กรณีศึกษา Quibi แพลตฟอร์มวิดีโอสตรีมมิงน้องใหม่ ที่เหนื่อยตั้งแต่เปิดตัว /โดย ลงทุนแมน
ทุกวันนี้ เราเห็นพฤติกรรมการรับชมสื่อบันเทิงที่ชัดเจนอยู่ 2 อย่าง
เรื่องแรกคือ คนเปลี่ยนมาดูภาพยนตร์และซีรีส์บนแพลตฟอร์มออนไลน์ เช่น NETFLIX มากขึ้น
เรื่องที่สองคือ คนเริ่มดูคลิปที่สั้นลง ทำให้แอปพลิเคชันอย่าง TikTok กำลังได้รับความนิยมสูง
เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงมีแพลตฟอร์มใหม่ชื่อว่า “Quibi”
พยายามรวมเทรนด์ดังกล่าวเข้าไว้ด้วยกัน
และสร้างเป็นบริการใหม่ ที่แตกต่างจากผู้เล่นรายอื่น
ธุรกิจของ Quibi มีลักษณะอย่างไร แล้วสุดท้ายจะไปรอดหรือไม่
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Quibi เป็นแพลตฟอร์มวิดีโอออนไลน์แบบ On-Demand จากประเทศสหรัฐอเมริกา
เพิ่งเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2020 หรือแค่เพียง 2 เดือนที่แล้ว
ชื่อของ Quibi ย่อมาจากคำว่า Quick กับ Bites
เพราะเอกลักษณ์ของแพลตฟอร์ม คือการนำเสนอคอนเทนต์ในรูปแบบภาพยนตร์สั้น ไม่เกิน 10 นาทีต่อคลิป และสามารถรับชมได้บนสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ตเท่านั้น
เนื่องจากพวกเขาเล็งเห็นโอกาสในการทำตลาด จากแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค ที่ติดตามวิดีโอสตรีมมิงบนอุปกรณ์ Smart Device มากขึ้น และรับชมคลิปที่มีระยะเวลาสั้นลง
ผู้ก่อตั้งบริษัทนี้คือ คุณ Jeffrey Katzenberg อดีตผู้บริหารของ Walt Disney Studios ซึ่งอยู่เบื้องหลังผลงานภาพยนตร์แอนิเมชันโด่งดังมากมาย เช่น The Little Mermaid, Beauty and the Beast, Aladdin และ The Lion King
นอกจากนั้น ยังมียักษ์ใหญ่วงการบันเทิงหลายราย เข้ามาสนับสนุนเงินลงทุนกว่า 55,000 ล้านบาท ไม่ว่าจะเป็น Walt Disney, NBCUniversal, Sony Pictures, WarnerMedia รวมไปถึง Alibaba
โดยบริษัทได้วางแผนใช้เงินประมาณ 35,000 ล้านบาท เพื่อสร้าง Original Content ของตัวเอง 175 เรื่อง รวมทั้งหมด 8,500 ตอน และทุ่มงบอีก 16,000 ล้านบาท ให้กับกิจกรรมโฆษณาการตลาด
ด้วยเหตุนี้ Quibi จึงถูกคาดหวังเอาไว้สูงมาก ว่าธุรกิจจะต้องประสบความสำเร็จ
ในปีแรก บริษัทตั้งเป้าจำนวนสมาชิกอยู่ที่ 7 ล้านบัญชี และมีรายได้ 7,900 ล้านบาท
ส่วนในปีที่สาม ตัวเลขจำนวนสมาชิกจะต้องเพิ่มขึ้นเป็น 16 ล้านบัญชี
ทั้งนี้แพลตฟอร์มคิดค่าบริการด้วยระบบสมัครสมาชิก หรือ Subscription
บัญชีแบบมีโฆษณา ราคา 160 บาทต่อเดือน
บัญชีแบบไม่มีโฆษณา ราคา 250 บาทต่อเดือน
และแล้วก็ถึงเวลาเปิดตัว..
ในช่วงแรก Quibi ได้รับความสนใจจากตลาดอยู่พอสมควร
ผ่านไป 1 วัน มียอดดาวน์โหลด 3 แสนครั้ง
ผ่านไป 7 วัน มียอดดาวน์โหลด 1.7 ล้านครั้ง
แต่หลังจากนั้นไม่นาน บริษัทกลับต้องเจอความท้าทายโดยไม่ทันตั้งตัว
เพราะอันดับยอดดาวน์โหลดแอปพลิเคชันใน App Store ตกลงอย่างรวดเร็ว
ผ่านไป 2 สัปดาห์ อยู่ต่ำกว่าอันดับที่ 50
ผ่านไป 1 เดือน อยู่ต่ำกว่าอันดับที่ 125
ผ่านไป 2 เดือน อยู่ต่ำกว่าอันดับที่ 1,000
ทำให้ปัจจุบัน Quibi มียอดดาวน์โหลดสะสมประมาณ 2.9 ถึง 3.5 ล้านครั้ง
และมีผู้ใช้งานแบบ Active User ราว 1.3 ล้านบัญชี
ด้วยฐานลูกค้าประจำดังกล่าว หากคิดค่าบริการรายเดือนเฉลี่ย 200 บาทต่อคน
ตอนสิ้นปี บริษัทอาจมีรายได้อยู่ที่เพียง 2,300 ล้านบาท ซึ่งห่างไกลจากเป้าหมายหลายเท่าตัว
แม้แต่คุณ Katzenberg ก็ยอมรับว่า ผลการดำเนินงานคงออกมาต่ำกว่าที่คาดการณ์ โดยวิเคราะห์ว่า การระบาดของ COVID-19 ทำให้ผู้บริโภคมีเวลาดูคลิปยาวๆ ในช่วงหยุดอยู่บ้าน
แต่ความจริงแล้ว เราได้เห็นแพลตฟอร์มคลิปวิดีโอสั้น ได้รับความนิยมมากขึ้นด้วยซ้ำ เช่น แอปพลิเคชัน TikTok ที่มียอดดาวน์โหลดในเดือนเมษายนสูงถึง 107 ล้านครั้ง
นั่นอาจหมายความว่า คนแค่ไม่ดู Quibi ก็เป็นได้..
คำถามคือ พวกเขาเดินเกมผิดพลาดตรงไหน?
ดูเหมือนบริษัทลืมไปว่า ทั้งสองเทรนด์ที่ใช้ออกแบบแพลตฟอร์มนั้น เป็นสิ่งที่อยู่คนละขั้วกัน ทำให้ Quibi ไม่มีจุดขายที่ผู้บริโภคให้ความสนใจ
พูดง่ายๆ คือ คนที่ดูคลิปสั้น ไม่ได้ต้องการดูภาพยนตร์
ส่วนคอภาพยนตร์ ก็ไม่ได้ชอบดูแบบคลิปสั้นๆ
ในตลาดคลิปสั้น ประเภทเนื้อหาหลักคือ รายการวาไรตี้ต่างๆ ซึ่งผู้บริโภคสามารถหาชมแบบฟรีๆ ได้ในแพลตฟอร์มอื่น เช่น YouTube ที่มีคอนเทนต์หลากหลายกว่า
หรือถ้าอยากดูคลิปแนวไวรัล ก็ไปใช้แพลตฟอร์มแนวโซเชียลมีเดีย เช่น TikTok ที่มีลูกเล่นตกแต่งคลิปมากมาย และแสดงความคิดเห็นต่อกันได้
ที่น่าแปลกใจคือ Quibi ห้ามถ่ายรูป Screenshot หน้าจอ ป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ไปแชร์ต่อ ซึ่งปิดกั้นโอกาสการบอกต่อในโซเชียลมีเดีย จนสุดท้ายบริษัทต้องประกาศปรับปรุงฟีเจอร์ให้เชื่อมต่อกับแพลตฟอร์มอื่นได้ในอนาคต
ขณะที่ในอีกมุมหนึ่ง หากผู้บริโภคต้องจ่ายเงินค่าสมาชิกเพื่อดูภาพยนตร์สนุกๆ
ส่วนใหญ่คงเลือกใช้แพลตฟอร์มที่นำเสนอคอนเทนต์ภาพยนตร์ยาว เช่น NETFLIX หรือ Disney+
เพราะการนั่งดูภาพยนตร์ 2 ชั่วโมง บนจอทีวีใหญ่
ย่อมน่าติดตามกว่า การเพ่งดูคลิป Quibi ตอนละ 10 นาที บนหน้าจอสมาร์ตโฟน
จากเรื่องราวนี้จะเห็นได้ว่า
การวางแผนกลยุทธ์โดยอ้างอิงเทรนด์ของตลาด เป็นสิ่งที่จำเป็นก็จริง
แต่เราต้องดูด้วยว่า บริษัทควรจะโฟกัสไปทางใดทางหนึ่ง หรือจับทุกอย่างมารวมกัน
เพราะในบางครั้ง จุดเด่นของปัจจัยหนึ่ง อาจไปบดบังข้อดีของอีกปัจจัยหนึ่ง
เหมือนกรณีของแพลตฟอร์ม Quibi ที่ผสมผสานกันแล้ว ไม่ลงตัว..
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://en.wikipedia.org/wiki/Quibi
-https://www.adweek.com/tv-video/quibi-is-struggling-because-it-overestimated-how-consumers-absorb-short-content/
-https://www.fool.com/investing/2020/05/12/quibi-is-failing-and-netflix-roku-and-disney-keep.aspx
-https://sensortower.com/blog/quibi-downloads-day-one
-https://sensortower.com/blog/top-apps-worldwide-april-2020-by-downloads
-https://www.businessinsider.com/quibi-employee-layoffs-pay-cuts-streaming-app-meg-whitman-2020-6
-https://www.wsj.com/articles/quibi-jeffrey-katzenbergs-on-the-go-streaming-bet-adjusts-to-life-on-the-couch-11588266129
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過15萬的網紅豐富,也在其Youtube影片中提到,主持人:阮慕驊 來賓:淡江大學財務金融學系副教授 段昌文博士 主題:女股神降臨!? 主動型ETF知多少? 節目時間:週一至週五 5:00pm-7:00pm 本集播出日期:2021.01.13 #財務金融 #段昌文 #方舟投資 【財經一路發】專屬Podcast:https://www.himalay...
roku app 在 Facebook 八卦
#葉郎每日讀報
▼ 1. Scorsese 說電影不應該被降級為貨架上的內容產品
│
導演 Martin Scorsese 在 Harper's 雜誌上的一篇專欄文章中回顧義大利導演 Federico Fellini 和那些已經不復存在的電影魔法。緊接著他隨即承接先前批判 Marvel 電影根本不是電影的話題,繼續對當代電影產業開炮。他說自己雖然也從串流平台獲得很多幫助,但在此同時串流的興起已經把電影藝術降階為貨架上的內容產品,不僅整個行業充滿對於電影藝術一無所知的人,甚至還讓 AI 來代替人推薦節目給觀眾,讓「策展」一詞成為過去式。因為同樣被視為內容產品,一部 David Lean 電影、貓的網路影片、15秒的超級盃廣告、超級英雄電影續集以及任何一集電視節目,都被放在同一個盤子裡,視作同一門生意的產品對待。他說自己當然可以接受這些往日的電影大神的聲名因為時間而逐漸淡去,但他仍希望整個業界採取行動來避免這件事加速發生。不能仰賴任何生意人來照料電影這一門藝術,每一個從業人員都有責任跳出來告訴這些擁有經典作品的人:你們正在管理的是偉大的藝術資產,必須給它們應有的待遇。
(報導原文:https://bit.ly/2ZnTs3n)
│
│
▼ 2. 牛津大學研究發現玩電玩的時間和幸福感正相關
│
牛津大學的研究者從 EA的《Plants vs Zombies: Battle for Neighborville 植物大戰殭屍:和睦小鎮保衛戰》以及任天堂的《Animal Crossing: New Horizons 集合啦!動物森友會》兩個熱門遊戲的玩家中尋找超過3000個志願者參與研究,發現玩家花在遊戲上的時間和他們的幸福感有正相關。其中一名研究者 Andrew Przybylski 強調這個結論並非代表兩者之間有因果關係,也並不代表你繼續花更多時間玩電玩就會變得更快樂,「但我們至少找到了有力證據證明這兩者之間不是負相關」。
(報導原文:https://bit.ly/3k8leut)
│
│
▼ 3. 收購 Quibi 倒店貨之外,機上盒業者 Roku 似乎還打算進軍內容生產
│
短命的 Quibi 去年底尋求投資和收購未果,斷然宣佈停止運作,並將超過75個節目以不到1億美元的價格賣給電視機上盒業者 Roku。Roku 當時說這些節目未來會對機上盒用戶提供,不過他們的企圖心似乎不止是上架這些來自 Quibi 的倒店貨。眼尖的媒體發現 Roku 在商業社群平台 LinkedIn 上刊登和製作有關的職缺。早先也有報導說該公司曾和業界人士接觸討論自製節目的可能性。媒體推測 Roku 可能打算跟上其他機上盒業者的腳步,從平台的角色跳下去自己提供內容。目前美國三大機上盒業者 Amazon、Apple 和 Roku 中,前兩家除了機上盒業務之外都有自營串流內容品牌。去年開始變得白熱化的美國市場串流大戰中,這三家機上盒業者因為掌握了消費者的電視入口,而成為各家串流品牌的關鍵路障。新上線的串流品牌往往必須耗費數個月談判才有機會讓自家的 App 登上這三大機上盒品牌的硬體。而這三家先後投入自營內容,也會讓過份擁擠的串流大戰的戰局變得更錯綜複雜。
(報導原文:https://bit.ly/3bbznmk)
│
▽ 其他今天也可以知道一下的事請見留言
roku app 在 葉郎:異聞筆記 / Dr. Strangenote Facebook 八卦
#葉郎每日讀報 #一週大事版
────────────
「整個 TikTok 交易
根本啥問題都沒解決」
——Techcrunch
────────────
Hold the door!本週有好多人在扮演布蘭的忠僕阿多的角色。有些人失守了,有些人頂住了,有些人則敲鑼打鼓地宣稱自己頂住了......
電視機守門人之亂
 ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄
2020年好萊塢開始把發行通路的重心從電影院轉向電視機。然而跳過電影院之後,這些片廠新推出的串流服務仍然得對付電視機的守門人——機上盒業者(除非好萊塢發明直接將電影用第六感傳輸到用戶腦中)。
兩家今年啟動的重量級串流服務包含 NBCUniversal的 Peacock 和 WarnerMedia 的 HBO Max,開張數個月以來仍然無法上架美國普及率最高的兩家機上盒 Amazon 和 Roku。談判始終無法談攏的理由是傳統電視頻道的分潤是這些機上盒業者重要的收入來源,他們不樂見電視台將發展重心從頻道轉為串流,因為串流目前還沒有讓他們分一杯羹的商業模式。所以無論 Amazon 或是 Roku 都試圖利用談判杯葛 App 上架來傳達這個訊息。
上週 NBCUniversal 決定祭出談判殺手鐧,通知 Roku 如果再拒絕上架 Peacock 的話,該集團下46個 App(多為NBC旗下各電視網的App)將在這個週末集體下架。
這個最後通牒總算終結了這個延宕數個月的談判。昨天 Roku 突然發表聲明表示 App 上架談判(以及敵對狀態)總算告一段落,Roku 用戶將可以繼續使用 NBC 各頻道的 App,並同時終於可以開始安裝 Peakcock 串流服務的 App。Roku在聲明中說:「兩家公司之間已經建立互蒙其利的合作關係,合作內容包含將 NBC 的內容加入 Roku 頻道中以及在廣告業務上更具意義的合作,我們因此可以在未來提供更多新的選項給消費者。」
先前媒體報導指稱 Roku 試圖對 NBCUniversal 收到的 Peakcock 廣告收入要求分潤 30%。由 Roku 上述聲明可以推測,NBCUniversal 可能在談判中做出一定程度的讓步換取 Peacock 上架。
同樣的守門人絆腳石也發生在音樂串流產業上:
音樂產業透過 Spotify 跳過實體媒介和通路的,但終究也跳不過 Apple 的 App Store 這個抽成高達30%的霸道守門人。
一直到處告官指控 Apple 獨厚自家 Apple Music 服務的 Spotify,在上週 Apple 的發表會後隨即發表措辭強烈的聲明<指控 Apple 濫用其市場力量創造不公平競爭的條件。
讓 Spotify火冒三丈的就是新推出的 Apple One 全餐式訂閱服務。Apple One 全餐包含了Apple Music、Apple TV+、Apple Arcade 和 iCloud 這四道菜,其中市場競爭最激烈的 Apple Music 被綁進方案中,等於用其他四道小菜(比如乏人問津的 Apple TV+) 來補貼這一道主菜。Spotify 相比之下立刻失去競爭優勢。
Spotify 大聲疾呼主管公平交易的政府部門如果再不出面阻止 Apple,將傷害整個創新社群並影響消費者聆聽、互動、創造的自由。Apple 對此則則冷淡回應道:Apple One 的真正目的是幫消費者省錢,而消費者仍然可以自由地探索並選擇其他人的服務諸如此類的。
果然是市值兩兆美元的霸道總裁該有的回話口氣啊~
國家守門人之亂
 ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄
本週是美國總統 Donald Trump 給字節跳動將TikTok 國際版抖音美國業務拆分給美國公司的最後期限。過去一整週因此就是各種漫天消息的大亂鬥:
首先週一 Microsoft 率先宣佈自己已經出局,因為字節跳動已經通知 Microsoft 將不會把 TikTok 在美國的業務出售給微軟。全球媒體開始猜測另外一個買家 Oracle 幾乎確定出線的同時,包含隸屬央視的中國環球電視網以及中國阿里巴巴集團所有的南華早報卻不約而同地做出和全球媒體完全不同的結論:誰也不買到 TikTok,因為字節跳動不會賣,也不會把 App 程式原始碼轉移給任何人。
到了星期五 Trump 果然說到做到,發佈了美國政府要在 9月20日(也就是今天)起以國安因素禁用 Wechat 微信和 TikTok 國際版抖音的實施方案。不過表面上的禁用方案背後,其實特地為 TikTok 量身打造了一條生路。
首先,今天開始這兩個 App 會在美國境內禁止下載。在此同時, Wechat 的既有美國用戶會因為另外一條禁止網站代管、內容傳輸、轉帳和付款等業務的規定而開始無法使用 Wechat,但 TikTok 相關服務禁止的期限卻一口氣延後到11月12日。玄機就在這個日期,因為正好落在美國總統大選後幾天。Trump 似乎體認到 TikTok 即刻停用將激起選民憤怒,影響年輕人的選票,因此決定把這個複雜難解的題目留待選後再解。
緊接著星期六深夜,果然傳出 Trump 已經准了 TikTok 的股權交易。最後是 Oracle 和 Walmart 將和字節跳動共同成立一家新的美國公司 TikTok Global ,未來會在美國上市公開募股。Trump 同時透露 TikTok Global 可能會設在他的票倉德州,僱用至少2.5萬人,並且該公司將捐出 50 億美元做為教育基金。
美國商務部也隨即對於股權交易的正面進展釋出善意,原本今天開始對於TikTok 的禁止下載封殺令立刻喊卡,要延後到9月27日再實施。
然而所謂「正面進展」也有不同意見。根據美國記者 Alex Sherman 在twitter上發文的統計,Oracle 會買到新公司 TikTok Global 12.5% 股權,Walmart 則會有 7.5%,也就是說一番折騰下來兩家美國企業總計買到20%股權,而 TikTok 原本的母公司字節跳動仍將持股80%。雖然字節跳動背後還有兩家美國投資公司(Sequoia Capital 紅杉資本和General Atlantic 大西洋大眾),如果把這些股東的持股也計算進來會讓美國資金勉強過半,但仍和 Trump 原本說的「拆分業務」有不小的差別。
科技媒體 Techcrunch 在交易確定之後隨即發出一篇評論說,這整場大戲完全是沒有意義的徒勞。原本美國人對於 TikTok 最大的疑慮是美國用戶的隱私權風險,以及中國政府是否可能透過演算法散佈對他們有利的政治資訊。然而在昨晚定案的交易之後,除了 Oracle 的雲端服務買到了 TikTok 這個大客戶,Walmart 則買到了從此以後可以向美國青少年兜售各種商品的新管道之外,根本沒有降低美國人的隱私權風險和中國政府介入的威脅。
「整個 TikTok 交易根本啥問題都沒解決」Techcruch 的編輯這麼下結論。
論壇守門人之亂
 ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄ ̄
為了擺脫唱片公司的版權拆帳束縛,Spotify 過去一年開始重金發展 podcast 內容。然而從賣音樂變成賣節目之後,Spofity 也開始像 Facebook、Twitter 或是 YouTube 等社群平台一樣陷入「審查還是不審查」的泥沼。
據說花了上億美元挖來的知名 podcast 主持人 Joe Rogan節目才在9月1日開播就停職 Spotify 惹來一堆麻煩。
先是右派人士發現 Joe Rogan 節目中受訪的極右派人士 Milo Yiannopoulos、Alex Jones 等集數被 Spotify 自我審查而未上架。
緊接著,左派人士則發現上架的另一集 Joe Rogan 節目邀來著名的「恐跨性別者 」Abigail Shrier 上節目,和主持人一起大談跨性別跟自閉症一樣是一種病態,而且並將病因歸因於年輕人看太多 YouTube 影片的結果。
Spotify 執行長 Daniel Ek 不得不因為保留這一集所引發的爭議召開會議親自向員工解釋。他強調沒有下架這一集並不代表公司拒絕聆聽外界的聲音。他同時要求同仁千萬不要將會議內容外洩,但顯然不滿的 Spotify 員工並不同意保密這道命令,隨即向媒體披露老闆為該節目辯護的完整過程。
另外一位今年不斷被員工包圍挑釁的老闆是 Facebook 的 Mark Zukerberg。
對外,Zukerberg 始終堅稱臉書的廣納多元、不受審查威脅的自由討論是有利於民主的(並因而要求全世界忍受包含反疫苗等討論)。諷刺的是,對內 Zukerberg 開始主張為了員工和諧必須限制員工討論政治議題。
在 Facebook 這個全世界最大公共論壇上,版主的每個舉動都足以左右全球政治動態。然而作為版主中的版主, Zukerberg 卻宣佈在公司內部網路中除了專門開來討論政治議題的討論區之外,員工將不得在其他區塊討論包含 Black Lives Matter 等政治議題。
三個月前Facebook 員工才多次逼宮,以虛擬罷工的方式要求Zukerberg 面對 Facebook 助長 Trump 各種不實謊言、鼓吹暴力和種族主義發言所造成的惡果。Zukerberg 如今終於想到管制員工政治發言這個錦囊妙計來解決「提出問題的人」,果真是不世出的天才。
|新聞出處|
Neither Microsoft nor Oracle gets to buy TikTok US: Chinese state media(https://tcrn.ch/3htX7mT)
Apple says its new Apple One services bundle isn’t unfair to Spotify(https://bit.ly/33uJQFE)
Spotify CEO Defends Keeping Transphobic Joe Rogan Podcasts Online(https://bit.ly/3krs5Op)
In the WeChat, TikTok US shutdown order, TikTok gets Nov. 12 stay, keeping it up through the US election and Oracle dealmaking(https://tcrn.ch/3cavpuk)
NBCU Threatens to Pull TV Apps From Roku Amid Fight Over Peacock Deal Terms(https://bit.ly/2ZOVvhy)
Roku and Comcast reach agreement to carry Peacock on Roku(https://bit.ly/2FPZiEj)
President Trump reportedly has approved the Oracle deal for TikTok’s US operations(https://tcrn.ch/3hOAiu8)
The TikTok deal solves quite literally nothing(https://tcrn.ch/3hNgOpV)
Mark Zuckerberg Wants To Silence Facebook’s Employees(https://bit.ly/32MG6QQ)
roku app 在 豐富 Youtube 的評價
主持人:阮慕驊
來賓:淡江大學財務金融學系副教授 段昌文博士
主題:女股神降臨!? 主動型ETF知多少?
節目時間:週一至週五 5:00pm-7:00pm
本集播出日期:2021.01.13
#財務金融 #段昌文 #方舟投資
【財經一路發】專屬Podcast:https://www.himalaya.com/98money168
-----
訂閱【豐富】YouTube頻道:https://www.youtube.com/c/豐富
按讚【豐富】FB:https://www.facebook.com/RicherChannel
▍九八新聞台@大台北地區 FM98.1
▍官網:http://www.news98.com.tw
▍粉絲團:https://www.facebook.com/News98
▍線上收聽:https://pse.is/R5W29
▍APP下載
• APP Store:https://news98.page.link/apps
• Google Play:https://news98.page.link/play
▍YouTube頻道:https://www.youtube.com/user/News98radio
▍Podcast
• Himalaya:https://www.himalaya.com/news98channel
• Apple Podcast:https://goo.gl/Y8dd5F
• SoundCloud:https://soundcloud.com/news98