เกาหลีใต้ ผู้ลงทุนรายใหญ่ ในประเทศเวียดนาม /โดย ลงทุนแมน
เศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องไปในอนาคต
นั่นจึงทำให้บริษัทและนักลงทุนจากต่างชาติ ต่างก็สนใจเข้าไปลงทุนในประเทศแห่งนี้
โดยเฉพาะการลงทุนสร้างโรงงาน เพื่อให้เวียดนามกลายเป็นฐานการผลิตหลัก อย่างเช่น รองเท้าของ Nike และสมาร์ตโฟนของ Samsung รวมถึงอีกหลายบริษัทที่กำลังย้ายฐานการผลิตไปที่เวียดนาม เช่น Apple และ Foxconn
แต่รู้หรือไม่ว่าประเทศเวียดนามที่เนื้อหอมในสายตาโลก ผู้ที่ทุ่มเงินลงทุนในประเทศแห่งนี้มากที่สุด คือประเทศ “เกาหลีใต้”
แล้วเกาหลีใต้เข้ามาลงทุนในเวียดนาม อย่างไรบ้าง ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
เงินลงทุนจากต่างชาติ ที่เข้ามาลงทุนโดยตรงในประเทศเวียดนามแบบสะสม (FDI Stock) จนถึงปี ค.ศ. 2019 มีสัดส่วนมากที่สุด 5 อันดับแรก ก็คือ
อันดับ 1 เกาหลีใต้ 18.7%
อันดับ 2 ญี่ปุ่น 16.3%
อันดับ 3 สิงคโปร์ 13.7%
อันดับ 4 ไต้หวัน 8.9%
อันดับ 5 สหภาพยุโรป 7.0%
สำหรับประเทศจีนอยู่ในอันดับ 8 มีสัดส่วน 4.5% ส่วนประเทศไทยอยู่ในอันดับ 10 มีสัดส่วน 3.0%
โดยเกาหลีใต้ คือประเทศที่ลงทุนโดยตรงในประเทศเวียดนามมากที่สุด โดยความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่าง 2 ประเทศนี้ เริ่มแน่นแฟ้นมากขึ้น จากจุดเปลี่ยนที่สำคัญในอดีต 2 ครั้ง
ปี ค.ศ. 2007 ประเทศเวียดนาม เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกหรือ WTO
ปี ค.ศ. 2015 ประเทศเวียดนามและเกาหลีใต้ ทำข้อตกลงการค้าเสรีหรือ FTA ที่ส่งผลให้ เกาหลีใต้ลดภาษีนำเข้าจากเวียดนามลง 95% และเวียดนามลดภาษีนำเข้าจากเกาหลีใต้ลง 89%
นอกจากสิทธิประโยชน์ทางภาษีแล้ว เรื่องโครงสร้างแรงงานในประเทศเวียดนาม ก็ถือเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ช่วยเติมเต็มสิ่งที่บริษัทเกาหลีใต้ต้องการ
ทั้งเรื่องอายุของคนวัยทำงาน ที่โดยเฉลี่ยอยู่ในช่วงอายุ 30 ปี ต่างจากหลายประเทศ โดยเฉพาะในเกาหลีใต้เอง ที่คนวัยทำงานโดยเฉลี่ยอยู่ในช่วงอายุ 40 ปี
รวมถึงปัจจัยด้านค่าจ้างโดยเฉลี่ย ที่นอกจากค่าจ้างแรงงานในเวียดนามจะคิดเป็นเพียง 1 ใน 8 ของค่าจ้างในเกาหลีใต้แล้ว งานที่ใช้ทักษะสูงขึ้นก็มีค่าจ้างที่ต่ำกว่าอย่างมีนัย เช่นกัน
ยกตัวอย่างเช่น ตำแหน่งวิศวกร ที่ค่าจ้างในเวียดนามคิดเป็น 1 ใน 5 ของค่าจ้างในเกาหลีใต้
หรือแม้แต่ตำแหน่งผู้จัดการ ที่ค่าจ้างในเวียดนามคิดเป็น 1 ใน 3 ของค่าจ้างในเกาหลีใต้
อีกปัจจัยสำคัญก็คือ สงครามการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน เพราะประเทศที่เกาหลีใต้ส่งออกไปมากที่สุดตามลำดับก็คือ จีน สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม
แต่เมื่อจีนและสหรัฐอเมริกากีดกันทางการค้ากันมากขึ้น จึงช่วยเร่งให้เกาหลีใต้ตัดสินใจย้ายฐานการผลิตจากจีนมาที่เวียดนามเร็วขึ้น
แล้วเกาหลีใต้ เข้ามาลงทุนอะไรในเวียดนามบ้าง ?
หลัก ๆ แล้ว กว่า 70% ของการเข้ามาลงทุนในเวียดนามทั้งหมด บริษัทเกาหลีใต้จะเข้ามาสร้าง “โรงงานผลิต” เพื่อหวังเป็นฐานการผลิตหลัก และผู้ลงทุนที่ทรงพลังมากที่สุดก็คือ Samsung
Samsung เริ่มเข้าไปสร้างโรงงานที่เวียดนามในปี ค.ศ. 2008 และเริ่มผลิตโทรศัพท์มือถือเพื่อส่งออกในปีถัดมา ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ Samsung มีโรงงานผลิตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ปัจจุบัน Samsung มีโรงงานในเวียดนามสำหรับผลิตสมาร์ตโฟน 2 แห่งและโรงงานผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน 1 แห่ง
โดยสมาร์ตโฟน Samsung ที่ส่งออกทั่วโลกมากกว่าครึ่งหนึ่ง ผลิตที่เวียดนาม โดยสินค้าจาก Samsung คิดเป็น 1 ใน 5 ของการส่งออกทั้งหมดของเวียดนาม ซึ่งก็เรียกได้ว่าประเทศเวียดนามถือเป็นฐานการผลิตสำคัญของบริษัทไปแล้ว นั่นเอง
นอกจากนี้ สิ่งที่รัฐบาลเวียดนามพยายามทำมาสักพักแล้วก็คือ โน้มน้าวให้ Samsung มาตั้งโรงงานเซมิคอนดักเตอร์ผลิตชิปในประเทศด้วย
เมื่อบริษัทที่ใหญ่สุดในเกาหลีใต้อย่าง Samsung เลือกประเทศเวียดนาม จึงทำให้บริษัทอื่นก็ขยับตาม
เริ่มจากคู่แข่งอย่าง LG ที่เริ่มสร้างโรงงานผลิตที่เวียดนามในปี ค.ศ. 2014 ก่อนที่จะสร้างโรงงานแห่งที่ 2 ตามมา เพื่อเป็นฐานการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านและชิ้นส่วนรถยนต์ ที่เป็นจอแสดงผลและระบบสร้างความบันเทิง
แต่นอกจากประเทศเวียดนามจะได้เปรียบในเรื่องค่าแรงที่ถูกกว่าเกาหลีใต้แล้ว บุคลากรในตลาดแรงงานของเวียดนามยังมีระดับการศึกษาโดยเฉลี่ยที่สูงกว่าประเทศอาเซียนอื่นที่มีระดับค่าจ้างพอ ๆ กัน อย่างเช่น ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และลาว
นั่นจึงทำให้บริษัทจากเกาหลีใต้ ไม่เพียงสร้างโรงงานการผลิตเท่านั้น แต่ยังลงทุนสร้าง “ศูนย์วิจัยและพัฒนา” หรือ R&D Center ที่ประเทศเวียดนามด้วย
อย่าง Samsung ได้ลงทุนสร้างศูนย์วิจัยและพัฒนาที่เมืองฮานอย ซึ่งตั้งใจว่าจะเป็นหนึ่งในศูนย์หลักของ Samsung ที่ใช้วิจัยและพัฒนาสมาร์ตโฟน รวมถึงนวัตกรรมด้านอื่น โดยคาดว่าจะเปิดในปี ค.ศ. 2022 และจะจ้างวิศวกรท้องถิ่นราว 3,000 คน
ด้าน LG ก็มีศูนย์วิจัยและพัฒนาที่ฮานอยแล้ว และกำลังสร้างอีกศูนย์เพิ่มที่เมืองดานัง โดยเน้นวิจัยด้านชิ้นส่วนรถยนต์เป็นหลัก
ศูนย์วิจัยและพัฒนาเหล่านี้ ทำให้ประเทศเวียดนามไม่ได้เป็นเพียงแค่ฐานการผลิตเพื่อส่งออกเท่านั้น แต่จะทำให้ประเทศเวียดนามมีโอกาสสูงที่จะได้เรียนรู้และถูกถ่ายโอนเทคโนโลยีมาด้วย
และนอกจากการลงทุนไปกับการสร้างโรงงานผลิตหรือศูนย์วิจัยแล้ว บริษัทเกาหลีใต้ยังสนใจลงทุนในเวียดนามผ่านการเป็น “ผู้ถือหุ้น” ในกิจการท้องถิ่นด้วย
อย่างเมื่อปี ค.ศ. 2019 บริษัท Samsung SDS ได้เข้าไปถือหุ้น 30% ในบริษัท CMC ซึ่งเป็นบริษัท IT ที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ในเวียดนาม
แต่บริษัทที่ทุ่มเงินลงทุนในบริษัทเวียดนามมากที่สุดก็คือ SK กลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ของเกาหลีใต้
ที่เป็นรองแค่ Samsung และ Hyundai ยกตัวอย่างเช่น
ปี ค.ศ. 2018 SK เข้าไปถือหุ้น 9.5% ใน Masan Group กลุ่มบริษัทด้านอาหารขนาดใหญ่
ปี ค.ศ. 2019 SK เข้าไปถือหุ้น 6.1% ใน Vingroup กลุ่มบริษัทที่ใหญ่สุดในเวียดนาม
ปี ค.ศ. 2021 SK เข้าไปถือหุ้น 16.3% ใน VinCommerce เชนร้านสะดวกซื้อและซูเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ ที่เพิ่งเปลี่ยนเจ้าของจาก Vingroup ไปเป็น Masan Group เมื่อปี ค.ศ. 2019
ซึ่งการลงทุน 3 ครั้งนี้ คิดเป็นมูลค่ารวมกว่า 62,700 ล้านบาท
การเข้ามาลงทุนของบริษัทเกาหลีใต้ที่นิยมอีกรูปแบบก็คือ การ “เปิดสาขา” ในประเทศเวียดนาม โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าบริโภค ร้านค้าปลีก และบริการต่าง ๆ อย่างเช่นบริการการเงิน ซึ่งก็น่าสนใจว่าบริษัทเหล่านี้แทบจะไม่เคยมีสาขานอกประเทศเกาหลีใต้เลย
เพราะกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลางในประเทศเวียดนาม ซึ่งยังอยู่ในวัยหนุ่มสาว
ถูกประเมินว่าจะเพิ่มขึ้นมากที่สุดและเร็วที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ที่สำคัญก็คือความนิยมในสื่อบันเทิงและวัฒนธรรมของเกาหลีใต้
ซึ่งมีส่วนช่วยให้ชาวเวียดนามกลุ่มหนึ่งคุ้นเคยกับแบรนด์เหล่านี้อยู่แล้ว
อย่าง Lotte หนึ่งในกลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ของเกาหลีใต้ ที่สร้าง Lotte Center ที่เมืองฮานอย โดยเป็นอาคารที่สูงเป็นอันดับ 3 ในเวียดนาม มีทั้งโรงแรม 5 ดาว, ส่วนพักอาศัย, ห้างสรรพสินค้า Lotte, ซูเปอร์มาร์เก็ต Lotte Mart รวมถึงภัตตาคาร สปา และบริการอื่น ๆ คล้ายกับ Lotte Tower ในกรุงโซล
นอกจากนี้ Lotte ยังมีธุรกิจอื่นในเครือที่ประสบความสำเร็จในเวียดนาม อย่างเช่น ร้าน Lotteria ที่เริ่มเปิดสาขาเวียดนามในปี ค.ศ. 1998 จนในปัจจุบันกลายเป็นเชนฟาสต์ฟูด ที่มีสาขามากที่สุดในเวียดนาม
รวมถึงโรงภาพยนตร์ Lotte Cinema ที่เริ่มให้บริการที่เวียดนามในปี ค.ศ. 2008 ซึ่งนอกจาก Lotte แล้ว กลุ่ม CJ บริษัทแม่ของผู้ผลิตสื่อบันเทิงขนาดใหญ่ในเกาหลีใต้ อย่างเช่น Mnet, tvN และ Studio Dragon ก็มาเปิดสาขาโรงภาพยนตร์ CJ CGV ที่เวียดนามตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005
ซึ่งโรงภาพยนตร์จากเกาหลีใต้ ก็กลายเป็นเจ้าตลาดในเวียดนาม โดยกว่า 70% ของจำนวนโรงภาพยนตร์ทั้งหมดในประเทศเวียดนาม เป็นของ CJ CGV และ Lotte Cinema
ในส่วนของบริการทางการเงิน กลุ่มบริษัทการเงิน ธนาคาร รวมถึงบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ก็เลือกมาเปิดสาขาที่เวียดนาม เช่นกัน
อย่างเช่น Shinhan Financial Group กลุ่มการเงินอันดับ 2 ของเกาหลีใต้ เข้ามาเปิดสาขาธนาคาร Shinhan Bank Vietnam ตามเมืองใหญ่ในเวียดนาม รวมถึงบริษัท Shinhan Investment ที่ได้เข้าซื้อกิจการบริษัทหลักทรัพย์ท้องถิ่น
หรือ Hana Bank ธนาคารของกลุ่มการเงินอันดับ 4 ของเกาหลีใต้ ก็เข้ามาถือหุ้น 15% ในธนาคารรัฐวิสาหกิจของเวียดนาม ที่ชื่อ Bank for Investment and Development of Vietnam (BIDV) และมีแผนจะขยายสาขาในเวียดนามผ่านเครือข่ายสาขาของ BIDV
รวมถึงบริษัทการลงทุนขนาดใหญ่อย่าง Mirae Asset Global Investments ซึ่งเป็นบริษัทแรกของเกาหลีใต้ที่ได้เปิดบริษัทจัดการกองทุนในเวียดนาม และเป็นสาขาแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเข้ามาลงทุนหลากหลายรูปแบบในประเทศเวียดนามของเกาหลีใต้ มีส่วนสำคัญในการเพิ่มการจ้างงานเกือบล้านตำแหน่งในตลาดแรงงานเวียดนาม รวมถึงยังทำให้เวียดนามมีโอกาสได้รับการถ่ายโอนเทคโนโลยีใหม่ ๆ ไปด้วย
ที่สำคัญก็คือเรื่องของการส่งออก ที่ราว 1 ใน 3 ของการส่งออกทั้งหมดของเวียดนาม มาจากการผลิตของโรงงานสัญชาติเกาหลีใต้
นอกจากนี้โครงสร้างการส่งออกของเวียดนาม ก็ปรับมามีสัดส่วนสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก
โดยเฉพาะอิเล็กทรอนิกส์คุณภาพสูง จากเมื่อ 20 ปีก่อน ที่แทบไม่มีการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เลย
ถึงตรงนี้ เราก็พอจะสรุปได้ว่าประเทศเกาหลีใต้ คือผู้มีบทบาทสำคัญ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม นั่นเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.bloomberg.com/opinion/articles/2019-04-10/south-korea-s-investment-bonanza-in-vietnam-doesn-t-add-up
-https://asia.nikkei.com/Business/Business-trends/South-Korea-s-SK-Group-bets-big-on-Vietnam-s-100m-consumer-market
-https://asia.nikkei.com/Business/Business-deals/SK-Group-takes-16-stake-in-Vietnam-s-top-retailer
-https://asia.nikkei.com/Business/Business-trends/South-Korean-investment-in-Vietnam-grows-amid-U.S.-China-trade-war
-https://m.koreatimes.co.kr/pages/article.asp?newsIdx=280920
-http://www.koreaherald.com/view.php?ud=20181122000128
-https://www.kroll.com/-/media/kroll/pdfs/publications/the-rise-of-korean-investment-in-vietnam.ashx
-http://www.mpi.gov.vn/en/Pages/chuyenmuctin.aspx?idcm=277
-https://www.krungsri.com/en/research/regional-economic/RH/ih-vietnam-2021
-https://advicecenter.kkpfg.com/th/money-lifestyle/money/economic-trend/country-competitiveness
it trend 2022 在 貓的成長美股異想世界 Facebook 八卦
🌻Docusign(DOCU), Crowdstrike(CRWD)財報結果
上週這兩家公司發表財報了.
這兩天看了一下他們的財報結果. Again, 兩家的表現都很好, 但發現分析師給DOCU的調價(往上)幅度比較多, 就好奇研究了一下SaaS公司是怎麼被估值的. 有興趣的話可以看看(從中學習到很多. 非常推薦一讀):
https://makingsenseofusastocks.blogspot.com/2021/09/blog-post.html
(By the way, 分析師對CRWD的價格調幅沒那麼大, 主因是成長趨緩了. 而DOCU的free cash flow佔營收比, 以及顧客黏著力在這季創了新高, 是讓分析師按讚的幾個原因).
關於CRWD: "The Street is already modeling revenue growth deceleration in 2022 to 36%, down from 60% expected in 2021, which on its own might prove a hurdle for a stock already trading at a high multiple," said Bank of America analyst Tal Liani in a report.
分析師對於DOCU的評價:
• 11位buy; 給的價格分別是: $310, $320 (x2), $330 (x2), $340 (x2), $345, $350, $350, $389
• 給Buy的分析師的評語:
o Baird: The analyst continues to view them as a best in class way to play digital transformation trends with strong growth, cash flow and profitability, and a strong competitive position. Power said DocuSign remains one of his top long-term compounding growth ideas.
o Citi: While slightly shy of the double-digit billings beat in recent quarters, DocuSign still delivered a solid 8% beat to Q2 billings, which grew 47% year-over-year, Radke tells investors in a research note.
o Evercore ISI: he calls "another strong quarter." While some may have wanted to see more aggressive Q3 billings guidance, he believes estimates "continue to leave room for upside," Materne said.
o JMP Securities: While revenue growth decelerated to 50% from 58% in Q1, the company is the clear leader in electronic signature and the broader system of agreement having crossed over 1M customers with a $2B run rate this quarter, the analyst tells investors in a research note, adding that he sees lots of room for growth as DocuSign targets a $50B total addressable market.
o Needham: The analyst commented, "Docusign reported another strong quarter in 2QF22 with typical DOCU upside to revenue and profitability. Sales metrics and growth decelerated Q/Q, as we expected against a massive pandemic quarter, but at a much slower rate than we believe much of the Street was anticipating. 65k net new customers was lower than the 70k - 90 range of CY20 but was still more than 2x greater than any pre-pandemic quarter, highlighting a strong end-market driving 47% billings growth against a strong comp. Commentary on incremental Agreement Cloud demand was positive, suggesting an additional growth tailwind combined with solid international can further aid 2HF22. Although DOCU shares could be lower near-term due to weak 2H OpMg guidance, we think this guidance is conservative, as the recent OM was greater than the pre-pandemic level even with tough comps."
o RBC Capital: The quarter highlighted the sustainability of the company's tailwinds post-pandemic as most of its underlying metrics such as billings and net revenue retention were solid, the analyst tells investors in a research note, adding that the traction with CLM and Notary was also "impressive".
分析師對於CRWD的評價:
• 12位buy; 給的價格分別是: $300, $310 (x2), $313, $315 (x2) , $305, $320, $325, $330 (x2), $340
• 1位給hold: $280 (from $220 by J.P. Morgan(same))
• 給Buy的分析師的評語:
o Baird: The analyst believes the company has significant room for growth with core modules, opportunities with Humio and in cloud workload security, among others, should help drive a continuation of strong growth over a long time horizon.
o BTIG: The company's "strong" Q2 results "cleared every hurdle", even though the buy-side benchmarks may have been slightly higher, the analyst tells investors in a research note. Powell adds that Crowdstrike is clearly gaining share in its core endpoint security target market at a rapid pace and gaining traction with new products across multiple categories.
o Canaccord: The analyst said the stock is down from its recent highs, and he thinks the re-rating creates a more favorable entry point for longer-oriented investors for a foundational security name. He views Crowdstrike as a long-term secular winner in security due to its native cloud platform advantage versus closely held peers in endpoint security combined with platform expansion into tangential segments to capture greater share of security budgets.
o Goldman Sachs: CrowdStrike last night delivered "another beat and raise quarter as the company benefited from another quarter of elevated demand," Essex said. But it traded lower following net new annual recurring revenue growth guidance that was slightly less than investors had hoped for. Essex, nonetheless, said the quarter demonstrated CrowdStrike's "ability to continue to go down market efficiently."
o JMP Securities: The analyst notes the company's Q2 annualized recurring revenue of $1.34B topping his estimate of $1.30B, with "sustained" 70% ARR and revenue growth along with margin upside seen as key highlights for the quarter. Suppiger adds that the metrics reflect Crowdstrike's "strong execution and robust demand environment".
o Mizuho: "very good" fiscal Q2 results. The annual recurring revenue growth of 70% year-over-year "was strong and still nicely surpassed" the Street's 65%-66% estimate, Moskowitz tells investors in a research note. He believes "strong execution can propel" Crowdstrike's stock higher.
o Piper Sandler: The company's metrics "outperformed across the board" in Q2 with 70% annual recurring revenue and revenue growth and record net new customer adds in the quarter, Owens tells investors in a research note.
o RBC Capital: Hedberg adds that CrowdStrike's record pipeline entering Q3 should continue to fuel the company's "land-and-expand" momentum.
o Stifel: Q2 results that he said "exceeded consensus estimates across all major financial metrics." He continues to believe that Crowdstrike's growth opportunity "remains in the early days" despite the company's scale given continued share capture within its core endpoint security market and incremental module adoption on the Falcon Platform, Reback tells investors.
o UBS: the company reported "pretty good" Q2 results against high expectations.
🌻趨勢: 跨境電商 Cross-border commerce
Morgan Stanley:
From our perspective, we think many are underestimating what the cross-border eCommerce demand could ultimately be, once key friction points like FX rates, tax and duties, shipping, language, etc are smoothed—all issues that Global-E directly addresses.
Cross-border ecommerce brings new, high-yield volume: We think elevated levels of cross-border ecommerce (ex-travel) is a structural shift thathas yet to be fully contemplated in MA (and V)'s long-term forecasts. MA's cross-border CNP ex-travel volume was 69% above 2019's level in 2Q and 63% higher in 1Q. Strength reflects both broader ecommerce adoption plus globalization of commerce, as marketplaces and services that reduce cross-border friction (such as those from GLBE) make international online ordering more readily adopted. Early data at V suggests greater cross-border ecommerce spend is persisting even in areas with pre-pandemic levels of international travel. Cross-border transactions also come at a higher yield, making us more optimistic that the trend can bring incremental long-term growth to the networks.
產業的潮流是有連貫性的. 疫情讓電商更發達後, 接下來應該就是加速電商跨境了. 跨境的話, 有很多問題需要解決(稅率, 語言, etc.) 這就需要有公司來做整合的動作. 這種跨境, 也可以想像是omnichannel的一種呈現.
Harley Finkelstein (President of Shopify): "I mean I think commerce in 2021 is cross-border."
🌻SPAC熱潮退卻,初創市值蒸發750億美元
"SPAC熱潮已經退卻。分析顯示,在2月中旬以前完成合併的137家SPAC的總市值已經蒸發25%,市值回落幅度上個月一度超過1,000億美元。"
"像貝萊德(BlackRock Inc., BLK)和富達投資(Fidelity Investments Inc.)這類企業管理的基金,以及許多對沖基金、養老金管理公司和其他一些投資者,都在SPAC的回落中遭受了衝擊,他們在去年年底開始的熱潮中競相投資SPAC。其中許多基金由於在價格還很低的時候就早早入場,所以現在仍坐擁可觀收益。事實上,SPAC市值仍有約2,500億美元,高於一年前的約1,000億美元,反映出這期間股價上漲和新公司上市的影響。
但即便如此,今年年初令人炫目的回報還是讓許多後來者做了接盤俠,扎堆投資所謂穩賺不賠的領域,其永恆的風險可見一斑。在過去的幾個月裡,一些投資者眼睜睜看著帳面財富縮水。"
"股價下跌會在SPAC領域形成惡性循環,因為投資者有權在併購交易前從空白支票公司撤資。一旦SPAC跌破發行價,投資者就更有可能這樣做,而許多SPAC的股價現在正處於這樣的水平。目前,在尚未宣布併購交易的空白支票公司中,超過95%的公司股價低於發行價。
投資者的大規模撤資會讓已經上市的空白支票公司手上的現金大幅減少,讓其更難實現業務目標,並可能加劇股價跌勢。"
https://on.wsj.com/3n6JznC
🌻BNPL (buy now pay later)
But most BNPL providers including Affirm, Klarna and Afterpay have been losing money despite breakneck revenue growth as they invest heavily in marketing to win share. Sweden-based Klarna’s credit losses more than doubled in the second quarter. Affirm has projected adjusted operating losses of $50m-$55m for the fiscal year that ended June 30.
The path to profitability for many of these companies was to achieve massive scale, analysts said.
https://www.ft.com/content/ca201a37-a16d-4223-b123-04d38350a972
Pictures: 一葉知秋; from EarningsWhispers
it trend 2022 在 Foodeverywhere Facebook 八卦
Saw a screen cap of a good read on IG that's worthy to share. Here is what is from @foodgazerrr 's reads and that screen makes me happy to know that someone also cares about food knowledge other than just the taste of the food.
We are very blessed to have no food shortage and nowadays people got carried away with that easily, because of social media. It's come to a point where we are only looking at what's good where and what's newly open where. Being the first to try the food and being a part of having experienced the latest food trend becomes an utmost priority so to be able to flaunt on social media. I never am ever been thrilled with such instead, I'm always keen with how food becomes what it is in current modern dates. Learning about the history and evolution of food is of a greater meaning to understand and learn about roots of humanity and culture from ancient time when food formed into becoming than just a source of fuel.
Don't get me wrong, I didn't mean seeking best and trendiest food being a wrong thing to do. I am just saying that understanding it's origin is equally as important.
Seeking where the best foods are normal and reasonable because we want only the best and what's best of the value for money that we are spending on our food. Chasing where new eatery is opening is part of evolution because we want to fill ourselves with knowledge and latest trend. But blindly doing so could neglect the importance of knowing your food origin and that's loosing heritage and culture along the way . I bet 8 out of 10 people don't care what's the history of food. (I know... Cause my posting insight would tell me a stat of the type of contents people engaged with and such philosophy doesn't appeal to 8 out of 10 people, hahaah....)
I do hope that constant reminder of such would be helpful because I really do want to have a balance of posting what's helpful and what's necessary, regardless if it is best for my social media.
#foodeverywhere #sycookiesinpire #humanitarinism