Walaupun Scha sangat sibuk, Scha tak pernah miss hantarkan duit ke Philippines untuk pembantu saya,Joy setiap bulan. Busy macamana pun, tetap hantar duit on time with @eremitmalaysia
It's so easy with e-remit! No matter where I am, I can send money online anytime, anywhere! @eremitmalaysia bukan sahaja mudah, service charges dia pun rendah, and exchange rate terbaik! -And sekarang e-remit dah partner dengan MoneyGram, so now you can send money anywhere in the world dari your @eremitmalaysia account! Best kan? Jom follow @eremitmalaysia for more info!
#merchantrade #eremitmalaysia
同時也有29部Youtube影片,追蹤數超過89萬的網紅อันแน่ออนทัวร์,也在其Youtube影片中提到,ร้านทองรับแลกเงินเมืองยองแต่ทองมาจากไทยทั้งนั้น...
exchange rate 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
อียิปต์ ประเทศที่เคย “รวย” กว่าไทย / โดย ลงทุนแมน
ดินแดนแห่งนี้คืออู่อารยธรรมที่สำคัญของโลก
อารยธรรมกว่า 5,000 ปีทำให้อียิปต์เต็มไปด้วยโบราณสถาน
และแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์นับไม่ถ้วน
เมื่อ 60 ปีที่แล้ว คนอียิปต์มีรายได้ต่อหัวมากกว่าคนไทย 1.5 เท่า
ปี 1960 คนอียิปต์ มีรายได้ต่อหัวต่อปี 3,160 บาท
ในขณะที่คนไทยมีรายได้ต่อหัวต่อปีเพียง 2,140 บาท
นอกจากการท่องเที่ยว
ภาคการขนส่งก็เป็นส่วนสำคัญที่สร้างรายได้ให้ประเทศนี้ถึงปีละ 180,000 ล้านบาท
ด้วยทำเลที่ตั้งของอียิปต์ ที่เป็นจุดเชื่อมระหว่าง 3 ทวีป
คือยุโรป เอเชีย และแอฟริกา
จึงเป็นที่ตั้งของ “คลองสุเอซ” ที่ช่วยลัดเส้นทางเดินเรือระหว่างทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย
อียิปต์ยังมีแหล่งทรัพยากรสำคัญ คือ “น้ำมันดิบ”
บริเวณอ่าวสุเอซ และคาบสมุทรไซนายทางตะวันออกของประเทศ
ดูเหมือนว่า ประเทศนี้จะมีทุกอย่างที่ช่วยส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ
ทั้งทรัพยากร และภาคบริการ
แต่เศรษฐกิจของอียิปต์กลับไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควร
จนกลายเป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวน้อยกว่าคนไทยถึง 3 เท่า
ปี 2018 คนไทยมีรายได้ต่อหัวต่อปี 216,900 บาท
ส่วนคนอียิปต์มีรายได้ต่อหัวต่อปีเพียง 77,650 บาท
เกิดอะไรขึ้นกับอู่อารยธรรมของโลกแห่งนี้..
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ ซีรีส์บทความ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอน อียิปต์
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
คำตอบสำหรับคำถามนี้ อาจประกอบไปด้วยหลายปัจจัยด้วยกัน
ประการแรก คือเหตุผลที่เห็นได้ชัดเจนมากที่สุด ก็คือ จำนวนประชากร
ในปี 1960 ไทยมีประชากร 27.4 ล้านคน พอๆ กับประชากรอียิปต์ที่มีอยู่ 27 ล้านคน
แต่เมื่อถึงปี 2018 ไทยมีประชากร 69 ล้านคน
ในขณะที่ประชากรอียิปต์พุ่งสูงถึง 98 ล้านคน
แม้อียิปต์จะมีพื้นที่กว่า 1,010,000 ตารางกิโลเมตร
แต่พื้นที่ส่วนใหญ่ 96% คือทะเลทรายอันแห้งแล้ง
พื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำการเกษตร มีเพียง 38,000 ตารางกิโลเมตร
อยู่บริเวณริม 2 ฝั่งแม่น้ำ และดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์
ปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นก็คือ
ผลผลิตจากการเพาะปลูกภายในประเทศไม่เพียงพอที่จะเลี้ยงดูประชากร..
อียิปต์จำเป็นต้องนำเข้าอาหารหลักโดยเฉพาะข้าวสาลีจากต่างประเทศ
คิดเป็นมูลค่าถึง 80,000 ล้านบาท ในปี ค.ศ. 2017
ยังไม่รวมสินค้านำเข้าประเภทอื่นๆ ทั้งอาหาร สินค้าอุตสาหกรรม ยา และยานยนต์
แม้อียิปต์จะมีแหล่งน้ำมันดิบ ซึ่งสามารถผลิตได้วันละ 666,000 บาร์เรลต่อวัน
แต่ด้วยจำนวนประชากรที่มาก ชาวอียิปต์บริโภคน้ำมันถึงวันละ 800,000 บาร์เรล
จนกลายเป็นประเทศผู้นำเข้าพลังงานในที่สุด
ประการที่ 2 การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ หรือ Fixed Exchange Rate
เมื่อมีสินค้านำเข้ามาก
แต่ภาคการส่งออกของอียิปต์กลับไม่แข็งแกร่งเท่าที่ควร โดยมีสาเหตุสำคัญมาจากการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 - ค.ศ. 1989 เป็นช่วงที่รัฐบาลอียิปต์ได้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่
ค่าเงินถูกตรึงไว้ที่ 1 ดอลลาร์สหรัฐ = 0.4 ปอนด์อียิปต์
การที่ค่าเงินถูกตรึงให้คงที่เป็นระยะเวลานาน ทำให้มีค่าสูงกว่าความเป็นจริง
ส่งผลให้สินค้านำเข้ามีราคาถูกกว่าความเป็นจริง
ในขณะที่ภาคการส่งออกกลับดูแพงในสายตาต่างประเทศ
เมื่อผู้ส่งออกขาดความสามารถในการแข่งขันเรื่องค่าเงิน
ประกอบกับรัฐบาลมุ่งเน้นแต่การแปรรูปกิจการเอกชนให้เป็นรัฐวิสาหกิจ
และไม่สนับสนุนการลงทุนภาคเอกชน
อียิปต์จึงขาดดุลการค้าต่อเนื่องเป็นระยะเวลาติดต่อกันกว่า 58 ปี
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 จนถึงปี ค.ศ. 2018
ธนาคารกลางพยายามควบคุมค่าเงินปอนด์อียิปต์ให้คงที่
โดยทำการปรับอัตราแลกเปลี่ยนหลายครั้ง
จนทำให้เงินทุนสำรองระหว่างประเทศลดลงอย่างหนัก
ท้ายที่สุด รัฐบาลก็ต้องไปขอกู้เงินจาก IMF ในปี 2016
แต่ IMF ไม่ให้กู้ง่ายๆ IMF ย่อมต้องอยากได้เงินต้นคืน ซึ่งต้องมีเงื่อนไขให้รัฐบาลที่กู้ปฏิบัติตาม
ดังนั้น รัฐบาลอียิปต์จึงจำเป็นต้องมีมาตรการปรับเปลี่ยนนโยบายทางเศรษฐกิจ
คือการควบคุมค่าใช้จ่าย และปล่อยให้ค่าเงินลอยตัวเพื่อสะท้อนกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
จากเดือนตุลาคมปี 2016 เงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ = 8.8 ปอนด์อียิปต์
เดือนพฤศจิกายนปี 2016 เงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ = 18.4 ปอนด์อียิปต์
การทำให้ค่าเงินลอยตัวในตอนนั้น ทำให้ค่าเงินปอนด์อียิปต์อ่อนค่าลงทันที
ด้วยความที่อียิปต์เป็นประเทศที่นำเข้าสินค้าเป็นหลัก
เมื่อค่าเงินอ่อนลง สินค้าจึงมีราคาสูงขึ้นหลายเท่าตัว
สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาก็คือ “ภาวะเงินเฟ้อ”
อัตราเงินเฟ้อปี 2016 อยู่ที่ระดับ 10.2%
อัตราเงินเฟ้อปี 2017 อยู่ที่ระดับ 23.5%
อัตราเงินเฟ้อทำให้ประชาชนระดับล่างประสบความลำบากมาก
มีผู้ที่อยู่ต่ำกว่าเส้นความยากจนถึง 32.5% ของประชากรทั้งประเทศ
ประการที่ 3 ทำเลที่ตั้ง
อียิปต์ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ระหว่าง 3 ทวีป คือ เอเชีย ยุโรป และแอฟริกา
แม้จะเป็นผลดีต่อภาคการขนส่ง
แต่กลับทำให้อียิปต์ต้องเข้าไปมีส่วนร่วมกับความขัดแย้งระหว่างประเทศ
โดยเฉพาะความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลาง ระหว่างอิสราเอล กับชาติอาหรับ
ประชากรส่วนใหญ่ของอียิปต์มีเชื้อสายอาหรับ
และอียิปต์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มสันนิบาตอาหรับ หรือ Arab League
ซึ่งมีสมาชิก 22 ประเทศ
ด้วยปัญหาความขัดแย้งในเรื่องพรมแดนกับอิสราเอล
อียิปต์จึงเป็นผู้นำชาติอาหรับในการทำสงครามกับอิสราเอล ทำให้ต้องนำเข้าอาวุธยุทโธปกรณ์จำนวนมหาศาลในช่วงสงคราม
ในช่วงปี ค.ศ. 1968 - ค.ศ. 1978 ซึ่งความขัดแย้งปะทุหนัก
งบประมาณการทหารของอียิปต์ มีสัดส่วนมากกว่า 10% ของ GDP
โดยในปี 1974 ช่วงหลังสงครามยมคิปปูร์ งบประมาณการทหารของอียิปต์มีสัดส่วนถึง 16.7% ของ GDP
ถึงแม้สงครามจะจบลงด้วยการเจรจาสันติภาพในปี ค.ศ. 1978
แต่รายจ่ายเหล่านี้ ทำให้รัฐบาลอียิปต์ขาดดุลงบประมาณอย่างหนัก
หนี้สาธารณะของประเทศจึงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยมา
เมื่อรวมกับการที่ต้องกู้เงินจาก IMF เพื่อรักษาเสถียรภาพของค่าเงินปอนด์อียิปต์
หนี้สาธารณะของอียิปต์จึงค่อยๆ เพิ่มสูงขึ้นจนมีระดับ 90% ของ GDP ในปี ค.ศ. 2017
นอกจากในเรื่องความขัดแย้ง ทำเลที่ตั้งยังทำให้อียิปต์ต้องเผชิญหน้ากับเหตุการณ์อาหรับสปริง
ซึ่งเป็นการเดินขบวนประท้วงในโลกอาหรับ เพื่อโค่นล้มอำนาจของผู้นำเผด็จการ
อาหรับสปริงมีจุดเริ่มต้นในประเทศตูนิเซีย ซึ่งเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ
ไล่มาจนถึงการปฏิวัติอียิปต์ในปี 2011
การปฏิวัติอียิปต์โค่นล้มอำนาจของ ฮุสนี มุบาร็อก
ให้ลงจากตำแหน่งประธานาธิบดีที่ครองมายาวนานเกือบ 30 ปี
ความวุ่นวายจากการประท้วงและการปฏิวัติ
ทำให้การท่องเที่ยวซึ่งเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญกว่า 16.7% ของ GDP อียิปต์ ได้รับผลกระทบอย่างหนัก
นักท่องเที่ยวต่างชาติมาเยือนอียิปต์ มีจำนวน 14.7 ล้านคน ในปี 2010 ก่อนการปฏิวัติ สร้างรายได้ให้อียิปต์ 375,000 ล้านบาท
ก่อนที่จำนวนนักท่องเที่ยวจะลดลงกว่า 37 % ในปีถัดมา
ซึ่งจำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้ไม่เคยกลับไปถึงจุดสูงสุดอีกเลย จนถึงปี 2018..
การท่องเที่ยวซึ่งเคยเป็นแหล่งรายได้หลักของประเทศติดลบอย่างหนัก
พ่วงด้วยการขาดดุลการค้า หนี้สาธารณะที่สูง
และเสถียรภาพของค่าเงินปอนด์อียิปต์ที่ย่ำแย่
ทั้งหมดนี้ล้วนส่งผลให้การพัฒนาประเทศของอียิปต์ประสบปัญหา
จนกลายเป็นประเทศที่ประชาชนมีรายได้ต่อหัวน้อยกว่าไทยถึง 3 เท่าในท้ายที่สุด..
ไม่ไกลจากอียิปต์
เหตุการณ์อาหรับสปริงส่งผลกระทบต่ออีกประเทศหนึ่งเช่นเดียวกัน
แต่ผลที่ประเทศนั้นได้รับ รุนแรงและโหดร้ายกว่าอียิปต์หลายเท่า
ทำให้ประเทศที่ครั้งหนึ่งเคยรวยกว่าไทย 2 เท่า ต้องอยู่ในสถานะรัฐล้มเหลวในปัจจุบัน
ประเทศนั้นคือ “สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย”..
ติดตาม ซีรีส์ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอนต่อไปได้ในสัปดาห์หน้า
โหลดแอป Blockdit เพื่ออ่านซีรีส์ตอนก่อนหน้านี้ ได้ที่ Blockdit.com/download
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
References
-https://www.eia.gov/beta/international/analysis.php?iso=EGY
-https://www.wikizero.com/en/Egyptian_pound
-https://www.aucegypt.edu/…/floatation-egyptian-pound-it-goi…
-https://www.theglobaleconomy.com/Egypt/Trade_balance/
-https://www.statista.com/statist…/…/inflation-rate-in-egypt/
-https://foreignpolicy.com/…/egypts-economy-isnt-booming-it…/
-https://www.indexmundi.com/…/eg…/indicator/MS.MIL.XPND.GD.ZS
-https://knoema.com/…/Contribution-of-travel-and-tourism-to-…
-https://www.egypttoday.com/…/32-5-of-Egyptians-live-in-extr…
exchange rate 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
อียิปต์ ประเทศที่เคย “รวย” กว่าไทย / โดย ลงทุนแมน
ดินแดนแห่งนี้คืออู่อารยธรรมที่สำคัญของโลก
อารยธรรมกว่า 5,000 ปีทำให้อียิปต์เต็มไปด้วยโบราณสถาน
และแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์นับไม่ถ้วน
เมื่อ 60 ปีที่แล้ว คนอียิปต์มีรายได้ต่อหัวมากกว่าคนไทย 1.5 เท่า
ปี 1960 คนอียิปต์ มีรายได้ต่อหัวต่อปี 3,160 บาท
ในขณะที่คนไทยมีรายได้ต่อหัวต่อปีเพียง 2,140 บาท
นอกจากการท่องเที่ยว
ภาคการขนส่งก็เป็นส่วนสำคัญที่สร้างรายได้ให้ประเทศนี้ถึงปีละ 180,000 ล้านบาท
ด้วยทำเลที่ตั้งของอียิปต์ ที่เป็นจุดเชื่อมระหว่าง 3 ทวีป
คือยุโรป เอเชีย และแอฟริกา
จึงเป็นที่ตั้งของ “คลองสุเอซ” ที่ช่วยลัดเส้นทางเดินเรือระหว่างทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย
อียิปต์ยังมีแหล่งทรัพยากรสำคัญ คือ “น้ำมันดิบ”
บริเวณอ่าวสุเอซ และคาบสมุทรไซนายทางตะวันออกของประเทศ
ดูเหมือนว่า ประเทศนี้จะมีทุกอย่างที่ช่วยส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ
ทั้งทรัพยากร และภาคบริการ
แต่เศรษฐกิจของอียิปต์กลับไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควร
จนกลายเป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวน้อยกว่าคนไทยถึง 3 เท่า
ปี 2018 คนไทยมีรายได้ต่อหัวต่อปี 216,900 บาท
ส่วนคนอียิปต์มีรายได้ต่อหัวต่อปีเพียง 77,650 บาท
เกิดอะไรขึ้นกับอู่อารยธรรมของโลกแห่งนี้..
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ ซีรีส์บทความ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอน อียิปต์
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
คำตอบสำหรับคำถามนี้ อาจประกอบไปด้วยหลายปัจจัยด้วยกัน
ประการแรก คือเหตุผลที่เห็นได้ชัดเจนมากที่สุด ก็คือ จำนวนประชากร
ในปี 1960 ไทยมีประชากร 27.4 ล้านคน พอๆ กับประชากรอียิปต์ที่มีอยู่ 27 ล้านคน
แต่เมื่อถึงปี 2018 ไทยมีประชากร 69 ล้านคน
ในขณะที่ประชากรอียิปต์พุ่งสูงถึง 98 ล้านคน
แม้อียิปต์จะมีพื้นที่กว่า 1,010,000 ตารางกิโลเมตร
แต่พื้นที่ส่วนใหญ่ 96% คือทะเลทรายอันแห้งแล้ง
พื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำการเกษตร มีเพียง 38,000 ตารางกิโลเมตร
อยู่บริเวณริม 2 ฝั่งแม่น้ำ และดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์
ปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นก็คือ
ผลผลิตจากการเพาะปลูกภายในประเทศไม่เพียงพอที่จะเลี้ยงดูประชากร..
อียิปต์จำเป็นต้องนำเข้าอาหารหลักโดยเฉพาะข้าวสาลีจากต่างประเทศ
คิดเป็นมูลค่าถึง 80,000 ล้านบาท ในปี ค.ศ. 2017
ยังไม่รวมสินค้านำเข้าประเภทอื่นๆ ทั้งอาหาร สินค้าอุตสาหกรรม ยา และยานยนต์
แม้อียิปต์จะมีแหล่งน้ำมันดิบ ซึ่งสามารถผลิตได้วันละ 666,000 บาร์เรลต่อวัน
แต่ด้วยจำนวนประชากรที่มาก ชาวอียิปต์บริโภคน้ำมันถึงวันละ 800,000 บาร์เรล
จนกลายเป็นประเทศผู้นำเข้าพลังงานในที่สุด
ประการที่ 2 การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ หรือ Fixed Exchange Rate
เมื่อมีสินค้านำเข้ามาก
แต่ภาคการส่งออกของอียิปต์กลับไม่แข็งแกร่งเท่าที่ควร โดยมีสาเหตุสำคัญมาจากการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 - ค.ศ. 1989 เป็นช่วงที่รัฐบาลอียิปต์ได้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่
ค่าเงินถูกตรึงไว้ที่ 1 ดอลลาร์สหรัฐ = 0.4 ปอนด์อียิปต์
การที่ค่าเงินถูกตรึงให้คงที่เป็นระยะเวลานาน ทำให้มีค่าสูงกว่าความเป็นจริง
ส่งผลให้สินค้านำเข้ามีราคาถูกกว่าความเป็นจริง
ในขณะที่ภาคการส่งออกกลับดูแพงในสายตาต่างประเทศ
เมื่อผู้ส่งออกขาดความสามารถในการแข่งขันเรื่องค่าเงิน
ประกอบกับรัฐบาลมุ่งเน้นแต่การแปรรูปกิจการเอกชนให้เป็นรัฐวิสาหกิจ
และไม่สนับสนุนการลงทุนภาคเอกชน
อียิปต์จึงขาดดุลการค้าต่อเนื่องเป็นระยะเวลาติดต่อกันกว่า 58 ปี
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 จนถึงปี ค.ศ. 2018
ธนาคารกลางพยายามควบคุมค่าเงินปอนด์อียิปต์ให้คงที่
โดยทำการปรับอัตราแลกเปลี่ยนหลายครั้ง
จนทำให้เงินทุนสำรองระหว่างประเทศลดลงอย่างหนัก
ท้ายที่สุด รัฐบาลก็ต้องไปขอกู้เงินจาก IMF ในปี 2016
แต่ IMF ไม่ให้กู้ง่ายๆ IMF ย่อมต้องอยากได้เงินต้นคืน ซึ่งต้องมีเงื่อนไขให้รัฐบาลที่กู้ปฏิบัติตาม
ดังนั้น รัฐบาลอียิปต์จึงจำเป็นต้องมีมาตรการปรับเปลี่ยนนโยบายทางเศรษฐกิจ
คือการควบคุมค่าใช้จ่าย และปล่อยให้ค่าเงินลอยตัวเพื่อสะท้อนกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
จากเดือนตุลาคมปี 2016 เงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ = 8.8 ปอนด์อียิปต์
เดือนพฤศจิกายนปี 2016 เงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ = 18.4 ปอนด์อียิปต์
การทำให้ค่าเงินลอยตัวในตอนนั้น ทำให้ค่าเงินปอนด์อียิปต์อ่อนค่าลงทันที
ด้วยความที่อียิปต์เป็นประเทศที่นำเข้าสินค้าเป็นหลัก
เมื่อค่าเงินอ่อนลง สินค้าจึงมีราคาสูงขึ้นหลายเท่าตัว
สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาก็คือ “ภาวะเงินเฟ้อ”
อัตราเงินเฟ้อปี 2016 อยู่ที่ระดับ 10.2%
อัตราเงินเฟ้อปี 2017 อยู่ที่ระดับ 23.5%
อัตราเงินเฟ้อทำให้ประชาชนระดับล่างประสบความลำบากมาก
มีผู้ที่อยู่ต่ำกว่าเส้นความยากจนถึง 32.5% ของประชากรทั้งประเทศ
ประการที่ 3 ทำเลที่ตั้ง
อียิปต์ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ระหว่าง 3 ทวีป คือ เอเชีย ยุโรป และแอฟริกา
แม้จะเป็นผลดีต่อภาคการขนส่ง
แต่กลับทำให้อียิปต์ต้องเข้าไปมีส่วนร่วมกับความขัดแย้งระหว่างประเทศ
โดยเฉพาะความขัดแย้งในภูมิภาคตะวันออกกลาง ระหว่างอิสราเอล กับชาติอาหรับ
ประชากรส่วนใหญ่ของอียิปต์มีเชื้อสายอาหรับ
และอียิปต์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มสันนิบาตอาหรับ หรือ Arab League
ซึ่งมีสมาชิก 22 ประเทศ
ด้วยปัญหาความขัดแย้งในเรื่องพรมแดนกับอิสราเอล
อียิปต์จึงเป็นผู้นำชาติอาหรับในการทำสงครามกับอิสราเอล ทำให้ต้องนำเข้าอาวุธยุทโธปกรณ์จำนวนมหาศาลในช่วงสงคราม
ในช่วงปี ค.ศ. 1968 - ค.ศ. 1978 ซึ่งความขัดแย้งปะทุหนัก
งบประมาณการทหารของอียิปต์ มีสัดส่วนมากกว่า 10% ของ GDP
โดยในปี 1974 ช่วงหลังสงครามยมคิปปูร์ งบประมาณการทหารของอียิปต์มีสัดส่วนถึง 16.7% ของ GDP
ถึงแม้สงครามจะจบลงด้วยการเจรจาสันติภาพในปี ค.ศ. 1978
แต่รายจ่ายเหล่านี้ ทำให้รัฐบาลอียิปต์ขาดดุลงบประมาณอย่างหนัก
หนี้สาธารณะของประเทศจึงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยมา
เมื่อรวมกับการที่ต้องกู้เงินจาก IMF เพื่อรักษาเสถียรภาพของค่าเงินปอนด์อียิปต์
หนี้สาธารณะของอียิปต์จึงค่อยๆ เพิ่มสูงขึ้นจนมีระดับ 90% ของ GDP ในปี ค.ศ. 2017
นอกจากในเรื่องความขัดแย้ง ทำเลที่ตั้งยังทำให้อียิปต์ต้องเผชิญหน้ากับเหตุการณ์อาหรับสปริง
ซึ่งเป็นการเดินขบวนประท้วงในโลกอาหรับ เพื่อโค่นล้มอำนาจของผู้นำเผด็จการ
อาหรับสปริงมีจุดเริ่มต้นในประเทศตูนิเซีย ซึ่งเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ
ไล่มาจนถึงการปฏิวัติอียิปต์ในปี 2011
การปฏิวัติอียิปต์โค่นล้มอำนาจของ ฮุสนี มุบาร็อก
ให้ลงจากตำแหน่งประธานาธิบดีที่ครองมายาวนานเกือบ 30 ปี
ความวุ่นวายจากการประท้วงและการปฏิวัติ
ทำให้การท่องเที่ยวซึ่งเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญกว่า 16.7% ของ GDP อียิปต์ ได้รับผลกระทบอย่างหนัก
นักท่องเที่ยวต่างชาติมาเยือนอียิปต์ มีจำนวน 14.7 ล้านคน ในปี 2010 ก่อนการปฏิวัติ สร้างรายได้ให้อียิปต์ 375,000 ล้านบาท
ก่อนที่จำนวนนักท่องเที่ยวจะลดลงกว่า 37 % ในปีถัดมา
ซึ่งจำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้ไม่เคยกลับไปถึงจุดสูงสุดอีกเลย จนถึงปี 2018..
การท่องเที่ยวซึ่งเคยเป็นแหล่งรายได้หลักของประเทศติดลบอย่างหนัก
พ่วงด้วยการขาดดุลการค้า หนี้สาธารณะที่สูง
และเสถียรภาพของค่าเงินปอนด์อียิปต์ที่ย่ำแย่
ทั้งหมดนี้ล้วนส่งผลให้การพัฒนาประเทศของอียิปต์ประสบปัญหา
จนกลายเป็นประเทศที่ประชาชนมีรายได้ต่อหัวน้อยกว่าไทยถึง 3 เท่าในท้ายที่สุด..
ไม่ไกลจากอียิปต์
เหตุการณ์อาหรับสปริงส่งผลกระทบต่ออีกประเทศหนึ่งเช่นเดียวกัน
แต่ผลที่ประเทศนั้นได้รับ รุนแรงและโหดร้ายกว่าอียิปต์หลายเท่า
ทำให้ประเทศที่ครั้งหนึ่งเคยรวยกว่าไทย 2 เท่า ต้องอยู่ในสถานะรัฐล้มเหลวในปัจจุบัน
ประเทศนั้นคือ “สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย”..
ติดตาม ซีรีส์ ประเทศที่ “เคยรวยกว่า” ไทย ตอนต่อไปได้ในสัปดาห์หน้า
โหลดแอป Blockdit เพื่ออ่านซีรีส์ตอนก่อนหน้านี้ ได้ที่ Blockdit.com/download
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
References
-https://www.eia.gov/beta/international/analysis.php?iso=EGY
-https://www.wikizero.com/en/Egyptian_pound
-https://www.aucegypt.edu/news/stories/floatation-egyptian-pound-it-going-get-better
-https://www.theglobaleconomy.com/Egypt/Trade_balance/
-https://www.statista.com/statistics/377354/inflation-rate-in-egypt/
-https://foreignpolicy.com/2019/06/07/egypts-economy-isnt-booming-its-collapsing-imf-abdel-fattah-sisi-poverty/
-https://www.indexmundi.com/facts/egypt/indicator/MS.MIL.XPND.GD.ZS
-https://knoema.com/atlas/Egypt/topics/Tourism/Travel-and-Tourism-Total-Contribution-to-GDP/Contribution-of-travel-and-tourism-to-GDP-percent-of-GDP
-https://www.egypttoday.com/Article/1/73437/32-5-of-Egyptians-live-in-extreme-poverty-CAPMAS
exchange rate 在 อันแน่ออนทัวร์ Youtube 的評價
ร้านทองรับแลกเงินเมืองยองแต่ทองมาจากไทยทั้งนั้น
exchange rate 在 SAKUMA Thai Channel さくまちゃんねる Youtube 的評價
\ミア先生の1分間タイ語レッスン配信中!/
今すぐLINEを友達追加→https://landing.lineml.jp/r/1575240777-JYaQea7x?lp=fJAguw
-----------------------------------------------------------------
▶▶インスタライブでさくまと話そう!
Instagram https://www.instagram.com/sa.ku.ma.390/
フォローお願いします!
-----------------------------------------------------------------
バンコク スクンビットエリアに
高レートの#両替所 があると
聞きつけ検証しに行きました!
今回は、どのくらい差があるのか
明確に判別するため、
50万円という大きな額で検証!
果たしてその結果は....?
To overseas viewers
In Bangkok Sukhumvit area
If there is a high-rate # currency exchange
I went to listen and verify!
How much difference this time
For a clear distinction,
Verification with a large amount of 500,000 yen!
The result is ...?
ถึงผู้ชมชาวไทย
ในเขตสุขุมวิทกรุงเทพฯ
หากคุณมีสำนักงาน #exchange อัตราสูง
ฉันไปฟังและตรวจสอบ!
ความแตกต่างครั้งนี้เท่าไหร่
เพื่อความแตกต่างที่ชัดเจน
การยืนยันจำนวน 500,000 เยน!
ผลที่ได้คือ ... ?
【タイお得情報!おすすめ動画】
3. 日本円ータイバーツ 両替レート比較、お得な両替所の案内
https://youtu.be/ggC0gUqaCpY
2.タイ旅行者必見!空港に超おすすめの両替所があるんです!【スワンナプーム国際空港】
https://youtu.be/3m5JOJztagQ
1.【検証】バンコクの有名両替所10件回って一番高いのは?
https://youtu.be/UXF8y-oBzZo
【出版】
年商30億円の企業を作ったビジネス理論本!
https://www.amazon.co.jp/dp/B078WNYJ9F
フリー音源素材
「魔王魂」
「Music is VFR」
exchange rate 在 Rachel and Jun Youtube 的評價
★Cat Merch! https://crowdmade.com/collections/junskitchen
- This video goes over the types of over-the-counter drugs (and other drugstore items like condoms and birth control!) that are available in Japan, as well as their current price as of March 22, 2012, and their price converted to US dollars at the current exchange rate of $1 to ¥82.71. I apologize for any inconsistencies with the exchange rate--I edited this video over the course of a few days so the rate may have changed marginally throughout that time!
As for the drugs that are illegal to bring: anything that contains more than 10% pseudoephedrine. To summarize wikipedia: Pseudoephedrine can be found in antihistamines, anti-mucus drugs, anti-cough drugs, pain relievers and NSAIDs (like aspirin or ibuprofen). Because pseudoephedrine can be used to make meth, many drug companies have begun producing products with reduced amounts or no pseudoephedrine, so not all of the above listed types of drugs will contain it. Just make sure you check before you bring any medicine to Japan!
Link to pictures: http://www.photobucket.com/japandrugs
Video Contents:
0:57 - Three levels of over-the-counter drugs
1:18 - Vitamins
2:06 - Colds
2:22 - Hay fever (allergies)
2:36 - Placenta?
2:45 - Sleep/Wake Aids, Children's, Travel Sickness
3:03 - Athlete's foot/Rash creams
3:17 - Contact lens solutions
3:24 - Eye drops
3:28 - Indigestion
3:34 - Probiotics
3:51 - Overeating (heartburn/gas)
3:59 - Constipation
4:04 - Runny nose
4:09 - Sore throat
4:15 - Women's health
4:52 - Nicotine patches/gum
4:57 - Muscle pain
5:06 - Condoms/Pregnancy tests
5:11 - Protein/Energy powder drinks
5:17 - Chinese(?) energy drinks
5:29 - How I smuggled prescription drugs into Japan
Spanish subtitles thanks to: Ricardo J. Alvelo Guerrero
Want to help us subtitle videos?
http://www.youtube.com/timedtext_video?v=vqtFgX01GNM
【You can also find us:】
×Gaming channel: http://www.youtube.com/user/RachelandJunGame
×Extra videos: http://www.youtube.com/user/RachelandJunExtra
×Jun's Kitchen: http://www.youtube.com/user/JunsKitchen
×Twitch: http://www.twitch.tv/rachelandjun/profile
×Facebook: https://www.facebook.com/RachelAndJun
×Twitter: https://twitter.com/RachelAndJun
×Instagram: http://instagram.com/rachelandjun
×Our blog: http://rachelandjun.blogspot.com/
exchange rate 在 X-Rates: Exchange Rates 的相關結果
Free foreign exchange rates and tools including a currency conversion calculator, historical rates and graphs, and a monthly exchange rate average. ... <看更多>
exchange rate 在 Foreign Exchange Rate, Bank of Taiwan - 匯率 的相關結果
Currency Currency Cash Rate Cash Rate
Currency Buying Selling Buying
American Dollar (USD). American Dollar (USD) 30.21 30.88 30.56 30.66
Hong Kong Dollar (HKD). Hong Kong Dollar (HKD) 3.746 3.95 3.872 3.932 ... <看更多>
exchange rate 在 Xe Currency Converter - Live Exchange Rates Today 的相關結果
Calculate live currency and foreign exchange rates with the free Xe Currency Converter. Convert between all major global currencies, precious metals, ... ... <看更多>