ภาพถ่ายภาพแรกของหลุมดำ โดย EHT
วันที่ 10 เมษายน 2019 เวลา 20:00น. ตามเวลาประเทศไทย ทีมงาน The Event Horizon Telescope (EHT) ได้เปิดเผยภาพถ่ายภาพแรกของหลุมดำที่เคยถ่ายมาในมวลมนุษยชาติ เป็นการยืนยันหลักฐานโดยตรงที่สุดของการมีอยู่ของหลุมดำ และนอกจากนี้ภาพที่ได้ยังสอดคล้องกับสิ่งที่ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ จึงเท่ากับเป็นการยืนยันว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอสไตน์นั้นยังคงถูกต้องต่อไป เป็นอีกครั้งที่ทฤษฎีกับการสังเกตการณ์มาประจบเหมาะพอดีกันอย่างไม่ผิดเพี้ยน
แต่ว่าเรื่องหลุมดำนี้เป็นเรื่องที่อาจจะฟังดูค่อนข้างซับซ้อนสำหรับคนทั่วๆ ไป เรามาลองตอบคำถามง่ายๆ เกี่ยวกับหลุมดำที่อาจจะอยู่ในใจคนกันดูบ้าง
Q: หลุมดำคืออะไร?
- หลุมดำคือวัตถุที่หนาแน่นที่สุดอย่างหนึ่งในเอกภพ เมื่อมีมวลจำนวนมากมารวมตัวกันอยู่ในปริมาตรขนาดเล็ก แรงโน้มถ่วงของมวลเหล่านี้จะมีมากพอที่จะดูดทุกอย่างเข้าไปภายใต้แรงโน้มถ่วงของมันได้ เปรียบเทียบกันแล้ว บนพื้นโลกของเรามีความเร็วหลุดพ้น 11.2 กม./วินาที นั่นหมายความว่าหากเรายิงกระสุนที่ความเร็ว 11.2 กิโลเมตรต่อวินาทีจากพื้นโลก กระสุนนี้จะหลุดพ้นออกไปจากแรงโน้มถ่วงของโลกได้และไม่ตกกลับลงมาอีก และหากเรายิงกระสุนออกไปด้วยความเร็วที่ต่ำกว่านี้ กระสุนก็จะใช้เวลาสักพักหนึ่งในอากาศก่อนที่จะตกกลับมาใหม่ สำหรับหลุมดำแล้วนั้นแรงโน้มถ่วงนั้นมีค่าสูงมากเสียจนความเร็วหลุดพ้นจากบริเวณที่เรียกว่า "ขอบฟ้าเหตุการณ์" (Event Horizon) มีค่าเท่ากับความเร็วของแสง ซึ่งเป็นความเร็วที่สูงที่สุดในเอกภพ นั่นหมายความว่าไม่มีวัตถุใดแม้กระทั่งแสงจะสามารถหลุดพ้นออกมาจากหลุมดำได้ แม้กระทั่งเราฉายไฟฉากออกมาจากภายใน Event Horizon อนุภาคของแสงที่ออกมาก็ไม่สามารถหลุดออกมาจากแรงโน้มถ่วงของมันได้
Q: ถ้าหลุมดำดูดทุกอย่างแม้กระทั่งแสง ทำไมเราจึงสามารถเห็นหลุมดำได้?
- คำตอบง่ายๆ ก็คือเราไม่สามารถเห็นภายในหลุมดำได้ อย่างไรก็ตาม เราสามารถสังเกตเห็นมวลและแสงที่วนอยู่รอบๆ หลุมดำได้ ภายในบริเวณของขอบฟ้าเหตุการณ์นั้นเป็นบริเวณที่ไม่มีวัตถุใด หรือแม้กระทั่งแสงสามารถหลุดออกมาได้ หมายความว่าหากนักบินอวกาศคนหนึ่งอยู่ภายในขอบฟ้าเหตุการณ์ ไม่ว่าเขาจะฉายไฟฉายไปในทิศทางใด ทุกทิศทางต่างก็นำไปสู่ singularity ในบริเวณกลางของหลุมดำทั้งนั้น (แม้ว่าจะหันออกมาจากศูนย์กลางก็ตาม) เนื่องจากแม้กระทั่งกาลอวกาศ (spacetime) ก็กำลังตกลงไปสู่ศูนย์กลางของหลุมดำด้วยความเร็วมากกว่าแสง แต่หากนักบินอวกาศอยู่ภายนอกของขอบฟ้าเหตุการณ์ นักบินอวกาศก็จะยังสามารถฉายไฟฉายออกมาภายนอกได้ แต่ด้วยแรงโน้มถ่วงอันมหาศาล จะทำให้แสงที่ปล่อยออกมามีทิศทางบิดเบี้ยวไป
Q: ทำไมภาพที่ได้จึงมีรูปร่างเช่นนี้?
- ภาพที่เห็นเป็นภาพที่สอดคล้องกับสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์คาดการณ์เอาไว้เกี่ยวกับหลุมดำไม่ผิดเพี้ยน นี่เป็นภาพที่เราเห็นจากแกนหมุนของหลุมดำ เนื่องจากหลุมดำมีแรงโน้มถ่วงสูงพอที่จะสามารถดึงให้แสงวนไปรอบๆ ได้ ที่ระยะห่าง 1.5 เท่าของขอบฟ้าเหตุการณ์ จะมีสิ่งที่เรียกว่า photon sphere อยู่ ซึ่งเป็นบริเวณสุดท้ายที่แสงจะสามารถโคจรไปรอบๆ หลุมดำได้ สิ่งที่ใกล้หลุมดำที่สุดที่เราจะสามารถเห็นได้จึงเป็นวงแหวนของ photon sphere ก่อนที่จะเข้าไปสู่ความมืดสนิท เราจึงเห็นเป็นบริเวณที่มืดสนิทที่ถูกล้อมไปด้วยวงกลมสว่าง (แต่ระยะห่างที่เราเห็นจะมากกว่า 1.5 เท่าเล็กน้อย เนื่องจากแสงจะถูกเบี่ยงเบนออกไปด้วยแรงโน้มถ่วง) ถัดออกมาเราจะเห็นมวลก๊าซที่กำลังอยู่ในจานพอกพูนมวลที่กำลังตกลงไปสู่หลุมดำ นอกจากนี้มวลที่กำลังหมุนในทิศทางที่หันมาหาผู้สังเกตจะมีความสว่างขึ้นเล็กน้อย ด้วยปรากฏการณ์ที่เรียกว่า relativistic beaming ดังที่ปรากฏในภาพทางด้านล่างของหลุมดำ
Q: ทำไมเราจึงไม่สามารถเห็นหลุมดำได้มาก่อน?
- การจะมองเห็นหลุมดำนั้นเป็นเรื่องที่ยากมาก เพราะว่าหลุมดำเป็นวัตถุที่มีขนาดค่อนข้างเล็ก หากเราสามารถบีบอัดดวงอาทิตย์ให้กลายเป็นหลุมดำได้ จะมีขนาดเพียงแค่ 3 กม. เพียงเท่านั้นเอง ในขณะที่โลกของเราจะกลายเป็นหลุมดำที่มีขนาดไม่กี่มิลลิเมตร การที่จะสามารถสังเกตเห็นหลุมดำได้จึงจำเป็นต้องอาศัยหลุมดำที่มีมวลมาก หรือที่เรียกว่า "หลุมดำมวลยิ่งยวด" (supermassive black hole: SMBH) และอยู่ใกล้เรามากที่สุด
SMBH ที่อยู่ใกล้โลกของเรามากที่สุด ก็คือ Sagittarius A* ที่อยู่ในใจกลางทางช้างเผือกของเรานั่นเอง ซึ่งมีมวล 4 ล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์ แต่ก็ยังมีขนาดเพียง 8% ของระยะห่างระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ แต่หลุมดำที่ EHT สังเกตนี้ เป็น SMBH ที่อยู่ในใจกลางของกาแล็กซี M87 ซึ่งมีมวลถึง 6.5 พันล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์ มีขนาดประมาณเท่ากับระบบสุริยะ ซึ่งด้วยความที่หลุมดำนี้มีมวลตกลงไปสู่หลุมดำเสมอ ทำให้สามารถสังเกตเห็นได้ง่ายกว่า แม้ว้าจะมีระยะห่างออกไปถึงกว่า 55 ล้านปีแสง
Q: แล้ว EHT สามารถบันทึกภาพนี้ได้อย่างไร?
- การที่จะมองรายละเอียดที่เล็กมากๆ เราจำเป็นที่จะต้องใช้กล้องโทรทรรศน์ที่ขนาดใหญ่มากๆ นี่เป็นเหตุผลหนึ่งว่าทำไมเราจึงมีความพยายามที่จะสร้างกล้องโทรทรรศน์ที่ใหญ่มากขึ้นเรื่อยๆ อย่างไรก็ตาม แม้กระทั่งกล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบันก็ยังไม่สามารถแยกแยะรายละเอียดของหลุมดำที่มีขนาดเพียงระบบสุริยะที่อยู่ห่างออกไป 55 ล้านปีแสงได้
วิธีที่นักดาราศาสตร์ใช้ ก็คือวิธีที่เรียกว่า interferometry โดยการรวมแสงจากระยะห่างที่ไกลมากๆ เราอาจจะเปรียบเทียบได้ว่า หากภาพที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่คือการนำแสงที่อยู่ปลายด้านหนึ่งของกระจกกล้องโทรทรรศน์ ไปรวมกับแสงที่มาจากปลายอีกด้านหนึ่ง หากเราสามารถมีกล้องสองตัวที่อยู่ห่างกันหลายพันกิโลเมตร แล้วนำแสงที่ได้นั้นมารวมกัน เราก็จะสามารถจำลองภาพที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใหญ่เป็นพันกิโลเมตรได้
และวิธี interferometry นี้ก็คือวิธีที่ทำให้ EHT สามารถบันทึกภาพหลุมดำนี้ได้เป็นครั้งแรก แต่เนื่องจาก interferometry ในช่วงความยาวคลื่นแสงนั้นทำได้ยากกว่ามาก EHT จึงใช้การสังเกตการณ์ทางคลื่นวิทยุ จากเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุจำนวนมากที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วโลกรวมไปถึงที่ขั้วโลกใต้ และทำการติดตั้งนาฬิกาอะตอมที่มีความแม่นยำสูง ในการบันทึกเวลาเพื่อที่จะสามารถนำสัญญาณวิทยุที่ถูกบันทึกเอาไว้ใน ณ เสี้ยววินาทีเดียวกัน มาสามารถรวมกันเพื่อจำลองราวกับพื้นผิวโลกของเราทั้งใบกลายเป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาดใหญ่ กล้องหนึ่ง
หากใครสนใจเรื่องหลุมดำเพิ่มเติม สามารถอ่านบทความเก่าๆ ที่เคยเขียนเอาไว้เกี่ยวกับหลุมดำได้:
- เปรียบเทียบขนาดและความหนาแน่นของดาวแคระขาว ดาวนิวตรอน และหลุมดำ
https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/255102854699928/?type=3&theater
- จะเกิดอะไรขึ้นกับวงโคจรของโลก หากเราสามารถยุบดวงอาทิตย์ให้กลายเป็นหลุมดำได้?
https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/255102854699928/?type=3&theater
- แ่รงโน้มถ่วง ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอสไตน์
https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/255103084699905/?type=3&theater
- อธิบาย "ขอบฟ้าเหตุการณ์" และทำไมแสงจึงกลับออกมาไม่ได้ ด้วยนิทานง่ายๆ
https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/255103178033229/?type=3&theater
ภาพ: หลุมดำมวลยิ่งยวด ณ ใจกลางของกาแล็กซี M87 โดย Event Horizon Telescope
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://eventhorizontelescope.org/
同時也有93部Youtube影片,追蹤數超過255萬的網紅相信音樂BinMusic,也在其Youtube影片中提到,綁在一起。 我們綁在一起。 從同一片天空發生同一件事開始, 我們就在這裏等你。 告五人與你,我們都在等。 我是運氣本人, 你們好。 — 揮別 2020水逆來得措手不及 再會 2021運氣來得若有似無 告五人第二張專輯《運氣來得若有似無》 網路預購全面上線 ▸ 相信音樂購物網:http...
spacetime 在 告五人 Accusefive Facebook 八卦
綁在一起。
我們綁在一起。
從同一片天空發生同一件事開始,
我們就在這裏等你。
告五人與你,我們都在等。
我是運氣本人,
你們好。
🎬 YouTube MV:
https://youtu.be/2MKZO31vgiw
—
揮別 2020水逆來得措手不及
再會 2021運氣來得若有似無
告五人第二張專輯《運氣來得若有似無》
網路預購全面上線
▸ 相信音樂購物網:https://reurl.cc/R1pvrx
▸ 誠品音樂:https://reurl.cc/OqlGaX
▸ 博客來:https://reurl.cc/VXr88R
▸ 五大唱片:https://reurl.cc/d5E7Wy
▸ 佳佳唱片:https://reurl.cc/j5NlGp
▸ 滾石購物網:https://reurl.cc/k0RlEL
12/31 00:00 告五人新專輯跨年壓軸發行
—
| 音樂製作 |
製作人 Producer :福祿壽 Fruit Sold Music (陳君豪 Howe Chen / 韓立康
GummyBearMan / 黃文萱 Ziya Huang)
編曲 Music Arrangement:告五人 Accusefive
木吉他 Acoustic Guitar:潘雲安 Pan Pan An
敲敲打打 Percussion:林哲謙 Richard Lin
管樂編寫 Brass Arrangement:潘雲安 Pan Pan An
薩克斯風 Sax:謝明諺 Minyen Hsieh
小號 Trumpet:Daniel Deysher
長號 Trombone:宋光清 Qinbone Sung
合音 Backing Vocal:潘雲安 Pan Pan An / 犬青 Quan Qing
合音編寫 Backing Vocal Arrangement:潘雲安 Pan Pan An / 犬青 Quan Qing
錄音師 Recording Engineer:葉育軒 YuHsuan Yeh / 蔡周翰 Chou Han Tsay
錄音室 Recording Studio:宜蘭 Neverland飛鳥城堡 / BB Road Studio
混音師 Mixing Engineer:黃文萱 Ziya Huang
混音錄音室 Mixing Studio:Purring Sound Studio
製作混音助理 Production Assistant:沈冠霖 SHENB
母帶後期工程師 Mastering Engineer:Randy Merrill
母帶後期錄音室 Mastering Studio:Sterling Sound
| 影像製作 |
Client: 相遇音樂
Production: 時空號映像 Spacetime Film Studio
Credits:
導演:張家毓
監製:郭彥汝
製片:杜德修
攝影師:陳韋翰
攝影大助:楊皓程
美術:彭琦雯
後期: 時空號映像
字幕: 陳科宏
標準字: 吳建龍
對嘴素材(小國生活夜景):電光影裡影業
特別感謝:閃電船長、李國揚
#告五人 #第二張創作專輯
#運氣來得若有似無
#運氣來了倒數十天
spacetime 在 嘎嘎 Facebook 八卦
Wake up音樂節
一起嗨!
7/17喔喔喔喔喔
【覺醒音樂祭 Wake Up 2016《理想的島》第二十九波演出公佈】
全新組合重新出發►嘎嘎X李洛洋 Lil Young重磅演出確認!
#WakeUp2016
#理想的島
#一起回嘉
-
➠ Wake Up2016《理想的島》志工徵選持續進行中
︴https://goo.gl/Tu23ju(詳細辦法點此)
➠ Wake Up2016《理想的島》市集徵選持續進行中
︴https://goo.gl/O0fxfC(詳細辦法點此)
➠ 票券資訊
︴三日未來票|票價:$ 500 (已完售)
︴三日超鳥票|票價:$1200(已完售)
︴三日早鳥票|票價:$1600(已完售)
︴最後預售票|票價:$1800(倒數30張)
︴三日現場票|票價:$2600(因多數票卷完售,今年確定無現場票)
➠ 售票通路
︴實體|7-11 Ibon (INDIEVOX)
︴網路|goo.gl/F8usCJ (INDIEVOX)
➠參演樂團
滅火器|血肉果汁機|草東沒有派對|濁水溪公社|Mary See the Future|WHITE ASH(JP)|Fox Capture Plan(JP)|感覚ピエロ(JP)|HEAD PHONES PRESIDENT(HP)|Infernal Chaos|Skull Fist(CA)|麋先生|話梅鹿(HK)|勸世宗親會|黑狼|小福氣|南瓜妮歌迷俱樂部|OS☆U(JP)|青SHUN學園(JP)|八十八顆芭樂籽|傷心欲絕|Qu(JP)|胖虎|Power Milk(CN)|幻日|廖文強|脆弱少女組|P!SCO|猛虎巧克力|隨性|巨大的轟鳴|TRASH|槍擊潑辣|法蘭黛|四分衛|拷秋勤|DYGL(JP)|吉野-yoshino-|恕|嘴哥|Aureole(JP)|神奇膠(HK)|火燒島|昴宿|地下道|羣島|浮舟|城市雨人|Stranded Whale(HK)|Smoke In Half Note(HK)|MASQUERADER|EMERGING FROM THE COCOON|The Roadside Inn|Stench of Lust(CA/TW)|Sexy Hammer(HK)|Triple Deer|鹿比∞吠陀|茄子蛋|DEER(MX)|奏手候(JP)|椰子!! Coconuts|好事花生|柴郡貓|妮可醬|Flyinsnow|銳豆(CN)|孬樂隊(MY)|怕胖團|瑪莉咬凱利|新墨鏡|五五身|樹懶教會我的事|Boiler陸龜(JP)|iTuca(JP)|午夜乒乓|夕陽武士|向量單車|張三李四|裸絵札(JP)|SOHA(JP)|Kill My 27(JP)|晨曦光廊|死未來|少年白|屋塔|Super Napkin|Phoon(HK)|OBSESS|柒拾趴|麻花捲怪獸|及時雨(HK)|帶菌者(HK)|Seasons for Change(HK)|PiA|官靖剛|淺堤|嬉班子|二本貓|既視感|The Tic Tac|復古世代|Nowhere|椅子Chairs'|都市零件派對|KOHAK(JP)|奮樂團|HE有激人|放射空間|逆瓣膜|Andy is Typing(HK)|ZARIGANI$(JP)|DRAW INTO DISORDER(JP)|適者生存|鐵擊|顯然樂隊|愚人船|The Sulis Club(HK)|Mr. Rocket Head(HK)|Ghost Money All-stars|一步|BB彈|孩子王|厭世少年|烏鴉航班|粗大Band|擊沈女孩|灰矮星|北七|男子漢|体慾股長|惡魔刺客|Spacetime and Streams(JP)|Boycany|Flux|Pick Up拾音|微酸的偷窺狂|島嶼|步行者|神棍|瑪啡因|孔雀眼|TUX(HK)|VOROS(AU)|Karate Dancer(EC)|煙霧彈|美秀集團|NO MONEY NO HONEY|Plan-D|SoundBase|林煌麟PureTone|Memento森(JP)|暴君|蠅蛆殖民地|暴噬者|重擊者|骯髒先生|信樂團雙華xWhite Noise|Instinct of Sight(HK)|東尼大木&Tony Band(JP)|HiJack|Crispy 脆樂團|生命樹|你們你們|倒抽一口氣|江東成名|キネマズ(JP)|sixteencoins(JP)|王彙筑|林依霖|Nora Says|不是桃樂絲|大話家|I Mean Us|李拾壹(HK)|Say You Care(HK)|The Bollands(NZ)|勞動服務|台客電力公司|小護士|我要加辣|海馬迴|The JIVES(JP)|Subliminal Acid(JP)|THE 90's|土匪亡靈合唱團|充氣娃娃|聯合收割機|草地人|紙飛機|四幸丸康樂團|宋德鶴|SHOOT UP|The eXtensions|Defeat The Giant|Public Ninja(JP) |大波起司|Joker|梅林槍|Greedy Black Hole|一種心情
...and more
spacetime 在 相信音樂BinMusic Youtube 的評價
綁在一起。
我們綁在一起。
從同一片天空發生同一件事開始,
我們就在這裏等你。
告五人與你,我們都在等。
我是運氣本人,
你們好。
—
揮別 2020水逆來得措手不及
再會 2021運氣來得若有似無
告五人第二張專輯《運氣來得若有似無》
網路預購全面上線
▸ 相信音樂購物網:https://reurl.cc/R1pvrx
▸ 誠品音樂:https://reurl.cc/OqlGaX
▸ 博客來:https://reurl.cc/VXr88R
▸ 五大唱片:https://reurl.cc/d5E7Wy
▸ 佳佳唱片:https://reurl.cc/j5NlGp
▸ 滾石購物網:https://reurl.cc/k0RlEL
12/31 0:00 告五人新專輯跨年壓軸發行
首波專輯同名主打 [ 運氣來得若有似無 Easy Come, Easy Go ]
立即聽:https://lnk.to/EasyComeEasyGo
| 音樂製作 |
製作人 Producer :福祿壽 Fruit Sold Music (陳君豪 Howe Chen / 韓立康
GummyBearMan / 黃文萱 Ziya Huang)
編曲 Music Arrangement:告五人 Accusefive
木吉他 Acoustic Guitar:潘雲安 Pan Pan An
敲敲打打 Percussion:林哲謙 Richard Lin
管樂編寫 Brass Arrangement:潘雲安 Pan Pan An
薩克斯風 Sax:謝明諺 Minyen Hsieh
小號 Trumpet:Daniel Deysher
長號 Trombone:宋光清 Qinbone Sung
合音 Backing Vocal:潘雲安 Pan Pan An / 犬青 Quan Qing
合音編寫 Backing Vocal Arrangement:潘雲安 Pan Pan An / 犬青 Quan Qing
錄音師 Recording Engineer:葉育軒 YuHsuan Yeh / 蔡周翰 Chou Han Tsay
錄音室 Recording Studio:宜蘭 Neverland飛鳥城堡 / BB Road Studio
混音師 Mixing Engineer:黃文萱 Ziya Huang
混音錄音室 Mixing Studio:Purring Sound Studio
製作混音助理 Production Assistant:沈冠霖 SHENB
母帶後期工程師 Mastering Engineer:Randy Merrill
母帶後期錄音室 Mastering Studio:Sterling Sound
| 影像製作 |
Client: 相遇音樂
Production: 時空號映像 Spacetime Film Studio
Credits:
導演:張家毓
監製:郭彥汝
製片:杜德修
攝影師:陳韋翰
攝影大助:楊皓程
美術:彭琦雯
後期:時空號映像
字幕:陳科宏
標準字:吳建龍
對嘴素材(小國生活夜景):電光影裡影業
特別感謝:閃電船長、李國揚
‥‥訂閱・相信‥‥‥‥‥‥‥‥
▶ 訂閱相信音樂YouTube官方頻道
– MV首播、新歌搶先聽、獨家花絮
http://bit.ly/YTBinMusic
按讚相信音樂官方FB Like on Facebook
– 官方訊息公佈、即時照片
https://www.facebook.com/ibinmusic
➩ 告五人OFFICIAL ➩
★ YouTube:@告五人Accusefive
★ facebook:https://www.facebook.com/accusefive/
★ instagram:https://www.instagram.com/accusefive/
★ Weibo:https://weibo.com/u/6207194144
spacetime 在 花江夏樹 Youtube 的評價
▼ゲーム説明 Lovers in a Dangerous Spacetime
最大プレイヤー数4人で楽しめる協力型アクションスペースシューターゲームです。巨大なネオンカラーの宇宙船で仲間と一緒にカラフルな宇宙を探検。
さらわれたスペースバニー達を救出し、LOVEの力で悪に立ち向かおう!
▼出演
花江夏樹 (猫への愛が止まらない 声優界のラブマシーン)
ミントス (愛を探し求めた結果 愛とは 足の引っ張り愛である)
しるこ (まだ愛を探してる途中・・・愛に気付くのはいつなのか 編集担当 )
ぐじら (ブラックマジシャンガールと付き合いたいと思っている)
▼3人のYouTubeチャンネルです
https://www.youtube.com/channel/UCDX5PcGdh73bnrVMgdQ_DoA
▼編集
しるこ
しるこ弟
▼ゲームの購入はこちらから
【steam】
https://store.steampowered.com/app/252110/Lovers_in_a_Dangerous_Spacetime/?l=japanese
【Nintendo switch】
https://ec.nintendo.com/JP/ja/titles/70010000001377
【PS4】
https://www.jp.playstation.com/games/loversinadangerousspacetime-ps4/
▼お知らせ
コメント欄に動画と関係の無い方のお名前を出すのは
その方のご迷惑となってしまう場合がございますので
コメントをされる際にはご注意頂けると嬉しいです!
また、他の方の動画でこのチャンネルの話題をコメントするのもお控え下さいませ
spacetime 在 V.K克 Youtube 的評價
【特報】慶祝一下由我作曲的遊戲 - 戀與製作人 要在日本動畫化了!!
與大家分享一下去年我在廣州場與弦樂四重奏一起演出的戀與製作人組曲~~ 特別重新mix的唷~ ,太太們一起尖叫吧!!! (記得分享喔~)
Pianist & Composer : V.K克
Arranger : V.K克 、林柏勲、EAjRock、丁天牧
Violin1 : 王茂榛
Violin2 : 蔡瓊華
Viola : 張晨冉
Cello : 孫佳妮
『恋とプロデューサー』TVアニメ化決定‼️
https://youtu.be/Za1L2g_oanQ
🔽アニメ公式 website
https://koipro-anime.love/sp/
Game Download :
iOS https://apple.co/2JtI275
Android http://bit.ly/2XGCwGN
V.K official social media
• Facebook: http://www.facebook.com/VKstyle
• YouTube: http://www.youtube.com/VKstation
• Twitter: http://www.twitter.com/vkstylemusic
• Instagram: http://www.instagram.com/vkstylemusic
• Weibo: http://weibo.com/vkstyle
spacetime 在 GP-B — Einstein's Spacetime - Gravity Probe B 的相關結果
Einstein eventually identified the property of spacetime which is responsible for gravity as its curvature. Space and time in Einstein's universe are no longer ... ... <看更多>
spacetime 在 What Is Spacetime? - Nature 的相關結果
In physics and, more generally, in the natural sciences, space and time are the foundation of all theories. Yet we never see spacetime directly. ... <看更多>
spacetime 在 時空- 維基百科,自由的百科全書 的相關結果
時空(時間-空間,時間和空間)是一種基本概念,分別屬於物理學 · 空間 · 時間和空間是 · 近代科學,無處不涉及時空的概念和測量方法,特別是 · 利用 · 在描述運動上,需要得知 ... ... <看更多>