【我對Greta獲選為時代雜誌風雲人物的想法】
https://twitter.com/gretathunberg/status/1206159412571889664?s=21
瑞典環保少女通貝里(Greta Thunberg)獲選2019年美國《時代》雜誌風雲人物,成為《時代》以來最年輕的當選者。她以「周五為未來而戰」運動(Fridays for Future),吸引全球數百萬人對抗氣候暖化問題,所代表的正是全球年輕社運一代的化身,影響及感動各地年輕抗爭者,而我便是其中一員。
猶記得通貝里說過:「我們不能猶如沒有明天地活著,因為明天是存在的。」我們與通貝里這一代,正正見證這個未來的出現,而我們亦有責任將之塑造成理想的明天。當世人為年青人站出來對抗氣候變化和獨裁威脅而驚歎歡呼時,這些呼聲實質地化作對各地抗爭運動的支持。在這場為理想明天的戰鬥中,無人是孤島,只要我們仍然活在世上,在戰場站着的,不會只是年輕人或一些人物,而是任何人。
無私,為着偉大的事情而努力,為全球人類探索可能性,在歐洲帶領整場對抗氣候變化運動,願意為基本人權付上自己的前程及生命,這些都是抗爭者贏得尊重的特質。這不止是通貝里,而是在各地為理想、為自由、為人權而奮鬥的人,他們啟發更多人為着信念從沒退後,因為改變需要匯聚眾人之志、齊上齊落去達成。
氣候變化和香港民主運動貌似兩回事,卻有不少共同之處:兩者不能單靠一個地方的努力便能解決,需要世界關注及努力,而且中國在兩大議題上負有無可推卸的責任,但同樣地,中國對兩大問題的回應相當相似,便是拒絕兌現當時許下的承諾。
眾所周知,中國是全球最大溫室氣體排放國,有科學家指出,一旦全球平均氣溫升逾攝氏2度,全球暖化有機會無法逆轉,已有研究指出,若要避免這個最壞情況發生,必須要求中國大幅減少排放溫室氣體。現時中國每年二氧化碳排放量超過120億噸,佔全球排放總量超過三成。在2018至2019年,中國排放量呈上升趨勢,這與中國在《哥本哈根協議》和《巴黎協定》中所作的承諾背道而馳。每當中國被問到這個問題時,便以「中國是發展中國家,經濟急需發展」開脫,充份顯示中國沒有兌現自己向國際社會所許下的承諾。
中國在1984年與英國簽訂《中英聯合聲明》,並承諾在香港實現「一國兩制」和普選,而《聯合聲明》是受規管國家之間協議的《維也納條約法公約》所規限。然而,中國現在顯然拒絕履行承諾,更嚴重的是,中國近年單方面宣稱《聯合聲明》已經失效,指其已經是一份歷史文件,不具實際意義。
以上兩個例子皆證明中國並不可信,只會為求目的、無視所有應當遵守的規例而行事。這個問題不可能只靠年青人去解決,正如單靠Greta和罷課參與者,無法向違反減排承諾的中國問責;單靠香港年青人,亦無法向違反《聯合聲明》的中國問責。各國領導及人民必須團結一致,才能迫使中國遵守他應當遵守的遊戲規則。
=========================
This week, Greta Thunberg was named Person of the Year by the TIME magazine. She is a Swedish Schoolgirl that inspired the “Friday for Future” campaign against climate change. Greta is regarded as the figure of the power of the youth, and inspired many, including me.
I applaud for her statement “We can’t just continue living as if there was no tomorrow, because there is a tomorrow.” There is a future where Greta and I will live long enough to see, and we are responsible to shape it into a desirable one. When the world cheer and appalled for the youth standing up against threats of climate change or dictatorship, we actually all play a role in the fights. No man is an island. We are all living here today, and we will be living here tomorrow as well. It is not only up to the youngsters or the figures to fight for a better future.
Some people are respectable because they indeed did something great and conquered the limitations of humanity— being selfless, leading an Europe-wide climate change campaign, sacrificing their future and even their lived for the sake of fundamental human rights. These figures hope to encourage more people to do the same to really address the issues. It is not up to a few people to resolve problems that requires collective effort.
Climate Change and the fight for democracy in Hong Kong share some similarities. Both of them cannot be resolved simply by the handwork of one place, and China has to be held responsible for both issues, and China’s response to them appears to be similar as well.
Greenhouse gas emissions by China are the largest in the world. It is found by scientific research that global warming cannot be kept below 2 °C unless the emission of greenhouse gas in China falls sharply. China emitted over 12 gigatonnes CO2eq of greenhouse gases and makes up almost 30% of the world total. And in 2018-2019, the emissions shows an increasing trend, contrary to the promise China made in the Copenhagen Accord and Paris Agreement. However, when China were asked publicly about this, its response is simply “China is a developing countries and it is in desperate needs of economic development”. This clearly shows China does not take the pledge it made in the global arena as promises it has to fulfil.
China made a Joint-Declaration together with Britain before the Handover of Hong Kong to promised “One Country, Two System” and universal suffrage for Hong Kong in 1984. The Joint-Declaration is bounded Vienna Convention on the Law of Treaties, which is an international agreement governing treaties between states. Now it is clear that China is unwilling to keep its promise, and worse still, China has recently declared the Joint-Declaration to be invalid on its own. The Joint-Declaration was a historical document that no longer had any practical significance, China said.
The two examples illustrate that China is never trustworthy and do not take any rules into consideration. It will simply do anything it wants, no matter what are the norms and regulations that it should follow. It takes more than just the youth to address the problem. Greta and the participants of the strike alone can never hold China responsible for breaking its promise. Hong Kong’s youth along can never hold China responsible for violating international treaties. The world has to stand in solidarity to be able to achieve results and forces China to comply to the norms that all players in the world ought to.
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過62萬的網紅Bryan Wee,也在其Youtube影片中提到,...
「paris agreement china」的推薦目錄:
- 關於paris agreement china 在 黃之鋒 Joshua Wong Facebook
- 關於paris agreement china 在 ลงทุนแมน Facebook
- 關於paris agreement china 在 文茜的世界周報 Sisy's World News Facebook
- 關於paris agreement china 在 Bryan Wee Youtube
- 關於paris agreement china 在 Travel Thirsty Youtube
- 關於paris agreement china 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube
- 關於paris agreement china 在 How The U.S. Fell Behind China In The Fight Against Climate ... 的評價
paris agreement china 在 ลงทุนแมน Facebook 八卦
ใครจะได้ประโยชน์ ในโลกยุค Sustainability
ประเด็นเรื่องความยั่งยืนของโลก ทั้งในด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ได้รับการถูกกล่าวถึงมายาวนาน
แต่ทำไมผู้คนจึงพูดถึงเรื่องนี้กันมากขึ้น ในช่วง 2-3 ปี ที่ผ่านมา
นั่นก็เพราะผลกระทบจากปัญหาเหล่านี้ กำลังเป็นเรื่องใหญ่ที่ยากจะมานั่งใจเย็นได้
อย่างเช่นปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change)
หากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ยังถูกปล่อยในอัตราเดิม จนถึงปี 2100
เศรษฐกิจโลกจะเกิดความเสียหายสูงกว่า 550 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ
นานาประเทศจึงได้ร่วมกันตั้งเป้าหมายในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์
หรือที่เรียกว่า Net-Zero Greenhouse Gas Emission
อาทิ
- ระดับโลก ภายใต้ Paris Climate Agreement
- ฝั่งเอเชีย อย่างจีน ที่ตั้งเป้าปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ ภายในปี 2060
- ฝั่งสหรัฐอเมริกา ภายใต้รัฐบาลโจ ไบเดน ตั้งงบลงทุน 1.7 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ภายใต้ Climate and Environmental Justice Proposal
“ความยั่งยืน” ไม่เพียงเป็นนโยบายระดับประเทศ
แต่ยังเป็นเรื่องสำคัญอันดับต้น ๆ ในโลกธุรกิจ
เมื่อผู้บริโภคตื่นตัวกันมากขึ้น ทั้งในเรื่องสิ่งแวดล้อม และความเท่าเทียมทางสังคม
และพร้อมที่จะเลิกสนับสนุนธุรกิจที่ไม่มีความรับผิดชอบ
เช่น การแบนสินค้าที่มีกระบวนการผลิตละเมิดสิทธิมนุษยชน
โจทย์สำคัญในยุคนี้ของโลกธุรกิจ..
ก็คือ ทำอย่างไรให้ธุรกิจเติบโต โดยไม่ส่งผลทำลายโลกและสังคม เพื่อสร้างความยั่งยืนในอนาคต
ความท้าทายนี้ สำคัญต่อการอยู่รอด หรือการเป็นผู้ชนะ ของโลกธุรกิจเลยทีเดียว
แล้วเรื่องนี้สำคัญต่อการลงทุนของเราอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง..
ผลจากการตระหนักถึงความสำคัญของความยั่งยืน กำลังก่อให้เกิดแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ ๆ
ที่เป็นมิตรต่อโลกและสังคม เรียกว่า CLIC Economy
Lombard Odier องค์กรไพรเวทแบงกิ้งระดับโลก
คาดการณ์ว่า CLIC Economy จะส่งผลต่อทุกอุตสาหกรรม
และจะเกิดเม็ดเงินลงทุนหมุนเวียนกว่า 5.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐต่อปีเลยทีเดียว
โดย CLIC Economy ที่ว่านี้ จะประกอบไปด้วย
C (Circular) คือ การใช้ทรัพยากรหมุนเวียน
L (Lean) คือ การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
I (Inclusive) คือ การสร้างความเท่าเทียมด้านเศรษฐกิจและสังคม
C (Clean) คือ การดำเนินการที่ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม
พูดง่าย ๆ ว่าแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ว่านี้
กำลังผลักดันธุรกิจให้กลายเป็น “ธุรกิจแห่งความยั่งยืน” นั่นเอง
หลายคนอาจสงสัยว่า..
แล้วธุรกิจเทคโนโลยีที่กำลังเติบโตอย่างก้าวกระโดด
จะปรับตัวมาเป็น “ธุรกิจแห่งความยั่งยืน” ได้อย่างไร ?
รู้หรือไม่ว่า หนึ่งในเป้าหมายสำคัญของ Apple คือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่มาจากวัสดุรีไซเคิล 100%
รวมทั้งการใช้พลังงานสะอาดในกระบวนการผลิตทั้งหมด ภายในปี 2030
เช่นเดียวกัน TSMC ผู้ผลิตเซมิคอนดักเตอร์ระดับโลก ที่มีเป้าหมาย Positive Impact ต่อโลกให้มากที่สุด เช่น ลดของเสียในกระบวนการผลิตและลดมลพิษทางอากาศ
สะท้อนได้ว่า “เทรนด์ Sustainability” ไม่ใช่แค่เรื่อง CSR
แต่กำลังเป็น “หนึ่งเป้าหมายหลัก” ในโลกธุรกิจ เพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนในระยะยาว
ธุรกิจที่ปรับตัวก่อน ย่อมอยู่รอด และก้าวขึ้นไปสู่ชัยชนะในโลกธุรกิจ
ส่วนธุรกิจที่มองข้ามความสำคัญนี้ อาจไม่ได้รับการยอมรับจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งภาครัฐ พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า และนักลงทุน จนต้องล้มหายตายจากไปในอนาคต
ทีนี้น่าจะมองออกแล้วว่า..
ธุรกิจที่กำลังเติบโต และกำลังสร้างความยั่งยืน ด้วยการเป็น “ธุรกิจแห่งความยั่งยืน”
ก็คือโอกาสสำคัญในการลงทุน ที่จะสร้างผลตอบแทนที่ดีในระยะยาว หรือที่เรียกว่า Long Term Growth นั่นเอง
จึงไม่แปลกใจ หากปัจจุบันนี้จะมีรูปแบบการลงทุน Sustainable Investing เกิดขึ้นมากมาย
คำถามคือ แล้วเราจะเลือกลงทุนในธีม Sustainability อย่างไรดี ?
หนึ่งในผู้นำด้าน Sustainable Investing
ก็คือ KBank Private Banking ซึ่งเป็นไพรเวทแบงก์รายแรกในประเทศไทยที่ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้อย่างจริงจัง
และยังมีพันธมิตรเป็นผู้ให้บริการไพรเวทแบงกิ้งระดับโลก
อย่าง Lombard Odier ผู้มีประสบการณ์กว่า 225 ปี
มองว่า จุดเด่นของ Sustainable Investing
คือ การลงทุนระยะยาว ที่จะสร้างความมั่งคั่งแบบ Smooth และ Sustainable
ไปพร้อมกับความยั่งยืนของโลก
ธีมการลงทุนนี้ จึงอาจจะไม่เหมาะสำหรับนักลงทุนลักษณะ Momentum Play
ที่เน้นเล่นรอบระยะสั้น แบบจับจังหวะราคาขึ้นลง
ภายใต้ตัวเลือก Sustainable Investing ที่มีอยู่มากมาย
สิ่งที่นักลงทุนต้องพิจารณา คือ การพยายามมองหากองทุนหลักต่างประเทศที่มีองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และลงมือทำจริง
โดยเข้าไปพิจารณาถึงเนื้อในของการทำงานกองทุนนั้น ๆ
ด้วยเหตุนี้ ผู้เชี่ยวชาญที่จะทำหน้าที่แนะนำการลงทุน ทั้งในเรื่องการดำเนินการของธุรกิจตามเป้าหมายและระดับราคาที่เหมาะสม จึงกลายเป็นสิ่งที่จำเป็นนั่นเอง
ตัวอย่างกองทุนรวมประเภท Feeder Fund ที่ KBank Private Banking แนะนำแก่ลูกค้า
ในธีมการลงทุน Sustainable Investment ที่น่าสนใจ
คือ กองทุน K-CLIMATE และ กองทุน K-CHANGE
แล้วกองทุน K-CLIMATE น่าสนใจอย่างไร ?
กองทุน K-CLIMATE มีจุดเด่นที่น่าสนใจ
คือ การลงทุนในธุรกิจที่สามารถเติบโต มีศักยภาพในการแข่งขันระยะยาว
พร้อมมีส่วนร่วมในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
รวมทั้งธุรกิจที่ปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change)
ธุรกิจกลุ่มนี้ ถือเป็นกลุ่มที่จะได้ประโยชน์โดยตรงจาก Paris Agreement
ตัวอย่างธุรกิจที่เข้าไปลงทุน เช่น
-Vetas Wind System ผู้นำด้านการพัฒนากังหันลมเพื่อผลิตไฟฟ้าที่สามารถผลิตได้สูงถึง 130 กิกะวัตต์ ใน 82 ประเทศทั่วโลก มีส่วนแบ่งตลาด 20% และมีบริการยาวนานถึง 19 ปี
-Delta Airlines บริษัทสายการบินใหญ่ที่สุดในโลกที่พยายามลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยแผนการลงทุน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐในอีก 10 ปี ข้างหน้า
โดยปัจจุบัน กองทุน K-CLIMATE มีผลการดำเนินงานตั้งแต่จัดตั้งกองทุนต่อปี 17.99% ใกล้เคียงดัชนีอ้างอิงที่ 19.25% ต่อปี (ณ 1 เมษายน 2564)
แล้วกองทุน K-CHANGE น่าสนใจอย่างไร ?
กองทุน K-CHANGE มีจุดเด่นที่น่าสนใจ
คือ การลงทุนในบริษัทที่มีอัตราการเติบโตของกำไรสูงพร้อมทั้งสร้างผลกระทบเชิงบวก และช่วยให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืนใน 4 ด้านหลัก ได้แก่ โอกาสทางสังคมและการศึกษา การดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิต ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส
โดยมีเกณฑ์พิจารณาคัดเลือกบริษัทที่จะลงทุน
ที่สามารถวัดผลการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเป็นรูปธรรม
เช่น ทุกการลงทุน 15 ล้านบาทในปี 2019
- จะช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ 124 ตัน
- จะช่วยประหยัดน้ำดื่มได้ 2.9 แสนลิตร
ตัวอย่างธุรกิจที่เข้าไปลงทุน เช่น
- ธุรกิจเทคโนโลยีที่มีกระบวนการผลิตเป็นมิตรต่อโลก เช่น Tesla และ TSMC
- ธุรกิจส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการวิจัยด้านยารักษาโรค เช่น Moderna และ M3
ที่น่าสนใจคือ K-CHANGE ลงทุนใน Moderna ตั้งแต่ก่อนการแพร่ระบาดของโควิด-19
เพราะเป็นธุรกิจเทคโนโลยีสุขภาพในเมกะเทรนด์ ที่สามารถสร้างความยั่งยืนให้แก่โลกได้
โดยกองทุน K-CHANGE มีผลการดำเนินงานตั้งแต่จัดตั้งกองทุนต่อปีที่ 47.46%
ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงกว่าดัชนีอ้างอิงต่อปีที่ 17.29% (ณ 7 เมษายน 2564)
พูดง่าย ๆ ว่ากองทุน K-CLIMATE และ กองทุน K-CHANGE
เป็นหนึ่งช่องทางสร้าง Long Term Capital Growth
หรือผลตอบแทนที่ดีในระยะยาวได้นั่นเอง
มาถึงตรงนี้ จะเห็นได้ว่า..
เทรนด์ “Sustainability” ไม่ใช่แค่เรื่องของนโยบายระดับประเทศ
แต่ยังเป็นโอกาสสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนให้กับโลกธุรกิจ
แม้วันนี้.. หลาย ๆ อย่างจะยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น
แต่การมีเป้าหมายที่ชัดเจน แม้จะใช้ระยะเวลานาน ก็มั่นใจได้ว่า การเดินทางครั้งนี้ จะไม่หลงทาง
เช่นเดียวกับการเลือกลงทุนกับองค์กรมืออาชีพที่ช่วยดูแลการลงทุน ให้เติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืนด้วย “ธุรกิจแห่งความยั่งยืน”
และยังเป็นเทรนด์การลงทุนที่จะสร้าง “ผลตอบแทนระยะยาว” ให้แก่นักลงทุน และ “ความยั่งยืน” ให้แก่โลกไปพร้อมกันนั่นเอง..
สำหรับผู้ที่สนใจลงทุนในธีม Sustainability สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
https://www.kasikornbank.com/th/personal/private-banking/vdo-covid/Pages/KPB-Perspective-EP2.aspx และ https://www.kasikornbank.com/th/personal/private-banking/vdo-covid/Pages/KPB-Perspective-EP3.aspx
ข้อมูลสำคัญสำหรับการลงทุน
- K-CLIMATE ระดับความเสี่ยงกองทุน : ระดับ 6 / ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน : การป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนตามดุลยพินิจ
- K-CHANGE ระดับความเสี่ยงกองทุน : ระดับ 6 / ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน : การป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนบางส่วน
- โปรดทำความเข้าใจลักษณะสินค้า/เงื่อนไขผลตอบแทน/ความเสี่ยง ก่อนตัดสินใจลงทุน
- ผู้ลงทุนควรขอคำแนะนำเพิ่มเติมจากผู้ประกอบธุรกิจก่อนตัดสินใจลงทุน
References
-https://joebiden.com/climate-plan/
-https://www.bloomberg.com/news/articles/2021-03-05/china-s-new-green-target-still-means-pumping-too-much-pollution
-https://ec.europa.eu/info/strategy/priorities-2019-2024/european-green-deal_en#timeline
-https://greennews.agency/?p=22111
-https://www.lombardodier.com/clic
-https://www.apple.com/environment/
-https://csr.tsmc.com/csr/en/CSR/valueCreation.html
-https://kasikornasset.com/th/mutual-fund/fund-template/Pages/K-CHANGE-A(A).aspx
-https://www.kasikornasset.com/th/mutual-fund/fund-template/Pages/K-CLIMATE.aspx
paris agreement china 在 文茜的世界周報 Sisy's World News Facebook 八卦
1105紐約時報
* 【美國發出退出巴黎氣候協議的通知】
川普政府正式啟動退出巴黎協議議程,全球外交官尋求應對方案,準備為沒有美國合作的未來做出計畫。而要使這份氣候協定繼續生效,需要中國和印度等其他主要污染國採取行動。
https://www.nytimes.com/…/trump-paris-agreement-climate.html
* 【調查川普稅收,上訴法院裁定總統必須交出8年以上的納稅申報表】
川普掩蓋財務記錄受挫,聯邦上訴委員會表示,川普的會計師事務必須將他過去8年間個人和公司的納稅申報表交給曼哈頓檢察官。川普的私人律師表示,總統將向最高法院上訴。
https://www.nytimes.com/…/nyr…/trump-taxes-vance-appeal.html
* 【前烏克蘭特使作證說,她感到受到川普的威脅】
眾議院首次公開閉門聽證會筆錄,包括前美國駐烏克蘭大使Marie L. Yovanovitch的證詞。眾議院週一發布了數百頁的證詞,這只是一個細節,Marie L. Yovanovitch於五月突然被召回,而高級外交官Michael McKinley因國務卿蓬佩奧建議退休。
https://www.nytimes.com/…/john-eisenberg-trump-impeachment.…
* 【民調顯示,目前川普落後拜登,但在主要幾州的戰場上領先華倫】
紐約時報和Siena College一系列最新調查顯示,儘管眾議院進行川普彈劾事宜,但川普總統在最有可能決定連任的主要幾個州中,仍具有很高的競爭力。有跡象表明,自2016年以來,總統在選舉團中的優勢一直存在,甚至有所增強。
https://www.nytimes.com/…/ups…/trump-biden-warren-polls.html
* 【習近平上海會見林鄭月娥,對其工作“充分肯定” 】
據報導,林鄭月娥向習近平介紹了香港的事態發展;習近平則表示,“中央對你是高度信任的”,同時提醒林鄭,北京支持對抗議活動採取嚴厲措施。
https://www.nytimes.com/…/…/asia/china-xi-lam-hong-kong.html
* 【香港抗議者求助於美國,中國嗅到了陰謀的味道】
抗議者把美國視為民主的象徵,希望川普政府向北京施壓。但對華盛頓而言,如何介入是一個潛在的政策困境,北京可能以美國的干預為由傳播“幕後黑手“等陰謀論
https://cn.nytimes.com/…/hong-kong-protesters-call-for-us-…/
* 【為打擊剽竊生物醫學領域智慧財產權情形,美國調查華裔科學家】
近200起調查幾乎均涉華裔科學家,這一拉網式審查加劇了人們對中國利用美國科學體系的相對開放性從事間諜活動的擔憂。但批評人士擔心,華裔科學家正在受到不公平對待。
https://www.nytimes.com/…/…/health/china-nih-scientists.html
* 【英國卡車慘案追蹤,越南拘捕八名涉案嫌疑人】
另有兩人在上週五被捕,越南官員誓言要“打擊和剷除這些將非法移民帶到英國的團夥”。調查人員仍在確認39名受害者的死因和身份。
https://www.nytimes.com/…/asia/vietnam-arrests-truck-deaths…
* 【臭氧“殺手”氣體排放量顯著下降】
這種被禁的溫室氣體名為一氟三氯甲烷(CFC-11),中國曾被認為是主要排放源。科學家公佈的初步資料顯示,中國在打擊非法生產CFC-11方面取得了進展。
https://www.nytimes.com/2019/11/04/climate/china-cfcs.html
* 【伊朗加強核活動】
伊朗表示,已開始運行數量可觀的新型先進離心機。這是伊朗政府六個月來第三次對西方施加壓力,以回應川普總統退出核協議、重新對伊朗實施制裁的決定。此舉將使該國更接近有能力製造核彈。
https://www.nytimes.com/…/iran-nuclear-centrifuges-uranium.…
paris agreement china 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube 的評價
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/IvDTkTKi5pA/hqdefault.jpg)
paris agreement china 在 How The U.S. Fell Behind China In The Fight Against Climate ... 的八卦
... <看更多>