Cho tới bây giờ, thậm chí cuộc đấu giữa Samsung và LG không dừng lại việc "xưng vương" ở Hàn Quốc, mà là cả châu Á và thế giới.
Tại hội chợ công nghệ diễn ra ở Berlin, Đức vào năm ngoái xảy ra một vụ việc đáng xấu hổ. Theo đó, Samsung đã buộc tội giám đốc mảng thiết bị gia đình của LG phá huỷ hàng loạt máy giặt cao cấp của hãng được trưng bày tại đây với mức giá 2.700 USD mỗi chiếc.
Phía Samsung chỉ ra tên đích danh của lãnh đạo LG là ông Jo Seong-jin. Tuy vậy thông qua người phát ngôn, ông Jo từ chối lời buộc tội này và khẳng định máy giặt hỏng là do Samsung thiết kế cửa lồng giặt quá yếu. Vụ việc sau đó đã được giải quyết ổn thoả nhưng sự thật thì mối thâm thù giữa hai tập đoàn hàng đầu của Hàn Quốc này vẫn âm ỉ cháy suốt gần nửa thế kỷ qua.
Hai tập đoàn này luôn rượt đuổi nhau không ngừng trên thị trường quốc tế với những sản phẩm như ti vi, tủ lạnh, điện thoại thông minh…
Tại quê nhà Hàn Quốc, thậm chí cuộc chiến giữa Samsung và LG còn trở nên khốc liệt hơn rất nhiều. Cả 2 luôn dùng mọi cách để có thể vượt qua nhau, thường xuyên tuyên bố sản phẩm mới và tìm câu trả lời xem ai là người bán nhiều thiết bị hơn hay ai đánh cắp bí mật công nghệ của bên còn lại. Cho tới bây giờ, thậm chí cuộc đấu giữa Samsung và LG không dừng lại việc "xưng vương" ở Hàn Quốc, mà là cả châu Á và thế giới.
Tính đến thời điểm hiện tại, Samsung có phần "nhỉnh hơn" khi là chaebol lớn nhất Hàn Quốc với doanh thu năm 2014 đạt 206,2 nghìn tỷ won (tương đương 171 tỷ USD), chiếm tới 17% tổng GDP Hàn Quốc.
Trong khi đó, LG hiện đứng thứ 4 trong top 5 chaebol của Hàn Quốc và theo số liệu của Ủy ban Thương mại Tự do Hàn Quốc, trong năm 2014, 3 mảng kinh doanh điện tử, hóa chất và viễn thông của LG mang về doanh thu 116 nghìn tỷ won (104 tỷ USD). Còn theo người phát ngôn của LG Group, doanh thu của tập đoàn này trong năm 2014 là 150 nghìn tỷ won (136 tỷ USD).
Tình bạn, tình sui gia
Vào năm 1938, ông Lee Byung-chull lập ra một công ty thương mại ở tỉnh Gyeongsang, cũng là quê hương ông, và đặt tên nó là Samsung. Tuy nhiên, sau chiến tranh với Nhật Bản, ông Lee gần như mất tất cả. Với số vốn ít ỏi còn lại, ông lập ra một công ty tinh luyện đường mang tên Sugar BC.
Trong khi đó, nhà sáng lập LG, Koo In-hwoi cũng sinh ra tại Gyeongsang. Sau khi thành công tương đối ở việc kinh doanh hàng khô và nhập khẩu, ông mở công ty mỹ phẩm Luk Hai - chuyên sản xuất kem "Lucky" vào năm 1947.
Đến năm 1958, ông tiếp tục thành lập Goldstar - gốc rễ hình thành nên LG Electronics sau này. Goldstar nổi tiếng với chiếc A-501, thiết bị radio gia đình đầu tiên của Hàn Quốc. Có thể nhận thấy, LG đã đi trước Samsung một bước khi tiến vào thị trường điện tử.
Vốn cùng quê, 2 nhà sáng lập Byung-chull và In-hwoi có mối quan hệ bạn bè khá thân thiết và tôn trọng lẫn nhau. Thậm chí, 2 vị này còn học tiểu học cùng nhau và đặc biệt khi lớn lên, họ có quan hệ thông gia khi con gái thứ hai của ông Byung-chull kết hôn với con trai thứ ba của ông In-hwoi. Sau khi trở thành vợ chồng, con trai của ông In-hwoi đã về làm cho Samsung một thời gian.
Đại chiến giữa các vì sao
Nói như vậy là bởi, chữ Samsung trong tiếng Hàn Quốc có nghĩa là "ba ngôi sao", còn nguyên gốc của chữ "G" trong LG có nghĩa là "Goldstar" - "ngôi sao vàng". Đây được coi là 2 đại diện ưu tú, 2 ngôi sao sáng bậc nhất trên bầu trời Hàn Quốc.
Với vị thế là người đi trước đón đầu trong lĩnh vực điện tử, LG đã nhận được sự hỗ trợ rất nhiều từ chính phủ và nhờ vậy, họ đã phát triển rất vững mạnh. Mọi chuyện bắt đầu nảy sinh khi nhà sáng lập Samsung cũng nhận thấy được tiềm năng lớn và quyết định dấn thân vào lĩnh vực này.
Theo lời kể lại của con trai ông Lee thì nhà sáng lập của Samsung đã gặp trực tiếp ông Koo để thông báo kế hoạch tấn công vào thị trường điện tử. Dĩ nhiên ông Koo đón nhận thông tin này với một thái độ không mấy dễ chịu bởi trước đó họ từng có cam kết ngầm không bao giờ nhảy vào lĩnh vực của nhau. Nhà sáng lập LG thậm chí đã lớn tiếng quát mắng vị thông gia. Ngược lại, ông Lee cũng bất ngờ trước phản ứng của ông Koo và bỏ về.
Kể từ đó, hai nhà lãnh đạo LG và Samsung không bao giờ thân thiết trở lại nữa. Ngay sau vụ việc, con trai của ông Koo (và cũng là con rể của ông Lee) nhanh chóng rời khỏi Samsung.
Khác biệt của 2 nền văn hoá
Những tài liệu ghi lại cho thấy gia đình của ông Koo rất tôn sùng Nho giáo – loại tôn giáo truyền thống của Triều Tiên. Điều này khiến cho nền văn hóa doanh nghiệp của LG, đến tận bây giờ vẫn bị cho là "cổ hủ" so với các chaebol khác. Ví dụ điển hình là việc LG tuân thủ tuyệt đối nguyên tắc "trao ngôi cho con trưởng".
Koo Cha-kyung, con trai trưởng của ông In-hwoi, kế thừa ngôi vị chủ tịch của cha, và sau đó cũng trao lại ngôi vị này cho con trai trưởng của mình, Koo Bon-Moo. Ông Bon-Moo không có con trai, và bởi vậy đã nhận cháu ruột của mình làm con nuôi – và vị này đang được kỳ vọng sẽ kế nghiệp tại LG trong tương lai.
Trong khi đó, Samsung lại tuân thủ theo văn hoá "cân nhắc tất cả các lựa chọn rồi mới đi đến quyết định".
Minh chứng rõ ràng nhất cho văn hóa này là lựa chọn kế nhiệm của nhà sáng lập Samsung: Ông lựa chọn con trai thứ ba - Lee Kun-Hee làm người kế nghiệp. Và thật may mắn, chính quyết định này đã mang vinh quang về cho Samsung. Thời gian đó, LG vẫn dẫn đầu trong mảng điện tử và hoá chất tuy nhiên, dưới sự dẫn dắt của người con trai thứ 3 Lee Kun-hee, Samsung đã có sự tăng tốc thần kỳ.
Trước sức ép từ không chỉ từ Samsung mà từ nhiều đối thủ khác, một lần nữa, dưới thời kỳ cai trị của thế hệ thứ 2 là ông Koo Cha-kyung, LG lại đi tiên phong trong việc tuân thủ triết lý "chất lượng trên số lượng”. Thậm chí, vị chủ tịch này còn trực tiếp thuyết giảng triết lý này tới đông đảo người tiêu dùng.
Song, Samsung cũng không hề kém cạnh. Chủ tịch Lee Kun-Hee đã nhanh chóng "học hỏi" và mang thông điệp này tới người tiêu dùng. Hơn nữa, Samsung còn biết cách để làm cho người khác chú ý tới mình hơn. Cụ thể, trong một buổi nói chuyện với truyền thông, chủ tịch Lee gọi các thiếu sót trên sản phẩm là "các khối u". Đến năm 1995, ông Lee thậm chí còn không ngần ngại ra lệnh tiêu hủy 150.000 mẫu điện thoại di động lỗi ngay trước cửa nhà máy để thể hiện quan điểm mạnh mẽ của mình.
Chiến thắng nhờ “cái đầu lạnh”
Lịch sử Samsung ghi nhận cột mốc quan trọng vào năm 1983 khi chủ tịch công ty Lee Byung-chull tuyên bố họ sẽ tham gia vào lĩnh vực sản xuất chip bán dẫn. Rất nhiều người cho rằng đây là hành động quá “liều lĩnh” trong bối cảnh các ông lớn Nhật Bản như NEC, Toshiba và Hitachi là những tên tuổi số 1 thế giới về chip nhớ. Ngay cả các tập đoàn lớn của Mỹ như Motorola, Texas Instruments hay National Semiconductor cũng phải chịu cúi đầu trước Nhật Bản.
Tuy nhiên, với những thành tựu gồm sản xuất thành công chip nhớ DRAM 64KB, 256KB và RAM 4MB… Samsung đã lần lượt vượt qua các đối thủ và trở thành nhà sản xuất chip nhớ số 1 thế giới, và cho đến nay họ vẫn vững vàng trên ngôi vị này.
Trong khi đó, dù chỉ bước sau Samsung 1 bước trong cuộc đua chip bán dẫn nhưng may mắn đã không mỉm cười với LG. Tới năm 1997, trong khuôn khổ chương trình tái cơ cấu do chính phủ Hàn Quốc, LG buộc phải bán lại mảng chip bán dẫn của mình cho Hyundai. Và như vậy, họ đã mất đi vũ khí quan trọng để đối đầu với Samsung.
Ngoài chip bán dẫn, LG và Samsung còn rượt đuổi nhau trong cuộc đua thiết kế màn hình ti vi và điện thoại di động.
Dù Samsung là người tiến quân ra thị trường Mỹ và châu Âu trước nhưng LG mới là người đạt được thành tựu "khủng" với siêu phẩm "điện thoại socola" vào năm 2005. Sản phẩm này đã rất được ưa chuộng tại thị trường Mỹ. Thời gian đó, cả Samsung và LG đã cùng nhanh chóng đuổi kịp Nokia - hãng điện thoại đến từ Phần Lan.
Tuy nhiên, với sự tập trung cao độ và đặc biệt đổi mới không ngừng nghỉ về thiết kế, một lần nữa may mắn lại mỉm cười với Samsung khi công ty này trở thành nhà sản xuất điện thoại lớn thứ 2 thế giới (thống kê năm 2006) và LG khiêm tốn nằm ở vị trí thứ 5. Hiện tại, khoảng cách này càng được nới rộng hơn khi Samsung leo lên ngôi vị là nhà sản xuất điện thoại lớn nhất thế giới về doanh số bán hàng (lượng điện thoại được bán ra trong Q1/2014 là 93,15 triệu chiếc) và LG vẫn giậm chân tại vị trí số 5 (lượng điện thoại bán ra trong Q1/2014 là 11,74 triệu chiếc).
Tương lai phía trước
Từ xa xưa người Hàn Quốc đã có câu: "Những kẻ đánh nhau thì thường giống nhau". Với trường hợp của LG và Samsung cũng vậy. Cả 2 đã cùng tạo dựng nên một câu chuyện dài trong quá khứ, tuy nhiên chắc chắn xứ Kim Chi đã rất khác nếu không có sự tồn tại của họ.
Cho đến nay, người ta vẫn chưa thể kết luận được kẻ thắng và người thua cuộc. Tuy nhiên, bản thân LG và Samsung cũng từng thừa nhận rằng cuộc chiến kéo dài gần nửa thế kỷ đã khiến họ "kiệt sức". Chặng đường phía trước của cả 2 công ty chắc chắn sẽ còn rất nhiều điều thú vị.
Nguồn: Cafebiz
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過62萬的網紅Bryan Wee,也在其Youtube影片中提到,...
「texas instruments」的推薦目錄:
texas instruments 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
“ลิซ่า ซู” ผู้พลิก AMD ให้มูลค่าบริษัทโต 53 เท่า ใน 7 ปี /โดย ลงทุนแมน
หากพูดถึงบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการ์ดจอ
หลายคนคงนึกถึงบริษัท Nvidia ขึ้นมาเป็นอันดับแรก
แต่จริง ๆ แล้ว ยังมีอีกบริษัทที่ทำธุรกิจเดียวกัน
ชื่อว่า Advanced Micro Devices หรือ AMD
ที่ตอนนี้ ก็เรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่งผู้ผลิตการ์ดจอที่ใหญ่ที่สุดในโลก เช่นกัน
แต่กว่าจะมาเป็นวันนี้ได้ AMD ผ่านอุปสรรคมาเยอะพอสมควร
และเมื่อ 7 ปีก่อนบริษัทแห่งนี้มีมูลค่าเพียง 56,000 ล้านบาท
แต่ภายหลังจาก “ลิซ่า ซู” ขึ้นแท่นมาเป็น CEO ของบริษัท
เธอก็ได้ทำให้ AMD กลับมาเติบโตแบบก้าวกระโดด จนปัจจุบันมีมูลค่ามากถึง 3 ล้านล้านบาท
มูลค่าเพิ่มขึ้น คิดเป็น 53 เท่า ภายในระยะเวลาเพียง 7 ปี
เธอคนนี้ทำได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ปัจจุบัน Advanced Micro Devices หรือ AMD เป็นบริษัทที่พัฒนาชิปประมวลผล, การ์ดจอ
โดยมีผลิตภัณฑ์ครอบคลุมให้กับนักเล่นเกมไปจนถึงธุรกิจองค์กร
โดยองค์กรที่ว่านี้ ยกตัวอย่างเช่น Google, Amazon, Microsoft, Tencent และ Oracle
แต่หากเราย้อนกลับไปในช่วงปี 2012 ถึง 2015
บริษัท AMD ประสบปัญหารายได้ลดลงและขาดทุนติดต่อกันถึง 4 ปี
นั่นจึงทำให้ในปี 2014 มูลค่าบริษัท AMD เหลือเพียง 56,000 ล้านบาท ซึ่งตอนนั้นหุ้นร่วงลงกว่า 40% ในปีเดียว
ย้อนกลับไป หลายคนก็น่าจะคาดการณ์กันว่า AMD น่าจะกลับเข้ามาแข่งขันได้ยาก
เพราะทั้งไม่เติบโตแถมยังขาดทุนต่อเนื่อง
แต่ ลิซ่า ซู ผู้บริหารที่เข้ามารับไม้ต่อขึ้นแท่น CEO กลับไม่ได้คิดแบบนั้น
แล้วเธอคือใคร ?
ลิซ่า ซู เป็นชาวอเมริกัน เชื้อสายไต้หวัน
เธอเกิดที่เมืองไถหนาน ประเทศไต้หวัน
แต่ภายหลังได้ย้ายมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเธออายุ 51 ปี
เธอจบการศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก
ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจาก Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT
หลังจากจบการศึกษา เธอได้ร่วมงานกับบริษัทยักษ์ใหญ่มากมาย
ไม่ว่าจะเป็น Texas Instruments, IBM, Freescale Semiconductor
แน่นอนว่าทุกงานล้วนเกี่ยวกับชิปเซต
จนกระทั่งในปี 2012 เธอได้เข้ามารับตำแหน่งรองประธานอาวุโสและผู้จัดการทั่วไปของ AMD
แต่พอบริษัทเข้าสู่ยุคตกต่ำ เธอก็ได้รับเลือกขึ้นมารับตำแหน่ง CEO เพื่อพลิกวิกฤติตั้งแต่ปี 2014
แม้ในช่วงแรกผลดำเนินงานของ AMD จะยังคงแย่อยู่ แต่ผ่านไปเพียง 3 ปี หรือในปี 2017
เธอก็ได้ทำให้กระแสเงินสดจากการดำเนินงานกลับมาเป็นบวกได้ครั้งแรกในรอบ 6 ปี
สิ่งที่เธอเข้ามาเปลี่ยนแปลงหลัก ๆ มี 2 อย่าง
- การปรับโครงสร้างทางด้านค่าใช้จ่าย
- การหาจุดโฟกัสใหม่เพื่อสร้างการเติบโต
และในปีเดียวกันนั้นเอง AMD ก็ได้เปิดตัว “Zen Architecture”
ซึ่งถือเป็นหนึ่งในนวัตกรรมที่เรียกได้ว่าคืนชีพบริษัทแห่งนี้ให้กลับเข้ามาแข่งขันได้อีกครั้ง
Zen Architecture เป็นเทคโนโลยีเฉพาะของบริษัท AMD ที่ใส่เข้าไปในชิปประมวลผล
หรือที่ใครหลายคนเรียกกันว่า CPU
เทคโนโลยีดังกล่าวก็ได้ทำให้ตัวชิปประมวลผลของทางบริษัท
มีคุณภาพที่ใกล้เคียงกับชิปของ Intel ซึ่งเป็นคู่แข่งคนสำคัญ
นอกจากนั้น AMD ยังได้พัฒนาชิปประมวลผล EPYC อ่านว่า อี-พิก
ซึ่งถือเป็นชิปเซตเพื่อใช้สำหรับการประมวลผลของเซิร์ฟเวอร์โดยเฉพาะ
และมีกลุ่มลูกค้าหลักเป็นบริษัทที่ให้บริการคลาวด์
ตัวอย่างสินค้าหรือบริการที่เรารู้จักกันดีอย่างเช่น AWS, Google Cloud หรือ Alibaba Cloud เองก็เลือกผลิตภัณฑ์ AMD EPYC ของทางบริษัท เช่นกัน
หรือแม้แต่คู่แข่งตลอดกาลในวงการคอนโซลเกม Playstation 5 และ XBOX series X/S ล้วนแล้วแต่ใช้ทั้งซีพียูและการ์ดจอของ AMD ทั้งคู่
ในขณะที่ฟากธุรกิจการ์ดจอ ทางบริษัทก็มีแบรนด์ Radeon และ Radeon PRO
ที่เป็นคู่แข่งกับ GeForce ของบริษัท Nvidia ที่กำลังอยู่ในเมกะเทรนด์
ทั้งในเชิงของวงการเกมมิงและการนำไปประมวลผลคริปโทเคอร์เรนซี
นอกจากจะเปิดตัวสินค้าตัวใหม่แล้ว อีกสิ่งสำคัญที่เธอทำก็คือ
การประกาศ Roadmap ที่ชัดเจนของตัวสินค้าในอนาคต
เพื่อเรียกความเชื่อมั่นต่อแบรนด์ที่หายไปตั้งแต่ขาดทุนหนัก ให้ฟื้นกลับมาอีกครั้ง
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา AMD ภายใต้การบริหารของลิซ่า ซู
ก็สามารถทำได้ดีตามที่เคยประกาศเอาไว้อย่างไม่มีปัญหา
จนสินค้าของบริษัทก็ได้กลับมาแย่งส่วนแบ่งเจ้าตลาดได้สำเร็จ
จากปี 2014 ที่ส่วนแบ่งธุรกิจ CPU เป็นของ Intel 75% และ AMD 25%
ปัจจุบันกลายมาเป็น Intel 60% และ AMD 40%
ถึงขนาดที่ว่าในปี 2020 ทางบริษัทคู่แข่งอย่าง Intel ถึงกับออกมา
ยอมรับว่าตัว CPU ของทางบริษัทตามหลังคู่แข่งอย่าง AMD เลยทีเดียว
ทีนี้ เราลองมาเปรียบเทียบผลประกอบการระหว่าง
ปีก่อนและหลังจากที่ ลิซ่า ซู เข้ามาดำรงตำแหน่ง CEO
ปี 2014 รายได้ 171,787 ล้านบาท ขาดทุน 12,573 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 304,605 ล้านบาท กำไร 77,688 ล้านบาท
จะเห็นได้ว่าจากการปรับกลยุทธ์ทางธุรกิจไม่เพียงแต่สร้างการเติบโตเป็นเท่าตัว
ภายในระยะเวลาไม่กี่ปี แต่ยังทำให้บริษัทพลิกกลับมากำไรมหาศาล
จุดนี้ ก็ได้สะท้อนไปยังมูลค่าบริษัทที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจนสูงถึง 3 ล้านล้านบาท
เพิ่มขึ้นคิดเป็น 53 เท่า ภายในระยะเวลาไม่กี่ปี
หมายความว่าหากเรานำเงินไปลงทุนกับ AMD ในวันที่ ลิซ่า ซู เข้ามาเป็นผู้บริหาร 10,000 บาท
วันนี้ เงินก้อนนั้นจะมีมูลค่ามากถึง 530,000 บาท เลยทีเดียว
แล้วเรื่องนี้ให้ข้อคิดอะไรกับเรา ?
ในมุมของผู้บริหารธุรกิจ
หากเราคิดว่าผลิตภัณฑ์ของเรากำลังจะไม่เป็นที่ต้องการของตลาดแล้ว
ในบางครั้ง เราก็ต้องกล้าตัดสินใจและทำทันที โดยอาจจะเริ่มจากการดูจุดแข็งของเรา
ว่าเรามีอะไร ตลาดต้องการอะไร และลงมือทำ
อย่างในกรณีของ AMD ที่ได้คิดค้น “Zen Architecture” ขึ้นมา
ในเชิงของบริษัท
จะเห็นได้ว่าจริง ๆ แล้ว ลิซ่า ซู เป็นลูกหม้อที่ทำงานในบริษัทอยู่แล้ว
หากบริษัทจำเป็นที่จะต้องเลือกผู้นำในยามวิกฤติ
การมองหาพนักงานที่มีศักยภาพภายในบริษัท
ก็อาจจะเป็นอีกตัวเลือกที่ดี ไม่แพ้การไปว่าจ้างผู้บริหารมืออาชีพจากบริษัทอื่น
ในเชิงของ CEO และมูลค่ากิจการ
จริงอยู่ว่าผู้บริหารสามารถประกาศอะไรต่อสาธารณะก็ได้
ตั้งแต่ Roadmap ที่สวยหรูไปจนถึงการคาดการณ์ผลประกอบการที่โตระเบิด
สิ่งสำคัญที่สุด มันจะไม่ใช่ทั้งคำจินตนาการถึงอนาคตและตัวเลขที่จำลองขึ้นมา
แต่เป็นผลลัพธ์ที่ “ทำได้จริง” ซึ่งมันส่งผลต่อความเชื่อมั่นของทั้งตัวผู้บริโภค รวมถึงนักลงทุน เหมือนอย่างที่ คุณลิซ่า ซู ทำกับ AMD ได้สำเร็จ..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://en.wikipedia.org/wiki/Advanced_Micro_Devices
-https://en.wikipedia.org/wiki/Lisa_Su
-https://www.cpubenchmark.net/market_share.html
-https://edition.cnn.com/2020/03/27/tech/lisa-su-amd-risk-takers/index.html
-AMD annual report 2012,2014,2020
-https://www.jitta.com/stock/nasdaq:amd/factsheet
texas instruments 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
ใครคือผู้ก่อตั้ง TSMC ผู้ผลิตชิป ให้คนครึ่งโลก /โดย ลงทุนแมน
แม้ว่าระบบปฏิบัติการ iOS ของแอปเปิลและ Android ของกูเกิล จะเรียกได้ว่าเป็นคู่ปรับตลอดกาล
แต่รู้หรือไม่ว่า ชิปเซต หรือ สมองของสมาร์ตโฟนที่อยู่บนสมาร์ตโฟน เช่น ชิป A-Series ของแอปเปิล หรือชิป Snapdragon หลายรุ่นบน Android กลับถูกผลิตขึ้นโดยบริษัทเดียวกันที่ชื่อว่า Taiwan Semiconductor Manufacturing Company หรือ TSMC
ซึ่งนอกจากชิปบนสมาร์ตโฟนแล้ว TSMC ยังมีส่วนแบ่งการตลาดชิปเซตทั้งหมดบนโลกมากถึง 55.6% หรือเรียกได้ว่าชิปเกินกว่าครึ่งโลก ถูกผลิตขึ้นจากบริษัทแห่งนี้
ปัจจุบัน TSMC มีมูลค่ามากกว่า 20 ล้านล้านบาท เป็นบริษัทที่มีมูลค่ามากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลกและมีมูลค่าเป็นอันดับที่ 2 ในเอเชีย เป็นรองเพียง Saudi Aramco บริษัทน้ำมันแห่งชาติซาอุดีอาระเบีย
แล้ว TSMC มีที่มาอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
สำหรับผู้ก่อตั้งบริษัท TSMC ก็คือ “Morris Chang”
Morris Chang หรือ มอร์ริส จาง เกิดที่เมือง Ningbo
ซึ่งเป็นเมืองทางตะวันออกของประเทศจีน ในปี ค.ศ. 1931
แม้จางจะเรียกได้ว่าเติบโตมาในครอบครัวที่มีฐานะปานกลาง แต่ชีวิตในวัยเด็กของเขากลับไม่ได้สุขสบายมากนัก นั่นก็เพราะว่าเขาต้องเจอกับสงครามถึง 3 ครั้งด้วยกัน ได้แก่
- สงครามกลางเมืองในจีน ช่วงปี ค.ศ. 1927 ถึง 1949
- สงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่นครั้งที่สอง ช่วงปี ค.ศ. 1937 ถึง 1945
- สงครามโลกครั้งที่ 2 ช่วงปี ค.ศ. 1939 ถึง 1945
ด้วยเหตุนี้เอง ทำให้ครอบครัวของเขาต้องทำการย้ายไปมาอยู่บ่อยครั้ง
จนในปี ค.ศ. 1948 ซึ่งเป็นช่วงที่สงครามกลางเมืองในจีน กำลังร้อนระอุ
จางในวัย 17 ปี พร้อมกับครอบครัว จึงได้ตัดสินใจย้ายไปอยู่ ฮ่องกง
แม้ในช่วง 17 ปีแรกของชีวิต จางจะได้รับผลกระทบจากสงครามเป็นอย่างมาก
แต่สิ่งที่เขาได้เรียนรู้จากสงคราม ก็คือ เขาต้องขยันและทำงานหนัก โดยสิ่งหนึ่งที่คุณพ่อของเขาคอยสนับสนุนเขาอย่างเต็มที่ ก็คือ “เรื่องการเรียน” ด้วยเหตุนี้ จางจึงสามารถเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัย Harvard ได้สำเร็จ
หลังจากเข้าเรียนได้เพียง 1 ปี เขาก็ได้ย้ายไปเรียนที่ Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT และเขาก็ได้จบการศึกษาในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท
งานแรกของ มอร์ริส จาง เริ่มต้นขึ้นที่ Sylvania Semiconductor เป็นบริษัทผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ให้กับบริษัทแม่ Sylvania Electric Products อีกทีหนึ่ง
แต่หลังจากทำงานได้ 3 ปี เขารู้สึกว่าแนวทางของบริษัทในอนาคต ไม่ได้เป็นแบบที่เขาคิด
แนวทางของบริษัทคือ การผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าหลาย ๆ ชนิด
ซึ่งต่างจากเป้าหมายของจางที่ต้องการโฟกัสไปที่ การพัฒนาตัวเซมิคอนดักเตอร์เป็นหลัก
เรื่องดังกล่าว จึงทำให้จางตัดสินใจออกจากบริษัท Sylvania Semiconductor เพื่อมาเริ่มงานใหม่ที่ Texas Instruments ในปี ค.ศ. 1958 และด้วยความสามารถของเขาทำให้เขาได้เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรมของบริษัท ภายในระยะเวลาเพียง 3 ปี
หลังจากนั้น เขาได้ไต่เต้าขึ้นมาเรื่อย ๆ จนได้รับตำแหน่ง รองประธานในการดูแลฝ่ายเซมิคอนดักเตอร์ทั้งหมด แต่แล้วเหตุการณ์ไม่คาดฝันก็เกิดขึ้น ในช่วงปี ค.ศ. 1980
บริษัท Texas Instruments ต้องการที่จะขยายธุรกิจเข้าไปสู่ลูกค้ารายย่อยมากขึ้น
โดยการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะรุ่น TI-99/4
ซึ่งเดิมทีโมเดลธุรกิจหลักของ Texas Instruments คือเป็นซัปพลายเออร์ให้กับบริษัทอื่น
ไม่ได้ทำการค้าขายกับลูกค้ารายย่อยโดยตรง ซึ่งทางบริษัทก็ได้มอบหมายหน้าที่การขายสู่ลูกค้ารายย่อยให้กับจาง
หลังจากใช้เวลาไป 2 ปีครึ่ง ผลงานภายใต้การบริหารของจางกลับไม่ได้เป็นไปตามที่บริษัทคาดหวังเนื่องจากในช่วงนั้นมีผลิตภัณฑ์จากคู่แข่งที่แข็งแกร่งมากมาย เช่น คอมพิวเตอร์ Apple 2 ในยุคของ สตีฟ จอบส์
แม้ตำแหน่งในบริษัทของเขายังคงเป็นรองประธานก็ตาม
แต่จากผลงานที่ค่อนข้างแย่ เขาจึงถูกทางบริษัทลดตำแหน่งลง
เหตุการณ์นี้เอง ก็ได้สร้างความผิดหวังให้กับจางเป็นอย่างมาก
เพราะที่ผ่านมา เขาได้สร้างผลงานมากมายให้บริษัทเป็นเวลายาวนานกว่า 20 ปี
ในปี ค.ศ. 1983 จางในวัย 52 ปี จึงตัดสินใจลาออกจาก Texas Instruments
ซึ่งทันทีหลังจากที่เขาลาออก ก็ได้มีหลายบริษัทติดต่อเขาให้เข้าไปทำงานมากมาย
หนึ่งในนั้นคือ General Instrument Corporation หรือ GIC
บริษัทผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเชี่ยวชาญในด้านเซมิคอนดักเตอร์และเคเบิลทีวี
ซึ่งเขาได้เลือกทำงานในบริษัทนี้ ในตำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ
ด้วยเหตุผลที่ว่า GIC ก็ถือเป็นบริษัทที่มีขนาดใหญ่ แม้จะไม่เท่า Texas Instruments
แต่ก็ตรงกับเป้าหมายของเขา ที่อยากเป็น CEO ของบริษัทระดับโลก
แต่หลังจากเข้าทำงานที่ GIC ได้ไม่ถึง 1 ปี เขาพบว่า
GIC เป็นบริษัทที่มีแนวทางการเติบโต จากการควบรวมกิจการอื่น ๆ
ต่างจากแนวทางการเติบโตแบบ Organic Growth ที่เขาตั้งใจไว้
ทำให้ระยะเวลาไม่นาน จางจึงได้ตัดสินใจลาออกอีกครั้ง
และแล้วจุดเปลี่ยนสำคัญก็เกิดขึ้นอีกครั้งในปี ค.ศ. 1985
ในช่วงนั้น รัฐบาลไต้หวันต้องการเสริมสร้างความสามารถในการผลิตสินค้าของประเทศ
ด้วยการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง โดยเฉพาะสินค้าไอที
และหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักที่ถูกผลักดัน ก็คือ “อุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์”
สิ่งที่รัฐบาลไต้หวันทำในตอนนั้นคือ
มีการจัดสรรเงินทุนเพื่อก่อตั้ง “สถาบันเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม”
หรือ Industrial Technology Research Institute (ITRI)
สิ่งที่ยังขาดไปสำหรับ ITRI ของไต้หวัน คือ “ผู้นำ” ที่จะพาให้โครงการนี้ก้าวไปอีกขั้นหนึ่ง
และด้วยความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของจาง เขาจึงได้รับข้อเสนอจากทางรัฐบาลไต้หวัน ให้เข้ารับตำแหน่งประธานของ ITRI ด้วยเหตุผลที่ว่า ต้องการความสามารถของเขาในการพัฒนาและสร้างประโยชน์ให้กับอุตสาหกรรมในประเทศ
หลังจากที่เขาตกลงรับข้อเสนอในครั้งนี้ ทางรัฐบาลไต้หวันได้ให้โจทย์กับเขาว่า
ต้องการยกระดับอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ของไต้หวัน ผ่านการตั้งบริษัทใหม่ขึ้นมา
จางจึงได้เริ่มวิเคราะห์ โมเดลธุรกิจที่จะทำให้โครงการนี้ประสบความสำเร็จ
ซึ่งเขาพบว่าไต้หวันในตอนนั้นมีจุดอ่อนเต็มไปหมด ไม่ว่าจะเป็นการวิจัยและพัฒนา
การออกแบบ และการตลาด ไต้หวันไม่มีความสามารถมากพอ
ที่จะสู้กับทาง Intel หรือ Texas Instruments ซึ่งเป็นเจ้าตลาดอยู่ได้เลย
จุดแข็งเดียวที่พอมี คือ “การผลิต” และจากการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง
ทำให้คำตอบของโจทย์นี้ออกมาเป็น “จัดตั้งบริษัทรับจ้างผลิตให้กับบริษัทอื่น”
แม้ความคิดนี้จะโดนคัดค้านในตอนแรก เนื่องจากในตอนนั้นยังไม่มีบริษัทที่มีโมเดลแบบ Fabless หรือ ไม่มีโรงงานผลิตเป็นของตัวเอง เช่น Apple หรือ Nvidia ในปัจจุบัน จึงทำให้ไม่มีตลาดรองรับ
แต่จากประสบการณ์ทำงานในวงการมาอย่างยาวนานเกือบ 30 ปี เขาสังเกตเห็นว่า
ทุก ๆ ปี จะมีพนักงานหลายคนของ Texas Instruments หรือ Intel ที่มีความคิด อยากออกมาสร้างธุรกิจเกี่ยวกับ ชิปเซตเป็นของตัวเอง
แต่ทุกครั้งความคิดนี้ต้องล้มเลิกไป เพราะการที่จะสามารถดำเนินธุรกิจ ชิปเซต ได้นั้น จำเป็นต้องมีโรงงานการผลิตเป็นของตัวเอง
ทำให้ยุคนั้นยังไม่มีบริษัทไหนที่ทำโมเดลธุรกิจรับจ้างผลิตเลย เพราะการสร้างโรงงานจำเป็นต้องใช้เงินทุนมหาศาล ซึ่งต้นทุนในการสร้างโรงงานใหม่ถ้าคิดเป็นมูลค่าปัจจุบันอยู่ที่หลักแสนล้านบาทเลยทีเดียว
ในปี ค.ศ. 1987 Taiwan Semiconductor Manufacturing Company หรือ TSMC จึงได้ถูกก่อตั้งขึ้นมา
ซึ่งมีโมเดลการดำเนินธุรกิจ รับจ้างผลิตชิปเซตให้กับบริษัทอื่นโดยไม่มีแบรนด์เป็นของตัวเอง ซึ่งนับเป็นบริษัทแรกของโลกที่มีโมเดลแบบนี้เกิดขึ้น
โดยในช่วง 3 ปีแรก บริษัทมีลูกค้าเพียงไม่กี่ราย ส่วนใหญ่มาจากภายในประเทศ
แต่หลังจากนั้นในช่วงปี ค.ศ. 1991 เป็นต้นมา สิ่งที่จางคิดไว้ในตอนแรกก็เริ่มเป็นจริง
เพราะเริ่มมีบริษัทที่ต้องการชิปเซตเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากแต่ไม่มีทุนสร้างโรงงานผลิต
บริษัทเหล่านี้จึงได้กลายมาเป็นลูกค้าของ TSMC และได้ทำให้บริษัทเติบโตขึ้น
เหตุผลที่ทำให้หลายบริษัทเข้ามาเป็นลูกค้าของ TSMC เพราะบริษัทมีเทคโนโลยีในการผลิตที่มีความซับซ้อนสูง สามารถรองรับความต้องการของลูกค้าได้ ซึ่งเป็นผลจากนโยบายการลงทุนในเรื่องการวิจัยและพัฒนา ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา
ในปี ค.ศ. 2020 TSMC มีมูลค่าในการวิจัยและพัฒนาสูงถึง 1.2 แสนล้านบาท คิดเป็น 8.5% เมื่อเทียบกับรายได้ทั้งบริษัท ซึ่งมากกว่า Apple หนึ่งในเจ้าแห่งนวัตกรรมที่มีสัดส่วนดังกล่าวอยู่ที่ 6.8% เสียอีก
โดย TSMC มีลูกค้ารายใหญ่คือ Apple, Nvidia และ Qualcomm และมีส่วนแบ่งการตลาดธุรกิจกลุ่มเซมิคอนดักเตอร์ มากถึง 55.6% เลยทีเดียว
ปัจจุบัน TSMC มีมูลค่าบริษัท สูงถึง 20 ล้านล้านบาท มากกว่า Intel ที่มีมูลค่า 7 ล้านล้านบาท และ AMD ที่มีมูลค่า 4 ล้านล้านบาท ซึ่งนับเป็นบริษัทที่มีมูลค่ามากที่สุดในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ทั้งหมดทั่วโลกอีกด้วย
จากเรื่องทั้งหมดนี้จึงทำให้ตัวเจ้าของบริษัทอย่าง มอร์ริส จาง มีมูลค่าทรัพย์สินอยู่ที่ 93,000 ล้านบาท ขึ้นแท่นเป็นมหาเศรษฐีอันดับ 15 ของไต้หวัน
ถ้าถามว่าแนวคิดอะไร ที่ทำให้จางประสบความสำเร็จมาจนถึงทุกวันนี้
เราน่าจะสรุปได้เป็น 2 ข้อ
1. มีเป้าหมายที่ชัดเจน
จากเรื่องนี้เราจะเห็นได้ว่า มอร์ริส จาง เป็นคนที่มีเป้าหมายชัดเจนมาก
หากเขารู้สึกว่างานที่เขาทำอยู่ไม่ได้อยู่ในเส้นทางที่เขาต้องการ
เขาก็พร้อมออกมาเพื่อตามหาสิ่งที่ตรงกับเป้าหมายของเขาเสมอ อย่างเช่น ตอนที่เขาออกจาก Sylvania Semiconductor และ GIC เพราะเขาต้องการงานที่โฟกัสไปที่การพัฒนาเซมิคอนดักเตอร์เป็นหลัก
2. ความไม่ยอมแพ้
แม้หลายคนจะไม่เห็นด้วยกับการก่อตั้ง TSMC ให้เป็นบริษัทรับจ้างผลิตชิป แต่เขาก็ไม่ยอมแพ้และเชื่อมั่นในแนวคิดของตนเอง ก่อนที่จะก่อตั้งบริษัทจนสำเร็จ
จากการมีเป้าหมายที่ชัดเจนบวกกับการไม่ยอมแพ้ของจาง จึงไม่แปลกใจเลยที่ในวันนี้เขาสามารถพา TSMC ให้ประสบความสำเร็จจนมีมูลค่าบริษัท 20 ล้านล้านบาท ขึ้นแท่นเป็นบริษัทที่มีมูลค่ามากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลกไปแล้ว นั่นเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://en.wikipedia.org/wiki/TSMC
-https://en.wikipedia.org/wiki/Morris_Chang
-https://www.longtunman.com/27349
-https://www.longtunman.com/27702
-https://sahilbloom.substack.com/p/the-amazing-story-of-morris-chang
-https://www.yourtechstory.com/2018/08/16/morris-chang-chip-industry-tsmc/
-https://www.semi.org/en/Oral-History-Interview-Morris-Chang
-https://www.forbes.com/profile/morris-chang/?sh=7eb878d45fc4
-https://en.wikipedia.org/wiki/Sylvania_Electric_Products
-https://www.investopedia.com/articles/markets/012716/how-taiwan-semiconductor-manufacturing-makes-money-tsm.asp
-https://en.wikipedia.org/wiki/Semiconductor_fabrication_plant
-https://en.wikipedia.org/wiki/Texas_Instruments
-https://www.counterpointresearch.com/global-smartphone-share/
texas instruments 在 Bryan Wee Youtube 的評價
texas instruments 在 Travel Thirsty Youtube 的評價
texas instruments 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube 的評價
texas instruments 在 德州儀器- 維基百科,自由的百科全書 的相關結果
德州儀器(英語:Texas Instruments, TI)是一家位於美國德克薩斯州達拉斯的跨國公司,以開發、製造、銷售半導體和計算機技術聞名於世,主要從事數位訊號處理與類比 ... ... <看更多>
texas instruments 在 Texas Instruments代理商| Mouser 臺灣 的相關結果
Texas Instruments Incorporated從事類比技術、數位訊號處理(DSP)及微控制器(MCU)半導體的設計與製造作業。TI ... ... <看更多>
texas instruments 在 Analog | Embedded processing | Semiconductor company | TI ... 的相關結果
Texas Instruments has been making progress possible for decades. We are a global semiconductor company that designs, manufactures, tests and sells analog ... ... <看更多>