วันนี้แอดก็จะมาเล่าถึงเรื่องของ #สารให้ความหวาน ทั้งในแง่ของการใช้งานและความปลอดภัยนะครับ
เนื่องจากว่าหลายๆคนนั้นมีความกังวลในการบริโภคสารให้ความหวานเทียม (Artificial Sweeteners) น่ะครับ เพราะว่ากระแสข่าวและงานวิจัยต่างๆก็มีทั้งแสดงถึงข้อดี/และข้อเสียของสารให้ความหวานเหล่านี้ ทั้งในแง่ของรสชาติที่ได้รวมไปถึงผลต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและยาวด้วย
ซึ่งสารให้ความหวานนี้สามารถแบ่งออกมาได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆนั่นก็คือ
1.) สารให้ความหวานที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น น้ำตาลทราย (Sucrose)/ ฟรุกโตส (Fructose)/ กลูโคส (Glucose) และน้ำตาลแอลกอฮอลล์ (Sugar alcohol) ชนิดต่างๆน่ะครับ ซึ่งตรงนี้แอดก็จะขอกล่าวถึงเฉพาะน้ำตาลแอลกอฮอลล์น่ะครับ
โดยที่น้ำตาลแอลกอฮอลล์ที่มีการใช้งานนั้น ได้แก่ Sorbitol, Mannitol, Xylitol, Isomalt, Maltitol, Lactitol และ Tagalose น่ะครับ
สารให้ความหวานเหล่านี้จะให้พลังงานเพียงแค่ครึ่งหนึ่งของน้ำตาลแท้คือให้พลังงานเพียง 2 กิโลแคลอรี่/กรัมเท่านั้น สามารถถูกดูดซึมได้ช้าและไม่ทำให้ฟันผุน่ะครับ ซึ่งการที่มันถูกดูดซึมช้านี่เอง ก็เลยเป็นสาเหตุทำให้การเกิดการท้องเสียได้เมื่อรับประทานมากเกินไป
โดยที่ xylitol นั้นจะถูกดูดซึมช้าสุด ก็จะทำให้ท้องเสียได้มากที่สุด ในขณะที่ sorbitol นั้นจะถูกดูดซึมมากที่สุด จึงทำให้เกิดอาการท้องเสียน้อยที่สุดน่ะครับ
https://en.wikipedia.org/wiki/Sugar_alcohol
2.) สารให้ความหวานที่ไม่ให้คุณค่าทางโภชนาการ หรือที่เราเรียกว่า “น้ำตาลเทียม” นั่นเอง โดยที่ทางองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (FDA) /และกระทรวงสาธารณสุขของไทยนั้นมีการรับรองให้ใช้ได้อย่างปลอดภัยนั้นจะมีอยู่ 6 ชนิด นั่นก็คือ
2.1) Aspartame ซึ่งสามารถบริโภคได้ไม่เกิน 40-50 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวันน่ะครับ โดยที่ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่ายในประเทศไทยนั้นได้แก่ Equal, Slimma เป็นต้น
ซึ่งเจ้า Aspartame นี้จัดว่าเป็นโปรตีนชนิดหนึ่งดังนั้นมันจึงให้พลังงานเท่ากับ 4 กิโลแคลอรี่/กรัม เท่ากับน้ำตาลปกติและโปรตีนทั่วไปเลย แต่ด้วยความที่เค้ามีความหวานประมาณ 180-200 เท่าของน้ำตาลทราย ทำให้สามารถใช้ในปริมาณที่น้อยมาก จนถือว่าเป็นสารให้ความหวานที่ไม่ให้พลังงานเลย
Aspartame นั้นประกอบไปด้วยกรดอะมิโน 2 ชนิด คือ Aspartic acid และ Phenylalanine น่ะครับ และสามารถสลายตัวในความร้อนได้เป็นสารที่มีรสขม จึงทำให้ไม่สามารถที่จะใช้ปรุงอาหารได้ในขณะที่หุงต้มเลย
และห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีภาวะ Phenylketonuria น่ะครับ เนื่องจากว่าผู้ป่วยนั้นจะไม่มีเอนไซม์ที่ใช้ย่อย Phenylalanine ได้น่ะครับ
https://en.wikipedia.org/wiki/Aspartame
2.2) Saccharin หรือที่บางทีเราเรียกว่า “ขัณฑสกร” นั่นเอง ซึ่งสามารถบริโภคได้ไม่เกิน 5 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวันน่ะครับ
ซึ่งตรงนี้คุณ @Jirawat Ngoenmuang ได้ชี้แจงว่า แต่ก่อนขัณฑสกรนั้นได้มาจากต้นไม้ แต่คนเข้าใจผิดใช้เรียกแทน saccharin ดังลิงก์นี้นะครับ
http://www.manager.co.th/Dhamma/ViewNews.aspx…
โดยที่ Saccharin นั้นจะให้ความหวานเป็น 300 เท่าของน้ำตาลทราย แล้วก็ไม่ให้พลังงานเลย และทนความร้อนสูงได้ดี จึงมีการใช้ผสมในน้ำเชื่อมต่างๆที่ใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องดื่มต่างๆน่ะครับ
และด้วยข่าวลือที่ว่าเจ้า Saccharin นั้นสามารถที่จะทำให้เกิดมะเร็งในหนูได้เมื่อใช้ขนาดสูง ทั้งๆที่ยังไม่พบว่าจะทำให้เกิดอันตรายในคนได้ในปริมาณการใช้งานที่เหมาะสม ก็เลยทำให้ความนิยมในการใช้งานนั้นลดลงอย่างมากด้วย
อันที่จริงปริมาณที่ให้ความหวานที่เหมาะสมนั้นถ้าเทียบกับน้ำตาลนั้นจะทำให้ใช้น้อยกว่าปกติถึง 1/300 เท่าของน้ำตาลทราย แถมเมื่อใช้มากนั้นจะทำให้เกิดรสหวานติดขมด้วยซ้ำ จึงเป็นไปได้ยากมากที่จะทำให้บริโภคมากกว่าปริมาณที่กำหนดได้ด้วย
แต่อย่างไรก็ตามการใช้ Saccharin ในสตรีมีครรภ์ ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน เนื่องจากว่ามีการศึกษาบางส่วนที่เคลมว่า มันสามารถที่จะผ่านรกเข้าไปในเนื้อเยื่อของทารกในครรภ์ได้ จึงควรต้องระมัดระวังในการใช้ในสตรีมีครรภ์ด้วย
https://en.wikipedia.org/wiki/Saccharin
2.3) Acesulfame potassium ซึ่งสามารถบริโภคได้ไม่เกิน 15 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวันน่ะครับ โดยที่ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่ายในประเทศไทยนั้นได้แก่ Sweet tasty (Giffarine) เป็นต้น
สารกลุ่มนี้จะให้ความหวานเป็น 200 เท่าของน้ำตาลทราย และทนความร้อนสูงได้ดี มักจะใช้ร่วมกับ Aspartame เพื่อลดความขมที่เกิดขึ้น โดยที่การใช้สารให้ความหวานร่วมของ Aspartame และ Acesulfame ร่วมกัน จะนิยมใส่ในน้ำอัดลมที่เคลมกันว่ามีพลังงาน 0 กิโลแคลอรี่ เช่นพวก Pepsi Max, Coke Zero เพื่อให้ได้รสหวานที่เป็นธรรมชาติขึ้น เป็นต้น
และเนื่องจากว่าสารให้ความหวานกลุ่มนี้สามารถทนความร้อนได้ดี จึงมักจะมีการใส่ในขนมอบ (Bakery) ที่ต้องการความหวานแต่ไม่ต้องการพลังงานมากจากน้ำตาลได้ด้วย
https://en.wikipedia.org/wiki/Acesulfame_potassium
2.4) Sucralose ซึ่งสามารถบริโภคได้ไม่เกิน 15 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวันน่ะครับ โดยที่ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่ายในประเทศไทยนั้นได้แก่ Fitne sweet เป็นต้น
สารกลุ่มนี้จะให้ความหวานเป็น 600 เท่าของน้ำตาลทราย ไม่ให้พลังงานเลย และทนความร้อนสูงได้ดี มีความคงตัวสูง สามารถให้รสชาติหวานใกล้เคียงกับน้ำตาลทรายมาก ไม่มีรสติดขม หรือว่าติดเฝื่อนปลายลิ้นน่ะครับ จึงสามารถใช้ทดแทนน้ำตาลทรายได้ดีเลย ทั้งในอาหารกระป๋องต่างๆ เบเกอรี่ ซอส และเครื่องดื่มต่างๆ เป็นต้น
https://en.wikipedia.org/wiki/Sucralose
2.5) Neotame ซึ่งสามารถบริโภคได้ไม่เกิน 2 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวันน่ะครับ ซึ่งจัดว่าเป็นสารให้ความหวานที่อนุญาตให้ใช้ในปริมาณน้อยที่สุด แต่ด้วยความหวานประมาณ 800-1300 เท่าของน้ำตาลทรายนั้นจึงทำให้ปริมาณที่ใช้นั้นก็ต่ำมากๆลงไปด้วยเช่นกัน
สามารถทนความร้อนได้สูงและสามารถใช้ปรุงอาหารขณะหุงต้มได้ สามารถใช้กับอาหารและเครื่องดื่มได้ทุกประเภทเลยน่ะครับ
https://en.wikipedia.org/wiki/Neotame
2.6) สารสกัดจากหญ้าหวาน (stevia) ที่มีชื่อทางพฤษศาสตร์ว่า Stevia rebaudiana Bertoni โดยสารที่ให้ความหวานของหญ้าหวานก็คือ Stevioside นั่นเอง ซึ่งสามารถบริโภคได้ไม่เกิน 4 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวันน่ะครับ
Stevioside เป็นสารที่ให้ความหวานมากกว่า 200-300 เท่าของน้ำตาล และสามารถทนความร้อนได้ดี ให้ความหวานช้าแต่ทนกว่าความหวานจากน้ำตาลทราย แต่จะให้ความหวานติดขมเล็กน้อยหากกว่าใช้มากเกินไปน่ะครับ
https://en.wikipedia.org/wiki/Steviol_glycoside
ซึ่งได้มีการศึกษาของ Rolls ในปี 1966 พบว่าน้ำตาลเทียมทั้งสามชนิดที่ทำการศึกษา ได้แก่ Aspartame, Saccharin และ Acesulfame นั้นก็พบว่าไม่มีผลต่อความหิว/ ความอยากอาหาร/ และน้ำหนักตัวเลยครับ
ซึ่งปัจจุบันได้พบว่าน้ำตาลเทียมเหล่านี้สามารถใช้เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาลได้อย่างปลอดภัย โดยไม่ทำให้อ้วนและไม่มีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดน่ะครับ
อย่างไรก็ตามก็ไม่ควรทานเกินค่า ADI (Acceptable daily intake levels) ของสารให้ความหวานแต่ละชนิด เพื่อป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้า Aspatame ควรหลีกเลี่ยงที่จะใช้งานกับผู้ป่วย Phenylketonuria ด้วยน่ะครับ เนื่องจากอาจจะเป็นอันตรายต่อสมองและทำให้เกิดภาวะปัญญาอ่อน (Mental retardation) ได้น่ะครับ
สุดท้ายนี้แอดก็ขอขอบคุณรูปประกอบบทความจากลิงก์ต่างๆตามรายชื่อยี่ห้อด้วยนะครับ
#หวานอย่างปลอดแคลอรี่
#วันนี้เรื่องย้าวยาว 😅😅😅
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過0的網紅cook kafemaru,也在其Youtube影片中提到,苺のシャカシャカクッキー | Strawberry Cookies(Sound cookies) ! トトロのシャカシャカクッキーで詳しいレシピが知りたいとコメントを頂いたので、今度は苺シャカシャカクッキーを作ってみました。 色々やってみて、やはり扱いやすいのが「パラチニット」でした。 晴れて湿度...
isomalt sugar 在 魔法媽咪廚房Magic Mommy Kitchen Facebook 八卦
畢業季到囉!
魔法媽咪廚房推出「水晶棒棒糖」,可以贈送給畢業班上的小朋友喔!或是生日分享也很適合唷!
我們使用不易蛀牙的「愛素糖」,愛素糖正式名稱為(Isomalt)異麥芽酮糖醇,是一種糖醇結構的混合物(葡萄糖山梨糖醇+葡萄糖甘露醇),製作方法為將蔗糖轉化為異麥芽酮糖再進行加氫反應開環成為糖醇。
是唯一一種源於甜菜糖的糖替代品, 通過產品特性的確定, 它賦予了不含糖sugar free甜品新的定義,並且被用在各種糕點裝飾中,非致齲齒性,較不易被腸道吸收,較低熱量,人體高耐受性,讓異麥芽酮糖醇也成為代糖(代替一般食糖)的選項之一,給孩子食用比較安心喔!
歡迎私訊魔法廚房預訂唷!
‼️‼️注意:
成品是單支包裝,可以加購包裝紙幫忙包成簡單花束喔!(花束純服務性,非專業包裝喔)
#歡迎私約課程教學
#各式點心麵包可接受隨時預訂
#牛軋糖可接受訂購
#生日蛋糕預訂請提前兩週
#Line官方帳號成立歡迎加入掌握即時訊息
https://line.me/R/ti/p/%40mml0451i
isomalt sugar 在 魔法媽咪廚房Magic Mommy Kitchen Facebook 八卦
魔法廚房萬聖節商品Part3
🍭🍭水晶棒棒糖
我們使用不易蛀牙的「愛素糖」,愛素糖正式名稱為(Isomalt)異麥芽酮糖醇,是一種糖醇結構的混合物(葡萄糖山梨糖醇+葡萄糖甘露醇),製作方法為將蔗糖轉化為異麥芽酮糖再進行加氫反應開環成為糖醇。
是唯一一種源於甜菜糖的糖替代品, 通過產品特性的確定, 它賦予了不含糖sugar free甜品新的定義,並且被用在各種糕點裝飾中,非致齲齒性,較不易被腸道吸收,較低熱量,人體高耐受性,讓異麥芽酮糖醇也成為代糖(代替一般食糖)的選項之一,給孩子食用比較安心喔!
🍭🍭黑糖梅子棒棒糖
這個也是超受大人小孩的喜愛的棒棒糖品項之一,萬聖節帶去學校分享也超適合的唷😁
歡迎私訊魔法廚房預訂唷!
#歡迎私約課程教學
#各式點心麵包可接受隨時預訂
#牛軋糖可接受訂購
#生日蛋糕預訂請提前兩週
#Line官方帳號成立歡迎加入掌握即時訊息
https://line.me/R/ti/p/%40mml0451i
isomalt sugar 在 cook kafemaru Youtube 的評價
苺のシャカシャカクッキー | Strawberry Cookies(Sound cookies) !
トトロのシャカシャカクッキーで詳しいレシピが知りたいとコメントを頂いたので、今度は苺シャカシャカクッキーを作ってみました。
色々やってみて、やはり扱いやすいのが「パラチニット」でした。
晴れて湿度が低い日に作れば問題なく出来上がります。
クッキー生地も平らに綺麗に焼けて食べても美味しいレシピにしました。
クッキーの下に敷くものもクッキングシートよりは、アルミホイルの方がいいです。作るのには手間がかかりますが、出来上がってシャカシャカ振った時の楽しさ
と言ったら!!! 振った人でないと分かりません、笑
食べ辛いとか、そんなことも忘れてしまう。
作り手も、もらった人も両方を笑顔にするクッキーです♡
でっかいトトロのシャカシャカクッキー作ってみた! | TOTORO cookies はこちら!
https://youtu.be/c3PggbLHuH0
チャンネル登録お願いします♪ Subscribe to my channel
https://www.youtube.com/user/soramomo0403
【Ingredients】
●Cut Out Cookies
plain Cookie dough
60g unsalted butter
65g Powdered sugar
20g Honey
Vanilla oil
35g Whole egg
200g cake flour
Icing:
30g Powdered sugar
6g water
Sugar for candy work:
200g Palatinit
(cake play isomalt)
wilton gel food colors
red
green
Icing flower
【材料】
●型抜きクッキー
プレーンクッキー生地
無塩バター 60g
粉糖 65g
ハチミツ 20g
バニラオイル
全卵 35g
薄力粉 200g
アイシング:
粉糖 30g
水 6g
飴部分:
パラチニット 200g
*製菓材料店で購入出来ます
アイシングフラワー
wilton gel food colors
赤
緑
【作り方】
①室温に戻したバターをゴムヘラで混ぜて、そこに粉糖を加えてさらによく混ぜる。
②ハチミツ、バニラオイルも加えて混ぜる。
③室温に戻した全卵を加えて混ぜる。
④ふるった薄力粉を加えて混ぜたら、ラップに包んで1時間ほど冷蔵庫で休ませる。
⑤④をクッキングシートにはさんで、5mm厚さに伸ばして苺の型で抜く。
(苺の型の作り方は一番下に記載)
中央の円の部分も抜いておく。
大小の苺各3枚ずつ苺の形に生地をカットしておく。
⑥残った生地の一部を赤と緑に着色して、中に入れる用に小さな苺クッキーを作る。苺のヘタ部分も花型で抜いて作る。
⑦大きな苺は170℃で10-14分位焼き、小さなパーツ類は160℃で7-8分ほど焼く。
様子を見ながら焼き時間は調整する。
⑧焼きあがったらケーキクーラーの上で冷ましておく。
冷めたら、3枚の内の2枚に飴を流すので、クッキーの下にアルミホイルを敷いておく。
⑨パラチニットを鍋に入れて、中火で熱し溶けてきたら弱火にしてぶくぶくしてきたら、鍋を回しながら溶かし、火を止める。
⑩止めてすぐは、ぶくぶくしているがすぐに気泡が消えてくるので、気泡が消えたら、クッキーの穴の部分に流し込む。
⑪飴が乾くまで置いておく。
流してすぐはかなりの高温になっているので、火傷に注意しましょう。
⑫飴の部分が乾いたら、組み立てる。
粉糖に水を加えてよく混ぜてアイシングを作る。
(アイシングはすぐに乾燥するので、アイシングには濡れ布巾かラップをする。
若しくは小さなコルネに入れておく)
⑬飴を流していないクッキーを下に置き、上にアイシングを塗り、飴を流していないクッキーを乗せて接着する。
少しそのまま置いておき、アイシングを乾燥させる。
⑭中にスプリンクルと焼いた小さな苺風クッキーを入れる。
⑮クッキー部分にアイシングを塗り、またクッキーを乗せて接着する。
⑯トップに焼いたクッキーのヘタをくっつけて出来上がり!
**********************************************************************
●寂しい感じがしたので、きゅうきょアイシングフラワーを作ってくっつけて
みました。
アイシングフラワーは、DAISOの「アイシングパウダーホワイト」を使用。
使用方法はパッケージの裏に載っていますが、水はホントに少量で練らないとパウダーが足りなくなります。
練って固い粘土状になったら、お花などの型で抜き、乾燥させます。
色付けは食紅で簡単に出来ます。
●苺の型の作り方
コピー用紙などに苺を描いて、それをクリアーホルダーに油性ペンで写し取る。
油性ペン部分は消しゴムで消しておく。
よく洗って乾かしておく。
●クッキー2枚でも出来ますが、3枚の方が中に色々入れることが出来て
楽しいです。
*music 3KTrack(Audiostock) / PIXTA(ピクスタ)
isomalt sugar 在 44 Isomalt Sugar Work ideas - Pinterest 的八卦
Jun 7, 2018 - Explore Taradactile, Inc.'s board "Isomalt Sugar Work" on Pinterest. See more ideas about isomalt, cake decorating, sugar art. ... <看更多>