เป็นโอกาสที่ดีมากๆที่ได้พบและพูดคุยแบบ exclusive กับ Dr. Nicholas Bronn (Dr.Nick) นักวิจัย Quantum Computing ที่ประจำอยู่ที่ IBM Quantum Research Center, Yorktown สหรัฐอเมริกา
.
ได้อัพเดตความรู้และงานวิจัยเรื่อง quantum computing และ quantum computer ของโลกหลากหลายแง่มุม และแน่นอนว่าจะนำมาเล่าให้เพื่อนๆฟังด้วยในรายการนะคะ ^^
.
Dr.Nick เก่งมากกกก ประวัติขั้นเทพ ด้าน quantum computing ตัวจริงด้าน quantum ที่หาตัวจับยากเลยล่ะค่ะ แต่น่ารักมากๆนะคะ 😉 บอกให้ทำท่าไหนก็ทำต้ามมมมม แม้แต่ไหว้แบบไทยค่ะ 😄😄 (ดูภาพถัดๆไปนะคะ ทั้งแบบเกาหลี ญี่ปุ่น ไทย จัดไป!)
.
กลับสู่โหมดสาระแพร้บ 😌 Dr.Nick มองว่า Quantum Computer น่าจะได้ใช้กันจริงจังเชิงพาณิชย์ใน 2-3 ปีนี้หล่ะค่ะ :) รีบตามให้ทันนะคะ
.
ขอบคุณคุณสุรฤทธิ์ IBM ประเทศไทย ที่ทำให้ได้พบกับ Dr.Nick นะคะ 🙏
.
ว่าแต่ เห็นความผิดปกติอะไรในภาพบ้างไหมคะ? ใครเห็น ลองมาเมนต์ไว้นะคะ อิอิอิ 😎😃😄
.
.
.
.
.
#quantum #QuantumComputer #QuantumComputing #IBM #IBMQ
#DigitalThailand #iT24Hrs
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過62萬的網紅Bryan Wee,也在其Youtube影片中提到,...
「quantum computing ibm」的推薦目錄:
- 關於quantum computing ibm 在 IT24Hrs - ไอที 24 ชั่วโมง by ปานระพี Facebook
- 關於quantum computing ibm 在 Engadget Facebook
- 關於quantum computing ibm 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook
- 關於quantum computing ibm 在 Bryan Wee Youtube
- 關於quantum computing ibm 在 Travel Thirsty Youtube
- 關於quantum computing ibm 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube
quantum computing ibm 在 Engadget Facebook 八卦
The systems have a little help from conventional computers.
quantum computing ibm 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 八卦
quantum computing ครับ
วันนี้เราไปฟังศิษย์เก่าที่ทำงานอยู่ทีม quantum computing IBM มาสัมนาเรื่อง quantum computing แล้วมันเป็นอะไรที่ใหม่และน่าสนใจดี ขอสรุปสั้นๆ เอาไว้เป็นโน๊ตให้ตัวเองด้วย
ก่อนอื่นคือคนส่วนใหญ่เข้าใจควอนตัมคอมพิวเตอร์กันผิดมากๆ (ซึ่งเราก็เคยเป็นหนึ่งในนั้น) ความเข้าใจผิดที่เราพูดถึงคือ เข้าใจว่าควอนตัมคอมพิวเตอร์สามารถคำนวนอะไรที่คอมพิวเตอร์ปกติคำนวนไม่ได้ หรือ ควอนตัมคอมพิวเตอร์คำนวนทุกอย่างได้เร็วกว่า หรือ เทคโนโลยีควอนตัมคอมพิวเตอร์จะมาแทนที่คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันไปเลย แบบอนาคตไม่มีละคอมพิวเตอร์ธรรมดา ซึ่งจริงๆแล้วมันไม่ได้ถูกต้อง 100%
ขอเริ่มที่พื้นฐานคร่าวๆก่อนจะได้เขาใจว่าทำไมความเชื่อพวกนี้มันผิด
สิ่งที่ทำให้ควอนตัมคอมพิวเตอร์ต่างจากคอมพิวเตอร์ปกติคือ unit หรือหน่วยที่ใช้ประมวลผล คอมในปัจจุบันเราใช้ bit ส่วนควอนตัมคอมพิวเตอร์จะใช้ qubit แล้วเจ้า bit กับ qubit มันต่างกันยังไง?
เอาแบบสั้นๆได้ใจความคือ bit มีแค่สองค่าคือ 0 และ 1 ซึ่ง qubit เองก็มีค่าหลักคือ 0 และ 1 แต่มันสามารถมีค่าอื่นๆที่อยู่ระหว่าง 0 กับ 1 ได้ด้วยซึ่งอาจจะเป็น complex number ก็ได้ และมันสามารถแสดงค่า 0 และ 1 พร้อมกันได้ด้วย แต่ว่าค่าของ qubit ไม่เสถียร ถ้าอยากเข้าใจเรื่อง qubit เชิงลึกมันจะมี linear algrebra เข้ามาเกี่ยวด้วยแต่ไม่ยากเกินที่จะทำความเข้าใจแต่เราจะไม่อธิบาย
ทีนี้ความต่างก็คือ ถ้าอยากให้คอมพิวเตอร์ในปัจจุทำงานได้เร็วขึ้น เราก็เพิ่ม capacity ของ chip เข้าไปทีละสองเท่า เช่นจาก 4 bit > 8 bit > 16 bit > 32 bit etc. แล้วหน่วย bit ก็แสดงได้ทีละค่า คือ ไม่ 0 ก็ 1
แต่อย่างที่บอกว่า qubit สามารถแสดงทั้ง 0 และ 1 พร้อมกันก็ได้ ยกตัวอย่าง 3 bit จะมี possibility ได้ 8 ค่า คือ 000, 001, 010, 011, 100, 101, 110, และ 111 ซึ่งคอมปกติที่มี 3 bit มันเก็บได้ค่าเดียวจากใน 8 ค่านี้ แต่ ควอนตัมคอมพิวเตอร์ที่มี 3 qubit สามารถคำนวนและเก็บค่าความเป็นไปได้ของเลข 0 กับ 1 ได้ถึง 8 ค่าพร้อมกัน
โดยประมาณก็คือคอมที่มี 3 qubit สามารถคำนวนได้เร็วกว่าคอมพิวเตอร์ที่มี 3 bit ถึง 8 เท่านั่นเอง ความว้าวมันอยู่ตรงนี้ ยิ่ง qubit มีเยอะเท่าไหร่ก็มีความเป็นไปได้ที่จะคำนวนได้เร็วกว่า bit ปกตินั้นเอง
แต่ก็มีข้อเสียมากๆคือ qubit มันไม่เสถียรเพราะไม่ได้มีแค่เลข 0 กับ 1 ดังนั้นบางครั้งก็จะมีค่าที่อยู่ระหว่าง 0 กับ 1 ปนออกมาซึ่งค่าอันนี้เรียกว่า noise และเจ้า noise นี้ยิ่งมีสูงยิ่งทำให้ความแม่นยำของผลลัพธ์ลดลงเพราะ noise เป็นเลขอะไรก็ไม่รู้
คร่าวๆของ quantum computer ก็ประมาณนั้น ทีนี้กลับมาสู่ประเด็นหลักที่อยากบอก
1. ควอนตัมคอมพิวเตอร์คำนวนสิ่งที่คอมพิวเตอร์ปกติคำนวนไม่ได้จริงเหรอ
คำตอบ: ไม่จริง ผิดมากๆ คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถคำนวนทุกอย่างที่ควอนตัมคอมพิวเตอร์ทำได้ สามารถ stimulate การทำงานของควอนตัมคอมพิวเตอร์ได้ด้วย (แต่ได้มากสุดแค่ 5 qubit นะ มากกว่านี้ไปรันผ่าน IBM Q ได้ทางนี้ https://www.research.ibm.com/ibm-q/)
คือมันคำนวนทุกอย่างได้เหมือนกัน base on automata theory เลยแค่ unit มันต่างกันทำให้ data storing capacity ต่างกันทำให้ความเร็วต่างกัน
2. ควอนตัมคอมพิวเตอร์คำนวนทุกอย่างได้เร็วกว่าคอมพิวเตอร์ปกติ
คำตอบ: จริงและไม่จริง อย่างที่อธิบายไปเรื่อง bit กับ qubit ในกรณี 1 qubit นี่คอมพิวเตอร์ธรรมดาก็คำนวนได้เร็วพอๆกันแถมยังถูกต้องกว่าด้วยเพราะ qubit มันมี noise แต่ bit ปกติไม่มี และถึงควอนตัมจะคำนวนได้เร็วกว่าแต่ error เยอะมากๆเพราะ qubit มันไม่เสถียร คือมีโอกาสที่ได้เลขที่ไม่ใช่ 0 กับ 1 ด้วย ในขณะที่คอมปกติไม่มีทางได้เลขอื่นนอกจาก 0 และ 1
3. ควอนตัมคอมพิวเตอร์สามารถแทนที่คอมพิวเตอร์ปกติได้
คำตอบ : ไม่จริง อันนี้โคตรผิด (สำหรับในปัจจุบันนะ อนาคตอาจจะทำได้) คือในปัจจุบันควอนตัมคอมพิวเตอร์ยังต้องเชื่อมกับคอมพิวเตอร์ปกติ อย่างน้อยโมเดลของ ibm ก็ยังเป็นแบบนี้ เวลาที่มันทำงานคือ เราพิมพ์คำสั่งในคอมปกติ แล้วคอมปกติก็ส่งคำสั่งไปเปลี่ยนเป็น microwave signals จากนั้น signal จะถูกไป process ในตัว quantum chip อีกที ผลลัพธ์ที่ได้จาก quantum computing ก็ถูกส่งกลับเข้าเป็น microwave signals แล้วก็ถูกแปลงกลับมาเป็นค่าที่คอมพิวเตอร์ปัจจุบันอ่านได้แล้วก็แสดงผลให้เราดู
สรุปคร่าวๆก็คือ คอมพิวเตอร์ปกติก็คำนวนสิ่งที่ควอนตัมคอมพิวเตอร์คำนวนได้ แค่คอมปกติมันช้าอาจจะกว่า(ในกรณีที่เทียบกับควอนตัมที่ใช้ qubit เยอะๆ) แต่ความแม่นยำของคอมปกติยังดีกว่านะ และควอนตัมคอมพิวเตอร์ยังต้องอาศัยคอมพิวเตอร์ปกติในการส่งค่าอ่านค่าและควบคุมลอจิกอยู่ดี
อ้าว ก็ไม่ได้ต่างกันมากทำไมทั้งโลกให้ความสนใจกันล่ะ? เพราะความแตกต่างของ qubit กับ bit ทำให้ในอนาคตเราอาจจะมีควอนตัมคอมพิวเตอร์ที่คำนวนได้เร็วกว่าแสง (แต่ตอนนี้ยังไม่มี) หรืออัลกอริทึ่มใหม่ๆที่มีประสิทธิภาพและเร็วกว่า classic algorithm (แต่ตอนนี้ก็ยังไม่มีเหมือนกัน) แต่แนวเหล่าคิดนี้อาจจะเป็นไปได้ในอนาคต และที่สำคัญคือกลุ่ม business / military ยักษ์ใหญ่ของโลกก็ให้ความสนใจและให้ทุนศึกษาพัฒนา quantum computer เพราะมันจะมีประโยชน์มากในอนาคต
ดังนั้นถ้าเราเริ่มศึกษา และเข้าใจ concept ของ quantum computing เมื่อถึงเวลาที่ computer scientist สามารถคำนวนและควบคุม noise หรือสามารถสร้าง quantum computer ที่มีเป็นร้อย qubit สำเร็จได้ (คงเร็วเวอร์) เราในฐานะ computer scientist
หรือ programmer ก็พร้อมที่จะลุยได้เลย
*edit เพิ่ม*
ใครที่สนใจเรื่อง noise สามารถอ่านได้เพิ่มเติมจาก: Noise and Quantum Computation
http://docs.rigetti.com/en/stable/noise.html
ใครที่อยากลองเล่น quantum computing ดู ไพธอนมี tools ชื่อ QuTip
http://qutip.org/tutorials.html
หรือจะส่ง command เข้าตัวเครื่อง quantum ibm ผ่านทาง could system ของ ibm ก็ได้ที่ลิ้งนี้
https://www.research.ibm.com/ibm-q/
quantum computing ibm 在 Bryan Wee Youtube 的評價
quantum computing ibm 在 Travel Thirsty Youtube 的評價
quantum computing ibm 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube 的評價
quantum computing ibm 在 IBM claims advance in quantum computing - BBC News 的相關結果
IBM has unveiled an advanced "quantum" processor that is part of an effort to build super-fast computers. These machines could revolutionise ... ... <看更多>
quantum computing ibm 在 IBM creates largest ever superconducting quantum computer 的相關結果
IBM has made a 127-qubit quantum computer. This is over double the size of comparable machines made by Google and the University of Science ... ... <看更多>
quantum computing ibm 在 Quantum Computing | IBM 的相關結果
IBM's full-stack approach delivers the best of IBM's quantum computing systems together with the most complete suite of quantum software tools and cloud ... ... <看更多>