into a God. Chang’Er tamak, telan the whole thing that’s why naik langit. Ada version Hou-Yi jadi jahat jahanamkan rakyat, Chang’Er takot dia dapat keabadian and took the pill herself to safe the people.
That is why during this festival, the moon is always big and round. Families will gather, light candles and colourful TangLong, so Chang’Er can see and feel less lonely from the moon. Nice story kan?
去年中秋跟大家分享了月饼的故事,今年中秋跟大家分享后羿射月嫦娥奔月的故事,明年中秋再跟大家分享吴刚伐桂的故事,让友族同胞们了解更多华人传统&神话故事。 #中秋节快乐2020
https://www.facebook.com/231725927025367/posts/1123564241174860/
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過18萬的網紅Reeve Yew,也在其Youtube影片中提到,你知道吗?中国的中秋节和西方的平安夜一样重要。月满中秋时,一家人坐在一起,老人会把月亮的故事讲给孩子听,嫦娥奔月、月兔捣药……这些故事也陪伴我整个童年。希望今天的视频可以更多人了解中国月亮,中国文化。中秋节,祝全世界的人平安喜乐。 #中国月亮 #祝你平安 #与世界共赏中国月亮 You know t...
「moon rabbit story chinese」的推薦目錄:
moon rabbit story chinese 在 Lee Hsien Loong Facebook 八卦
Caught the Jade Rabbit (玉兔), companion of the moon goddess Chang-e (嫦娥), in my Mid-Autumn Festival #jalanjalan post last Friday (https://bit.ly/2PT6D5F).
How did Chang-e get to the moon? Find out from the traditional paper cuttings that come alive through shadow puppetry in this beautiful video by Ministry of Culture, Community and Youth - MCCY.
Happy Mid-Autumn Festival everyone! 祝大家中秋节快乐! – LHL
A tyrant king, a beautiful maiden, a magical elixir… If these sound like parts of a fantasy story to you, you’re not entirely wrong!
The Mid-Autumn Festival takes place on the 15th day of the 8th month of the Chinese Lunar calendar - that's 24 September this year. While many know about mooncakes and lanterns, the Festival is actually based on a dramatic Chinese folk story.
Watch this tale of heroic acts and benevolent sacrifice unfold through light and shadow!
moon rabbit story chinese 在 The Wild Chronicles - ประวัติศาสตร์ ข่าวต่างประเทศ ท่องเที่ยวที่แปลก Facebook 八卦
*** หลากตำนานฉางเอ๋อและกระต่ายบนดวงจันทร์ ***
ท่านผู้อ่านครับ ตอนเด็กๆ เคยมองพระจันทร์แล้วคิดว่ามีอะไรอยู่บนนั้นไหม? คนสมัยก่อนเองในแทบทุกวัฒนธรรมก็มองขึ้นไปบนท้องฟ้าแล้วจินตนาการสิ่งต่างๆ มากมายไม่ต่างกัน เกิดเป็นเรื่องเล่าที่สืบต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้
เนื่องจากวันไหว้พระจันทร์เพิ่งผ่านพ้นไป ในบทความนี้ผมเลยจะขอเล่าตำนานดวงจันทร์ของเอเชีย เน้นที่จีนและแทรกญี่ปุ่นกับอินเดียมาเล็กน้อยนะครับ...
เทพีแห่งดวงจันทร์ของจีนมีนามว่า “ฉางเอ๋อ” ที่มาที่ไปของนางนั้นมีหลายเวอร์ชั่น รายละเอียดแตกต่างกันไป ผมจะขอเล่าสักสามฉบับ เวอร์ชั่นแรกและสองมีจุดเริ่มเดียวกัน คือฉางเอ๋อแต่ก่อนเป็นคนธรรมดา มีสามีชื่อ “โฮ่วอี้” เป็นยอดนักธนูที่เคยปราบอสูรร้ายมาแล้วมากมาย พวกเขาก็อยู่กินกันเป็นปกติ แต่วันหนึ่งเกิดเหตุอาเพศ จู่ๆ ท้องฟ้าที่เคยมีดวงอาทิตย์ดวงเดียว ก็กลับมีขึ้นมาพร้อมกันสิบดวง
พระอาทิตย์ 10 ดวงแผดเผาโลกอยากหนัก แม่น้ำลำธารแห้งขอด ต้นไม้แห้งเหี่ยว มนุษย์ล้มตาย โฮ่วอี้เลยขึ้นไปบนเขา พยายามเจรจากับพระอาทิตย์ทั้งสิบ แต่ไม่สามารถทำได้ เลยจำต้องยิงให้เหลือดวงเดียว จากนั้นโฮ่วอี้ได้ของตอบแทนวีรกรรมมาเป็นยาอายุวัฒนะ
...อย่างไรก็ตาม เมื่อเป็นอมตะ ก็ต้องไปอยู่อีกภพหนึ่ง โฮ่วอี้กับฉางเอ๋อไม่อยากจากกัน จึงเก็บยานั้นไว้…
ตำนานหนึ่งกล่าวว่า ศิษย์คนหนึ่งของโฮ่วอี้ต้องการยาอายุวัฒนะมาเป็นของตัวเอง อาศัยช่วงโฮ่วอี้ไม่อยู่ พยายามขโมยมันมา ฉางเอ๋อเลยชิงกินมันเข้าไป เพื่อไม่ให้ยาตกในมือคนชั่ว พอฉางเอ๋อเป็นอมตะ ก็ลอยขึ้นไปบนท้องฟ้า กลายเป็นเทพีแห่งดวงจันทร์ไป
ส่วนอีกตำนานหนึ่งบอกว่า หลังมีคนนับหน้าถือตาเป็นวีรบุรุษ โฮ่วอี้ก็เกิดมัวเมาในอำนาจสร้างความลำบากไปทั่ว ฉางเอ๋อไม่อยากให้อีกฝ่ายก่อกรรมทำชั่วอีก เลยกินยาแล้วก็ไปสู่ภพสวรรค์ สถิตบนดวงจันทร์แต่นั้นเป็นต้นมา ด้านโฮ่วอี้ช้ำใจ จึงเสียชีวิตลงในเวลาไม่นาน ชาวบ้านก็อยู่อย่างสงบแต่นั้นเป็นต้นมา
อีกเวอร์ชั่นเล่าว่าฉางเอ๋อกับโฮ่วอี้เป็นชาวสวรรค์อยู่ก่อน แต่ถูกส่งลงมายังโลกมนุษย์เพื่อแก้ไขอาเพศดวงอาทิตย์ 10 ดวง โฮ่วอี้พยายามเจรจากับดวงอาทิตย์อีก เมื่อไม่ได้ผลเลยยิงร่วงไปเหลือดวงเดียว แต่ดวงอาทิตย์เหล่านั้นเป็นบุตรของ “ตี้จุน” ราชาสวรรค์ ตี้จุนโกรธมาก เลยสาปให้ทั้งคู่อยู่บนโลกไปตลอด
โฮ่วอี้รู้สึกผิดที่พาภรรยามาตกระกำลำบาก เลยไปแสวงหายาอายุวัฒนะมาเพื่อคืนความเป็นชาวสวรรค์ให้ทั้งคู่ แต่อนิจจา โฮ่วอี้หามาได้แค่ขวดเดียว เลยกะจะเก็บไว้ก่อน แต่ฉางเอ๋อใจร้อนดื่มทันที นางก็เลยขึ้นไปบนสวรรค์ อยู่บนดวงจันทร์อย่างเดียวดาย มีเพียงกระต่ายหยกที่นางเคยช่วยไว้เป็นเพื่อนแก้เหงา
...เจ้า “กระต่ายบนดวงจันทร์” ที่ว่านี่ก็มีที่มาหลากหลายพอๆ กันกับฉางเอ๋อ หลายอันเป็นกระต่ายอย่างเดียว ฉางเอ๋อไม่เกี่ยวก็มี ซึ่งผมจะหยิบยกมาบางส่วนดังต่อไปนี้
เรื่องราวที่แก่ที่สุดของกระต่ายบนดวงจันทร์ มีมาตั้งแต่สมัยชาดก ถูกเล่าไว้ใน “สสปัณฑิตชาดก” ว่าด้วยเรื่องของผู้สละชีวิตตนเป็นทาน มีใจความว่า… กาลครั้งหนึ่ง ชายคนหนึ่งหลงป่าแล้วสลบไป ไม่นานมีกระต่าย, หมี, จิ้งจอก มาพบเข้า
พวกมันทั้งสามตัดสินใจช่วยชายคนนี้ หมีจึงไปหาปลา และจิ้งจอกไปหาองุ่น แต่กระต่ายไปหาอาหารมาให้ไม่ได้ เลยสละตัวเองช่วยชายคนดังกล่าวโดยการโดดเข้ากองไฟเป็นกระต่ายย่างไป พระอินทร์ที่เห็นเหตุการณ์เกิดประทับใจ จึงวาดรูปกระต่ายไว้บนดวงจันทร์ให้คนได้รำลึกถึงความดี
ชาดกเรื่องนี้อีกเวอร์ชั่นหนึ่งกล่าวไว้คล้ายๆ กันว่า กาลครั้งหนึ่งมีกระต่าย, ลิง, จิ้งจอก, นาก เป็นเพื่อนกัน และรักษาศีลเหมือนกัน เมื่อถึงวันอุโบสถหรือวันพระขึ้น 15 ค่ำ สัตว์ทั้ง 4 ก็ตั้งใจจะทำบุญโดยการให้ทานคนยาก สัตว์แต่ละตัวออกหาอาหาร ยกเว้นกระต่าย ที่ตั้งใจสละชีวิตตนเป็นทาน
แม้ดูด้วยมุมมองคนปัจจุบันจะดูเหมือนฆ่าตัวตาย แต่ในสมัยก่อนมีผู้มองว่าเป็นความตั้งใจอันแน่วแน่ จึงร้อนไปถึงท้าวสักกะ ซึ่งเป็นเทวดาชั้นสูง ท่านจึงต้องแปลงกายลงมาบนโลกเพื่อลองใจ กระต่ายก็เข้ากองไฟไปตามเรื่อง แต่ปรากฏว่าไฟนั้นมิอาจทำอะไรกระต่ายได้ นอกจากนั้นท้าวสักกะจึงวาดรูปกระต่ายไว้บนดวงจันทร์ให้ชาวโลกเห็นเป็นการตอบแทนความมุ่งมั่นด้วย
ส่วนเรื่องเล่าแบบญี่ปุ่นที่หลายคนอาจเคยได้ยิน จะคล้ายกับชาดกเรื่องแรก แต่เปลี่ยนตัวละครจากหมีเป็นลิง และชายคนที่เข้ามายังป่า คือชายชราที่อยู่บนดวงจันทร์แปลงตัวมาทดสอบความเมตตา ส่วนอย่างอื่นเหมือนกันหมด แต่กระต่ายยังไม่ทันจะได้โดดเข้ากองไฟ ชายจากดวงจันทร์ก็รีบห้าม แล้วชวนกระต่ายไปอยู่ด้วยกัน ซึ่งกระต่ายไปดวงจันทร์แล้วก็ไปช่วยชายชราทำอาหาร ...ดังนั้นตามความเชื่อของญี่ปุ่น จึงมีกระต่ายตำโมจิอยู่บนดวงจันทร์นั่นเอง
กลับมาที่เรื่องฉบับจีน รู้ไหมครับว่าตอนยาน “อพอลโล 11” ของสหรัฐ ขึ้นไปบนดวงจันทร์ ศูนย์สั่งการที่ฮูสตันได้เล่าเรื่องของฉางเอ๋อให้นักบินฟังด้วย ใจความว่า... “ในจำนวนข่าวเกี่ยวกับอพอลโลมากมาย มีคนถามมาว่า เห็นสาวสวยกับกระต่ายบนนั้นไหม? ตามตำนานโบราณเล่าว่านางชื่อฉางเอ๋อ อาศัยอยู่บนนั้นตั้ง 4,000 ปีมาแล้ว เห็นว่าเพราะโดนลงโทษที่ไปกินยาอายุวัฒนะของสามีเข้า แล้วก็ลองสังเกตเพื่อนเธอที่เป็นกระต่ายจีนตัวใหญ่ด้วยนะ เห็นไม่ยากหรอก มันยืนอยู่ใต้ต้นซินนามอน แต่ไม่มีรายงานบอกนะว่ามันชื่ออะไร”
“โอเค เราจะคอยดูสาวน้อยชุดกระต่ายให้ดีเลยล่ะ” ไมเคิล คอลลินส์ หนึ่งในนักบินอวกาศที่เดินทางไปกับยานนั้นตอบศูนย์ควบคุมแบบติดตลก เห็นได้ว่าตำนานนี้เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก แม้แต่กับทางตะวันตกก็ตาม
ผ่านมาจนถึงยุควิทยาศาสตร์เรื่องราวของฉางเอ๋อก็ยังถูกกล่าวถึง โดยชาวจีนได้ตั้งชื่อยานในโครงการสำรวจดวงจันทร์ว่า “ฉางเอ๋อ” คล้ายคลึงกับที่นาซาตั้งชื่อโครงการสู่ดวงจันทร์ครั้งใหม่ว่า “อาร์เตมิส” เทพีแห่งดวงจันทร์ตามปกรณัมกรีก ทั้งหมดล้วนแสดงถึงความยิ่งใหญ่และความเหนือกาลเวลาของตำนานเหล่านี้ ที่ต่อไปผ่านไปกี่พันปี ก็ยังถูกเล่าใหม่ และนำมาใช้ในบริบทอื่นได้เสมอ
::: อ้างอิง :::
- The legend of the moon in China, of Chang’e and the Jade Rabbit discoverplaces (ดอต) travel/en/the-legend-of-the-moon-in-china-of-change-and-the-jade-rabbit/
- Mid Autumn Festival story and how Chinese celebrate it youtu (ดอต) be/EMMU1YJadzE
- Tales From Japan: The Rabbit on the Moon bokksu (ดอต) com/blogs/news/japanese-folktale-rabbit-on-the-moon
- Apollo 11 Technical Air-to-Ground Voice Transcription hq (ดอต) nasa (ดอต) gov/alsj/a11/a11transcript_tec.pdf
- สสปัณฑิตชาดก dhammathai (ดอต) org/chadoknt/chadoknt01.php
moon rabbit story chinese 在 Reeve Yew Youtube 的評價
你知道吗?中国的中秋节和西方的平安夜一样重要。月满中秋时,一家人坐在一起,老人会把月亮的故事讲给孩子听,嫦娥奔月、月兔捣药……这些故事也陪伴我整个童年。希望今天的视频可以更多人了解中国月亮,中国文化。中秋节,祝全世界的人平安喜乐。
#中国月亮
#祝你平安
#与世界共赏中国月亮
You know that the Mid-Autumn Festival in China is as important as Christmas Eve in the West. When the moon is full at this very day, as a family sits together, the elders will always share the story of the moon with their child: “Chang-E Ascending to the Moon”, “Jade Rabbit Synthesis Immortal Medicine”etc. These stories have accompanied me throughout my childhood. I hope that today's video can help more people understand the implication of Chinese moon and Chinese culture.
I wish people and their loved ones all over the world peace and happiness on Mid-Autumn Festival.
#ChineseMoon
#MaythePINGANbewithyou
#gazingtheChineseMoonwiththeworld
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/6BOXJEp1tZE/hqdefault.jpg)