The Kichwa people’s lawsuit over Ecuador’s biggest oil spill in a decade is headed to the country’s highest court!
Indigenous communities’ tireless fight for #JusticeForTheAmazon now hits the steps of Ecuador’s Constitutional (Supreme) Court with an opportunity to set a national precedent and reverse the lower courts’ ruling that reinforced a decades-long legacy of impunity for Ecuador’s oil industry to pollute the Amazon without consequence, and more importantly without remediating the region’s fragile ecosystems or repairing the damage done to Indigenous communities.
In a time of climate crisis, accelerating biodiversity and species loss, and growing unrest due to environmental racism and systemic discrimination against Indigenous people and People of Color, Corte Constitucional del Ecuador has a tremendous opportunity to set an example in Ecuador and worldwide. What happens in the Amazon matters everywhere, and the world will be watching for the outcome of this case.
They need your help. Sign this letter to the Court to ensure the judges hear our global call for justice and the #RightsofNature:
http://bitly.com/JusticeForAmazon
Comunicacion Confeniae
Conaie Comunicación
COICA Coordinadora de las Organizaciones Indígenas de la Cuenca Amazónica
Amazon Frontlines
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過16萬的網紅夠維根Go Vegan,也在其Youtube影片中提到,魚兒魚兒水中游,但世界上的魚兒在在2050年就要浩劫啦 有關吃魚相關的營養迷思以及對生態帶來的巨大影響 讓我們來一一破解吧! FB粉絲專頁:https://www.facebook.com/GoVeganTW 提倡一種新的生活態度,透過動畫宣導"動物權利"! 吃魚好處多?只會加速海產消失!(台灣...
「loss of biodiversity」的推薦目錄:
loss of biodiversity 在 Leonardo DiCaprio Facebook 八卦
Officials have issued a warning of "catastrophic fire danger" as firefighters battle over 60 blazes raging across the Australian state of New South Wales, which has caused the tragic loss of lives and livelihoods. There have already been significant harmful impacts to wildlife, with entire ecosystems up in smoke and individual species affected, including around 350 Koalas presumed dead – all before the fires reach their peak.
Our hearts go out to the victims of the current fires, which we know have been exacerbated by the decline of native biodiversity. Australia has the worst mammal extinction rate on Earth, and the country is amongst the worst 7 countries worldwide for biodiversity loss. Australian conservation efforts need a radical overhaul. Mitigating the intensity of these fires, mostly set by humans and their activities, can be achieved by restoring our native ecosystem engineers, such as bandicoots, bettongs and potoroos.
These species help to maintain healthy forests by continually turning over and breaking down forest leaf litter, thereby drastically reducing fuel load. In their absence, fires are more intense, often reaching the treetops, which can affect populations of species already on the brink, like the Koala.
Slow growing and ancient Australian East coast temperate forests are of global significance, as these forests have some of the highest carbon storage on the planet. Fires of this intensity threaten their very existence but managing wildlife to reduce fire intensity and protect forests is under-appreciated for its importance in reducing the release of carbon into the atmosphere.
Aussie Ark works with Australia’s most threatened and imperilled wildlife, several of which are extinct on the mainland. Native wildlife conservation sanctuaries provide refuge, as well as source populations for rewilding and restoring Australia’s native ecosystems.
Our sincere well wishes go out to all those affected by these devastating fires. If you encounter any injured wildlife, please contact your local animal authorities for rescue and rehabilitation.
For more:
www.aussieark.org.au
https://edition.cnn.com/…/au…/australia-fires-nsw/index.html
loss of biodiversity 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 八卦
"Food Traceability" กินอะไรก็ได้...ไม่ได้!
อาหารเรามาจากไหน สำคัญมากนะ
จะรู้ได้ยังไงว่า ปลา≠แรงงานทาส / ไก่≠ไฟป่า / ผัก≠ปะการังตาย ?
-------------------------------------
ยุคนี้เรามี Option ด้านของกินเยอะมาก เปิดAPPอะไรก็มีมาให้เลือกเต็มไปหมด แต่นอกจากอร่อยและถูกแล้ว เราก็ไม่ค่อยจะตัดสินใจด้วยตัวแปรอื่นๆมากนัก แต่จริงๆที่มาของอาหาร [Food Traceability] ควรเป็นอีกข้อมูลหนึ่งที่ผู้บริโภคควรจะเข้าถึงได้อย่างเสรี รวมถึงผู้ผลิตก็ควรจะมีหน้าที่รับผิดชอบให้ข้อมูลเหล่านี้
ทุกคนควรมีโอกาสตัดสินใจโดยคำนึงถึงทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอาหารที่เรากิน ทั้งเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กระบวนการผลิตที่ปลอดภัย ไปจนถึงเรื่องสิทธิและสวัสดิการของแรงงานที่อยู่ในกระบวนการผลิต ซึ่งในยุคที่ข้อมูลทุกอย่างเข้าถึงได้ง่ายขนาดนี้ เรื่องนี้ไม่น่าเป็นเรื่องเกินเอื้อม
และแน่นอนว่าถ้าเราในฐานะผู้บริโภคแคร์เรื่องนี้ พลังของพวกเราก็สามารถถูกส่งต่อผ่าน Supply Chain จากร้านอาหาร ไปสู่ผู้ขายส่ง ไปสู่ผู้ผลิตได้
-------------------------------------
ทำไมเรื่องนี้ถึงสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม ?
แน่นอนว่าเรื่องFood Traceability นี้ ชัดเจนสุดเลยก็คือเรื่องความปลอดภัยของผู้บริโภค แต่ถ้ามองในแง่สิ่งแวดล้อม ก็สำคัญไม่แพ้กันนะ
จริงๆแล้ว การผลิตอาหาร อาจจะเรียกได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่มีต้นทุนกับโลกเราเยอะที่สุดก็ว่าได้ [ https://ourworldindata.org/emissions-by-sector ] คือเป็นอันดับสองเรื่องการปล่อยคาร์บอน (อันดับหนึ่งคือการผลิตพลังงาน และยานพาหนะ) อันดับหนึ่งเรื่อง Land Use หรือการเปลี่ยนพื้นที่ป่าให้เป็นพื้นที่เพาะปลูก อันดับหนึ่งเรื่องการปล่อยสารเคมีลงท้องทะเล โดยเฉพาะพวกปุ๋ย
การที่ทั้งป่าหายและทะเลตาย ก็ส่งผลต่อไปอีกทำให้เกิดความสูญเสียทางชีวภาพ (Biodiversity Loss) นำไปสู่การเสื่อมถอยของระบบนิเวศโลก แล้วสุดท้ายก็วนกลับมากระทบความสามารถในการผลิตอาหารของมนุษย์ในที่สุด
เราจะรู้ได้ยังไงว่าปลาที่เรากิน ไม่ได้มาจากเรือประมงผิดกฏหมายที่จับปลาเกินกำหนดหรือว่ามีการใช้แรงงานทาส? เราจะรู้ได้ยังไงว่าไก่ที่เรากิน ไม่ได้กินข้าวโพดจากไร่ที่เผาซากพืชอย่างไม่มีการจัดการจนทำให้เกิดวิกฤติไฟป่า? เราจะรู้ได้ยังไง ว่าผักที่เรากิน ไม่ได้มาจากไร่ที่ปล่อยสารเคมีลงน้ำลงดินอย่างไม่มีการจัดการใดๆ จนสร้างความเสียหายให้แนวปะการังในทะเล?
การผลิตอาหาร เป็นโจทย์สำคัญมากๆในการนำประเทศ (หรือทั้งโลก) สู่การมุ่งสู่พัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งเราต้องการทั้งนวัตกรรมใหม่ๆในการผลิต ต้องการกฎหมายที่เข้มงวด และเครือข่ายข้อมูลที่เปิดเผยทุกอย่างและเข้าถึงได้ง่ายมากกว่านี้
-------------------------------------
การเข้าถึงข้อมูลได้ จะนำไปสู่การสร้างทางเลือกที่ดีขึ้น
ลองคิดภาพจินตนาการอนาคต ที่เราสามารถอยู่ในตึกกำแพงทุกด้านมีผักขึ้นสามารถซื้อกินได้ตรงนั้นเลย และสารเคมีทุกอย่างผ่านระบบบำบัดของตึกก่อนถูกปล่อยลงน้ำ หรือเนื้อที่มาจากการเพาะยีนของสัตว์ เนื้อที่ได้มาโดยไม่ต้องทำลายป่า ปลูกพืชไร่ หรือทรมานสัตว์เลย
ในแง่หนึ่ง เทคโนโลยีเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ ผู้บริโภคอย่างเราก็ต้องมีส่วนร่วมด้วย เราสามารถโหวตผ่านกระเป๋าตังค์เราได้ เลือกซื้ออาหารโดยพิจารณาทุกที่มาของวัตถุดิบก่อนซื้อ นี่จะทำให้ผู้ผลิตต้องปรับตัวตามไปด้วย
การที่เราแค่แสกน QR code ของอาหารทุกชนิด แล้วสามารถรู้ได้หมดเลยว่าผลิตจากทรัพยากรจากที่ไหนบ้าง ใช้วิธีการอะไรผลิตบ้าง สร้างผลกระทบอะไรต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมบ้าง จะนำไปสู่ความต้องการอาหารที่ผลิตอย่างยั่งยืนกว่าที่ทำอยู่นี้ และในที่สุด ตลาดก็จะตอบสนองกับความต้องการใหม่ๆของผู้บริโภค
-------------------------------------
ตัวอย่าง Food Traceability ในต่างประเทศ
ตั้งแต่ปี 2005 ใน EU เป็นกฏหมายเลยว่าผู้บริโภคต้องได้รู้ว่าอาหารมาจากไหน ทุกขั้นตอนของ supply chain ถูกบันทึกไว้หมด
Food traceability = ability to trace and follow food, feed, and ingredients through all stages of production, processing and distribution.
= ความสามารถในการตามอาหาร อาหารสัตว์ และส่วนประกอบของอาหาร ในทุกกระบวนการผลิต การะบวนการทำ และกระบวนการกระจายขนส่งอาหาร
[ https://ec.europa.eu/food/horizontal-topics/general-food-law/food-law-general-requirements_en ]
ซึ่งกฏนี้รวมไปถึงอาหารนำเข้า และกำหนดให้ธุรกิจต้องรู้ one step back-one step forward ว่าอาหารก่อนมาถึงเรามาจากไหน และจากของเราไปไหนต่อเสมอ และกรณีพบว่าอาหารไม่ปลอดภัย ผู้ผลิตต้องเรียกกลับโรงงานได้
-------------------------------------
แล้วเรื่องนี้จะเกิดขึ้นได้ยังไง
1. ผู้บริโภคเรียกร้องต้องการข้อมูลเหล่านี้ + เครือข่ายตัวแทนผู้บริโภคที่แข็งแรง
2. มีผู้นำธุรกิจเบอร์ใหญ่ๆ อาสาเป็นคนนำก่อน เปิดเผยทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง+ทำให้วิธีเข้าถึงข้อมูลเป็นเรื่องง่าย เป็นแรงจูงใจให้คนอื่นๆทำตาม
3. มีกฎหมายบังคับให้เปิดเผย มีองค์กรตรวจสอบที่ได้มาตรฐานในทุกขั้นตอนของการผลิต และมี platform ข้อมูลที่เข้าถึงได้ง่าย เข้าใจง่าย เพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้บริโภค ซึ่งประเทศที่เป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดของกระบวนการนี้ คือประเทศแถบยุโรป เช่น ออสเตรีย เบลเยี่ยม อิตาลี สวีเดน ฯลฯ ที่มีกฎหมายบังคับใช้เรื่องนี้อย่างชัดเจน
-------------------------------------
#กินอะไรก็ได้ไม่ได้
#ตรวจสอบย้อนกลับ
#รู้ความจริงในสิ่งที่กิน
loss of biodiversity 在 夠維根Go Vegan Youtube 的評價
魚兒魚兒水中游,但世界上的魚兒在在2050年就要浩劫啦
有關吃魚相關的營養迷思以及對生態帶來的巨大影響
讓我們來一一破解吧!
FB粉絲專頁:https://www.facebook.com/GoVeganTW
提倡一種新的生活態度,透過動畫宣導"動物權利"!
吃魚好處多?只會加速海產消失!(台灣素食營養學會撰寫):http://ppt.cc/DbXRE
特別感謝"台灣素食營養學會"贊助
臺灣素食營養學會官網:http://www.twvns.org/
------------------------------------------------------------------------------
【參考資料】
1. 海洋生物2050年面臨浩劫:Worm B, Barbier EB, Beaumont N, et al. Impacts of biodiversity loss on ocean ecosystem services. Science. Nov 3 2006;314(5800):787-790.
2. 愛斯基摩人的基因可以吃很多魚:Fumagalli M, Moltke I, Grarup N, Racimo F, Bjerregaard P, Jørgensen ME, Korneliussen TS, Gerbault P, Skotte L, Linneberg A, Christensen C, Brandslund I, Jørgensen T, Huerta-Sánchez E, Schmidt EB, Pedersen O, Hansen T, Albrechtsen A, Nielsen R. Greenlandic Inuit show genetic signatures of diet and climate adaptation. Science. 2015 Sep 18;349(6254):1343-7.
3. 臨床實驗魚油補充無效:Enns JE, Yeganeh A, Zarychanski R, Abou-Setta AM, Friesen C, Zahradka P,
Taylor CG. The impact of omega-3 polyunsaturated fatty acid supplementation on the incidence of cardiovascular events and complications in peripheral arterial disease: a systematic review and meta-analysis. BMC Cardiovasc Disord. 2014 May31;14:70.
Rizos EC, Ntzani EE, Bika E, Kostapanos MS, Elisaf MS. Association between omega-3 fatty acid supplementation and risk of major cardiovascular disease
events: a systematic review and meta-analysis. JAMA. 2012 Sep 12;308(10):1024-33.
4. 澳洲嬰兒DHA實驗:Makrides M, Gibson RA, McPhee AJ, Yelland L, Quinlivan J, Ryan P; DOMInO Investigative Team. Effect of DHA supplementation during pregnancy on maternal depression and neurodevelopment of young children: a randomized controlled trial. JAMA. 2010 Oct 20;304(15):1675-83.
5. 手術後傷口癒合所需營養素:Chow O, Barbul A. Immunonutrition: Role in Wound Healing and Tissue Regeneration. Adv Wound Care (New Rochelle). 2014 Jan 1;3(1):46-53. Review.
6. 吃魚增加糖尿病風險:Kaushik M, Mozaffarian D, Spiegelman D, Manson JE, Willett WC, Hu FB. Long-chain omega-3 fatty acids, fish intake, and the risk of type 2 diabetes mellitus. Am J Clin Nutr. 2009 Sep;90(3):613-20. Epub 2009 Jul 22.
Lee C, Liese A, Wagenknecht L, Lorenzo C, Haffner S, Hanley A. Fish consumption, insulin sensitivity and beta-cell function in the Insulin Resistance
Atherosclerosis Study (IRAS). Nutr Metab Cardiovasc Dis. 2013 Sep;23(9):829-35.
7. 戴奧辛、多氯聯苯症狀:WHO Fact Sheets / ToxFAQs: CABSTM/Chemical Agent Briefing Sheet / ToxFAQs™ for Polychlorinated Biphenyls (PCBs)
8. 水俁病: Harada M. 1995. Minamata disease: methylmercury poisoning in Japan caused by environmental pollution. Crit Rev Toxicol 25(1):1–24.

loss of biodiversity 在 Untangled: Biodiversity Loss - YouTube 的八卦
Untangled: Biodiversity Loss ... Everything on our planet - including us - is interconnected and interdependent, like a delicate set of bricks or ... ... <看更多>