ทำไม ฝรั่งเศส จึงเป็นประเทศแห่ง แบรนด์หรู? ตอนที่ 2 /โดย ลงทุนแมน
ปลายศตวรรษที่ 19 ความสำเร็จจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ทำให้เหล่ามหาอำนาจในยุโรปต่างแข่งขันกันล่าอาณานิคมเพื่อตอบสนองความต้องการวัตถุดิบ
ฝรั่งเศสเติบโตจนกลายเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ไม่แพ้อังกฤษ
อาณานิคมของฝรั่งเศสแผ่ขยายจากแอฟริกาตะวันตก ไล่ไปจนถึงคาบสมุทรอินโดจีน
กรุงปารีสที่งามสง่า ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดงาน World Expo ในปี ค.ศ. 1889
โดยมีสัญลักษณ์ของงาน ซึ่งต่อมากลายเป็นสัญลักษณ์ของฝรั่งเศส ก็คือ “หอไอเฟล”
ฝรั่งเศสซึ่งเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมของยุโรปมานานตั้งแต่สมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14
ในเวลานี้ วัฒนธรรมฝรั่งเศสกำลังแผ่ขยายไปทั่วโลก
เช่นเดียวกับวงการแฟชั่นฝรั่งเศส..
ชายคนหนึ่งจะเป็นผู้เปลี่ยนแปลงวิธีการนำเสนอเครื่องแต่งกาย
และกลายเป็นจุดเริ่มต้นของสิ่งที่เรียกว่า “การเดินแฟชั่นโชว์”
╔═══════════╗
ชอบบทความแบบนี้ ต้องอ่านหนังสือเล่มนี้
เศรษฐกิจโลก 1,000 ปี พิมพ์ครั้งที่ 6
อยากรู้ความเป็นไปของเศรษฐกิจโลก ต้องเข้าใจอดีต
หนังสือเล่มนี้จะพูดถึงประวัติเศรษฐกิจโลกตั้งแต่ปี ค.ศ. 1100 ไล่ยาวไปจนถึง ค.ศ. 2019
สั่งซื้อได้ที่ (ซื้อตอนนี้มีส่วนลด 10% จากราคาปก 350 บาท)
Lazada : https://www.lazada.co.th/products/1000-i714570154-s1368712682.html
Shopee : https://shopee.co.th/product/116732911/6716121161
╚═══════════╝
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ตอน ทำไม ฝรั่งเศส จึงเป็นประเทศแห่ง แบรนด์หรู? ตอนที่ 2
Charles Frederick Worth นักออกแบบชาวอังกฤษ
ผู้ข้ามมาเปิดห้องเสื้อ House of Worth ที่ปารีสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1858
เสื้อผ้าของ Worth ล้วนตัดเย็บด้วยมือ ใช้เนื้อผ้าราคาแพง และวัสดุตกแต่งที่หรูหรา
ถึงแม้จะมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่ทำให้เกิดโรงงานสิ่งทอ
แต่ลูกค้ากลุ่มที่มีฐานะ กลับต้องการเสื้อผ้าที่ตัดเย็บด้วยมือ เพื่อแสดงเอกลักษณ์เฉพาะตัว และไม่อยากซ้ำกับใคร เสื้อผ้าของ Worth จึงได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากลูกค้าเหล่านี้
Worth ยังเป็นผู้เปลี่ยนวิธีการนำเสนอเสื้อผ้าให้กับลูกค้า
จากเดิมที่ลูกค้าจะเป็นคนแนะนำแบบของเสื้อผ้าให้กับช่างตัดเสื้อ
คราวนี้ช่างตัดเสื้อจะเป็นผู้คิดและแสดงแบบให้แก่ลูกค้าเอง โดยไม่โชว์บนหุ่นอีกต่อไป
แต่โชว์บนร่างคนจริงๆ
และนี่คือจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงแฟชั่นโชว์เป็นครั้งแรกของโลก
การแสดงแฟชั่นโชว์ ทำให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า “ฤดูกาลแฟชั่น” ที่จะมีการเปลี่ยนแบบเสื้อผ้ากันปีละ 2 ถึง 4 ครั้ง ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของวงการแฟชั่น จากชุดที่สามารถสวมใส่ได้ตลอด
ก็อาจกลายเป็นชุดที่ล้าสมัยได้เมื่อเวลาผ่านไป..
ต่อมาลูกชายของ Charles ชื่อว่า Gaston Lucien Worth
เป็นผู้ผลักดันให้มีการก่อตั้งสมาคมช่างเสื้อชั้นสูง
“La Chambre Syndicale de la Haute Couture”
ซึ่งเป็นการยกระดับการตัดเย็บเสื้อผ้า จากช่างฝีมือให้กลายเป็นศิลปะแขนงหนึ่ง
คำว่า Haute Couture หรือ “โอตกูตูร์” มีความหมายถึงศิลปะการตัดเย็บชั้นสูง
ถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1908
ตามมาด้วยการจัดตั้งวิทยาลัยเสื้อผ้าชั้นสูง École de la Chambre Syndicale de la Couture Parisienne (ECSCP) ในปี ค.ศ. 1927
เพื่อให้เป็นสถาบันเพื่อสร้างนักออกแบบเสื้อโอตกูตูร์โดยเฉพาะ
การจะเป็นห้องเสื้อโอตกูตูร์นั้น ไม่ได้เป็นกันง่ายๆ จะต้องได้รับการรับรองจากสมาคมโอตกูตูร์ ภายใต้กระทรวงอุตสาหกรรม โดยมีข้อจำกัดดังต่อไปนี้
1. ต้องเป็นงานออกแบบด้วยมือทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ โดยไม่มีการใช้เครื่องจักรใดๆ
2. ต้องเป็นการดีไซน์แบบ Made-to-order สำหรับลูกค้าเฉพาะรายเท่านั้น
3. ต้องมี Atelier หรือสตูดิโออยู่ในกรุงปารีสเท่านั้น และใน Atelier ต้องมีพนักงานแบบทำงานเต็มเวลาอย่างน้อย 15 คน
4. ในทุกฤดูกาล จะต้องมีการโชว์ Collection อย่างน้อย 35 ดีไซน์ ทั้งชุดกลางวันและชุดราตรีสู่สาธารณชน
แบรนด์ฝรั่งเศสมี Story ของความหรูหราที่ดึงดูดลูกค้าทั่วโลกมาเป็นเวลาหลายร้อยปี
แต่การมีทั้งสมาคมรับรอง และมีโรงเรียนสอนการตัดเย็บเสื้อผ้าโอตกูตูร์
ได้กลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ที่กำหนดความหรูหรา ให้มี “มาตรฐาน”
และสร้างแบรนด์เสื้อผ้าฝรั่งเศสให้กลายเป็นสัญลักษณ์ของความหรูหราอย่างเป็นทางการ
แล้วแบรนด์ฝรั่งเศส แบรนด์ไหนบ้างที่อยู่ในโอตกูตูร์?
ส่วนใหญ่แล้ว ล้วนเป็นแบรนด์ที่คนทั่วโลกคุ้นเคยกันดี
ทั้ง Chanel, Dior และ Jean Paul Gaultier
นอกจากความหรูหราแล้ว แต่ละแบรนด์ล้วนทรงอิทธิพลต่อวงการแฟชั่นของโลกตลอดช่วงเวลาต่างๆ
ทศวรรษ 1920s-1930s
สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1918 ทศวรรษนี้จึงเป็นช่วงเวลาแห่งการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจ ในขณะที่เหล่าบรรดาเศรษฐียังคงใช้ชีวิตกันตามปกติ
Gabrielle Chanel เริ่มต้นเส้นทางสายแฟชั่นจากการเปิดร้านขายหมวกให้กับเหล่าบรรดาเศรษฐี ก่อนจะพัฒนามาเปิดร้านขายเสื้อผ้าในปี ค.ศ. 1913
ชื่อเสียงของ Chanel โด่งดังด้วยการนำเสนอชุดผู้หญิงที่สลัดกระโปรงยาวรุ่มร่ามในยุคก่อน
ออกไปจนหมด เปลี่ยนเป็นชุดเรียบง่าย เก๋ไก๋ และนำความเป็นผู้ชายมาประยุกต์ให้เข้ากับชุดของผู้หญิง เกิดเป็นชุดสูทของ Chanel ที่เป็นเอกลักษณ์มาจนถึงปัจจุบัน
ทศวรรษ 1940s-1950s
สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1945 โดยที่กรุงปารีสไม่ได้รับความเสียหายอะไรเลย เนื่องจากในตอนนั้นกองทัพนาซีเยอรมันยึดครองกรุงปารีสได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ได้มีการต่อสู้กันหนักในกรุงปารีส
อย่างไรก็ตาม ผู้คนที่ผ่านความหดหู่และสูญเสีย ต่างคิดถึงวิถีชีวิตหรูหราช่วงก่อนสงคราม
ส่งผลให้วงการแฟชั่นฝรั่งเศสหวนกลับไปหาสไตล์ออกแบบเดิมอีกครั้ง คือ การใช้ผ้าฟุ่มเฟือย
Christian Dior ปฏิวัติวงการด้วยการนำเสนอแฟชั่น “New Look” ในปี ค.ศ. 1947
ด้วยชุดเข้ารูป เข้าเอว อวดทรวดทรง และกระโปรงสุ่มบาน
การเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วงหลังสงคราม ทำให้วงการแฟชั่นเติบโตขึ้น
มีการตั้งนิตยสารแฟชั่นชื่อดังของฝรั่งเศสชื่อ ELLE ในปี ค.ศ. 1945
การมีพร้อมทั้งนักออกแบบ และสื่อแฟชั่น ยิ่งตอกย้ำความเป็นศูนย์กลางแฟชั่นของกรุงปารีสในช่วงทศวรรษที่ 1950
แต่สิ่งที่ทุกคนไม่คาดคิดก็คือ Christian Dior จากไปในปี ค.ศ. 1957 ด้วยวัยเพียง 52 ปี
โดยมีการวางตัวผู้สืบทอดคือ Yves Saint Laurent
ทศวรรษ 1960s-1970s
ท่ามกลางการเติบโตของเศรษฐกิจโลก และวิถีชีวิตที่เร่งรีบของชาวอเมริกันได้แพร่หลายไปทั่วโลก ทำให้แฟชั่นหรูหราราคาแพงอย่าง โอตกูตูร์ เริ่มไม่ตอบโจทย์กับชีวิตจริง
Yves Saint Laurent ได้ปฏิวัติวงการแฟชั่นด้วยการบุกเบิกเสื้อผ้าสำเร็จรูป Ready to Wear
หรือภาษาฝรั่งเศสเรียกว่า “Prêt-à-Porter” (เพร-อา-ปอร์เต)
Prêt-à-Porter มีความสวยงาม สะดวก ราคาถูกลง แต่ยังคงความโก้เก๋ เพื่อยังครอบครองตลาดแฟชั่นส่วนใหญ่ได้
แบรนด์เนมต่างๆ จึงหันมาให้ความสำคัญกับฐานลูกค้ากลุ่มนี้ มีการนำกระบวนการผลิตอุตสาหกรรมมาใช้ในการผลิตเสื้อผ้า ทำให้สามารถขยายฐานการผลิตได้มากขึ้น
และในช่วงนี้เอง โอตกูตูร์ที่มีฐานลูกค้าที่จำกัด จึงค่อยๆ หมดความสำคัญลงในแง่ของการตลาด
ทศวรรษ 1980s
การสื่อสารที่สะดวกสบายมากขึ้น ทำให้มีการนำสื่อมวลชน และดาราระดับโลกมาเป็นพรีเซ็นเตอร์แบรนด์ รูปลักษณ์และการสร้างแบรนด์เป็นสิ่งสำคัญมากขึ้น
Jean Paul Gaultier มีการนำเสนอความยั่วยวนผ่านรูปแบบแฟชั่นที่หวือหวา เช่น การนำชุดชั้นในมาไว้ด้านนอก ผ่านดาราฮอลลีวูดชื่อดัง Madonna เป็นผู้นำเสนอแบบเสื้อผ้า
ในช่วงทศวรรษนี้ แฟชั่นฝรั่งเศสเผชิญความท้าทายมากมาย
ทั้งการแข่งขันกับเมืองอื่นๆ ในการเป็นศูนย์กลางแฟชั่นของโลกทั้งมิลาน นิวยอร์ก และกรุงลอนดอน
รวมถึงแบรนด์แฟชั่นเริ่มถูกนำทางด้วยธุรกิจ ผลกำไร แทนความคิดสร้างสรรค์ที่เคยมีอย่างอิสระ ทำให้บทบาทของโอตกูตูร์ลดความสำคัญลงมามาก แบรนด์ต่างๆ เปลี่ยนมาให้ความสำคัญกับฐานลูกค้ากลุ่มใหญ่ โดยเฉพาะเสื้อผ้าสำเร็จรูปมากขึ้น
แต่อย่างไรก็ตาม การสั่งสม Story มาอย่างยาวนาน
ความพร้อมทั้งการมีสมาคมและภาคอุตสาหกรรมที่เข้มแข็ง
มีสถาบันการศึกษา มีนักออกแบบ มีสื่อแฟชั่นและนักวิจารณ์
ทำให้แฟชั่นฝรั่งเศสยังคงสามารถกำหนดเทรนด์แฟชั่นของโลกได้ และดึงดูดลูกค้ากระเป๋าหนักจากทั่วโลกให้มาจับจ่ายใช้สอย
เพราะในสายตาของลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นคนอเมริกัน ญี่ปุ่น เกาหลี จีน หรือคนไทย
เสื้อผ้าแบรนด์ฝรั่งเศสยังคงมีความหรูหรา ดูดี และมีสไตล์เป็นเอกลักษณ์อยู่เสมอ
แต่รู้หรือไม่ว่า สำหรับคนฝรั่งเศสผู้มีความเป็นตัวของตัวเองสูง กลับนิยมชมชอบร้านแฟชั่นท้องถิ่นมากกว่าแบรนด์เนมชื่อดัง โดยเฉพาะร้านขายเสื้อผ้าวินเทจ ไปจนถึงเสื้อผ้ามือสอง
ครัวเรือนชาวฝรั่งเศสใช้จ่ายเงินไปกับเสื้อผ้าคิดเป็นสัดส่วนเพียง 3.8%
ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปเกือบ 2 เท่า
แต่สิ่งที่ชาวฝรั่งเศสให้ความสำคัญมาก จนใช้จ่ายเกินค่าเฉลี่ยของสหภาพยุโรปก็คือ
“ค่าใช้จ่ายด้านอาหาร”
เพราะสำหรับคนฝรั่งเศสแล้ว สิ่งที่สำคัญไม่แพ้การมีชีวิตอยู่ ก็คืออาหารการกิน
และสาเหตุนี้เองจะกลายเป็นจุดเริ่มต้นของอาชีพที่เราเรียกกันว่า “Chef”..
เตรียมพบกับซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ทำไมฝรั่งเศส จึงเป็นประเทศแห่ง Chef ทำอาหาร? ได้ในสัปดาห์หน้า..
╔═══════════╗
ชอบบทความแบบนี้ ต้องอ่านหนังสือเล่มนี้
เศรษฐกิจโลก 1,000 ปี พิมพ์ครั้งที่ 6
อยากรู้ความเป็นไปของเศรษฐกิจโลก ต้องเข้าใจอดีต
หนังสือเล่มนี้จะพูดถึงประวัติเศรษฐกิจโลกตั้งแต่ปี ค.ศ. 1100 ไล่ยาวไปจนถึง ค.ศ. 2019
สั่งซื้อได้ที่ (ซื้อตอนนี้มีส่วนลด 10% จากราคาปก 350 บาท)
Lazada : https://www.lazada.co.th/products/1000-i714570154-s1368712682.html
Shopee : https://shopee.co.th/product/116732911/6716121161
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.harpersbazaar.com/uk/fashion/fashion-news/news/a31123/the-history-of-haute-couture/
-https://ec.europa.eu/eurostat/web/products-eurostat-news/-/DDN-20180103-1?inheritRedirect=true
-https://ec.europa.eu/eurostat/de/web/products-eurostat-news/product/-/asset_publisher/VWJkHuaYvLIN/content/DDN-20181204-1/pop_up?_101_INSTANCE_VWJkHuaYvLIN_viewMode=print&_101_INSTANCE_VWJkHuaYvLIN_languageId=de_DE
-ประวัติศาสตร์แฟชั่น, ศาสตราจารย์ ดร.พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過80萬的網紅果籽,也在其Youtube影片中提到,蔡英文、默克爾、希拉莉、朴槿惠,越來越多女性在職場上擔任要職,雖然很多地方都提倡男女平等,但在外國,男女工資待遇仍有很大差距。根據eurostat數據,在比利時、西班牙、德國等歐盟國家,男士每小時平均工資比女士多一至兩成不等,其中以愛沙尼亞情況最嚴重,差距接近三成。 ========= 全新副...
eurostat 在 瑞士。瑰娜 All About Switzerland Facebook 八卦
「不說母語的媽媽」
瑞士的異國婚姻比例極高。依據歐盟統計局(Eurostat)調查,2008年瑞士的異國結婚比高達21%,為全歐比例最高的國家。在我的交際圈便見過或聽聞瑞士人的另一半來自多明尼加、巴西、祕魯、韓國和德國等例子。
就我的觀察,當操相異母語的夫妻有了孩子時,兩人通常會決定各自以自己的母語做為跟小孩溝通的語言。雖然孩子需要較長的時間學習與消化,開口較晚,但在耳濡目染之下,自然而然便學會兩種語言。另外,瑞士的台灣太太注重孩子的中文教育,更會送他們至課後中文班學習識字。然而,並非所有的媽媽都願意和小孩說母語......。
上次回台,當我在蘇黎世機場排隊等待check-in時,我的目光不禁投向一位泰國籍的女士。因為蘇黎世-曼谷班機的飛行時間很長,所以我胭粉未施,僅穿著帆布鞋與休閒衣物,打算在飛機上好好休息。這位女士則是帶著一副完整的妝容,眉毛畫了,睫毛也刷了,打扮光鮮亮麗,背著一只看起來很貴氣的肩包。她一邊顧著行李推車,一邊使用手機操泰語聊天,她的孩子則靜靜地跟在身邊。
時間過了好久,這位泰國媽媽終於結束電話,轉向她的孩子。當她再次開口講話時,我的心因為過於震驚而顫動。這次,她不再說母語了,而是跟男孩說「高地德語」!! 我不知道這是不是泰國圈子的常態,但這件事讓我想起韓國朋友H與我分享的一則故事。
韓國朋友H在某個場合結識了泰國太太A。A擁有一位孩子,但奇怪的是她總是和小孩說高地德文,而不是自己的母語。H很好奇,便問A為什麼這麼做? A回答,孩子在瑞士長大,只要會說瑞士德語和高地德語就足夠了,泰語並非重要語言,沒有必要學習。(打從一開始便不想教導孩子母語)
聽完這個故事,我久久無法言語,猶如看完電影《羅根》一樣,讓人心情沉重。我不認為世界上有什麼語言價值比較高或比較低,但做為身份認同的象徵,「母語」永遠是最重要的。當媽媽不跟孩子說自己的母語,孩子如何與母親的根有所連結? 尤其,當媽媽不認同自己的出身,又如何教導孩子以溫柔的眼光平等看待世界?
後記: 和海外的網友交流過程中,發現這似乎是泰國媽媽的常態。當然,每個人都有選擇如何教育孩子的自由。這篇文章只是想喚起大家去思考語言和身份認同的議題。尤其,身為海外台灣人,對於孩子的語言教育感觸特別深。
附圖為琉森湖畔的梅根(Meggen)。
-------
#我出新書了 《瑞士不一樣:顛覆你對最強小國的想像》
博客來: https://goo.gl/1J3avJ (全球配送)
金石堂: https://goo.gl/vSw8i7 (全球配送)
誠品: https://goo.gl/gZQFT7
三民: https://goo.gl/aLR2YM
香港: https://goo.gl/NF2QN4
馬來西亞: https://goo.gl/aHZrG7
--------
#第一本書《瑞士不簡單:從社會、文化、教育面向,走進瑞士緩慢的生活哲學 》博客來: http://goo.gl/KZ9cAU , 金石堂: https://goo.gl/axHV7E
--------
#妹妹的書 《瑞士慢養生活:快樂瑞士人的身體保健、心理健康與飲食日常 》博客來:https://goo.gl/PNDHES ,金石堂:https://goo.gl/3Z9CtY
eurostat 在 王伯達觀點 Facebook 八卦
這幾天拍了個影片,講到人口負成長對房價的影響,收到很多回饋,最多重複的意見大概就是講到,台灣很多民代都有房地產,所以政策都偏向地主,比如持有稅,其它國家都沒有之類的....
例如連結這一篇。
我在影片中講到,德國房地產從2010年開始到現在,漲了快 50%,而以過去五年來看,房價漲幅更是超過了台北市....
而這篇文章講到:
"德國屬於歐元區內的「低房產稅負國家」。德國長年來為人稱道的穩定房價,並非從稅負上降低投資者的經濟誘因,而是透過繁複且嚴格的法律規定來降低其動機。
於是在實質需求增長時,德國馬上就產生了投資不足的問題。低持有稅也同時導致囤地現象的產生,使得房屋供給的增加更困難。"
啊,這段的意思不就表示低房產稅負也不見得會影響房價? 那討論台灣房產稅太低的議題是?
文中又提到有實質需求增長,房價才會漲?
那不就是人口因素嗎?
而文中又提到:
"房價下降的希臘與義大利,都屬於歐元區內的「高房產稅負國家」,其2017年的房產稅(持有加交易)稅收已經達到該國GDP的2.5%-3.5%上下,這比率大約是德國的2.5到3倍。"
但,這又怎麼解釋義大利的房價,可以從2000年漲到2011年? 這段時間,義大利的房產稅制有明顯變化嗎?
好吧,評論就到這邊,誰對,誰錯,不是重點,討論出個方向比較重要。
就我個人的看法,我認為人口、稅制、貨幣,甚至有更多的因素其實都可能會有影響,只是有影響力的區別。就我個人的看法,貨幣與人口會是決定性的關鍵,不然你怎麼解釋台北市過去五年房價是下跌的?
台北市的房地產稅制有大幅改變嗎?
最後,講個政治不正確的。
很多人認為地主民代是萬惡淵藪,只要地主民代在的一天,房價就沒有合理化的可能...
但,大家知道, 20 年前,有一群銀行家民代嗎? 當年開放了一堆新銀行,如今安在?
如果民代真能扭轉經濟的運作,現在銀行業應該都是民代在掌管了吧....
當然,打擊有土地的民代,自然就能讓沒有土地的民代更有機會上位.....
但對我個人來說,
有沒有土地,並不構成你能不能成為一好民代的資格,
有沒有能力,才是。
真要改變台灣的房地產/經濟問題,應該從央行開始。
(房貸利率創歷史新低,你不從央行開始檢討? 當然啦,檢討地主比較簡單,檢討央行困難多了,是吧?)
https://www.facebook.com/…/a.15326267702…/1532624916869373/…
人口與稅制:老化與負成長後的房價
王伯達觀點「人口負成長後,台灣房價怎麼走?」
https://youtu.be/F4qyArzsJYs
王伯達最近在Youtube上發佈了影片,談人口負成長對房價的影響。由於台灣很快會面臨人口老化與負成長,房價的走勢自然是大家關心的。但每次有人提到這個議題,我腦海中就不禁浮現一首軍歌:
「莫等待,莫依賴,房價絕不會天上掉下來。莫等待,莫依賴,建商絕不會自己垮台…」
以邏輯上來說,人口代表實質上的居住需求,但價格乃由「供給」與「需求」共同決定。因此不能單單注意需求,必須同時了解市場上的供給狀況。而房屋做為一種資產而非短期的消費品,其價格又受到其他總體因素(如稅制,貨幣甚至政治信心)所影響。因此光靠人口負成長就想要房價自己從天上掉下來,倒不如去祈禱有生之年能看到因緣具足的那一天。
先來看看在王伯達的影片。他在其中舉了歐元區的德國希臘與義大利為例子。這三個主要國家在聯合國2015的人口老化排名中名列前茅。其中大家熟知的德國,因為新移民遷入扭轉了人口下降的趨勢,使得房價在2010年以後大幅上揚。相反地,根據他的說法,希臘義大利兩國「沒有人口的支持,就算有寬鬆貨幣,也沒有辦法支持房價上漲」。
聽起來很合理,但若把視野放寬到整個歐元區,故事就不一樣了。王伯達沒有告訴你的是:房價下降的希臘與義大利,都屬於歐元區內的「高房產稅負國家」,其2017年的房產稅(持有加交易)稅收已經達到該國GDP的2.5%-3.5%上下,這比率大約是德國的2.5到3倍。
沒錯,德國屬於歐元區內的「低房產稅負國家」。德國長年來為人稱道的穩定房價,並非從稅負上降低投資者的經濟誘因,而是透過繁複且嚴格的法律規定來降低其動機。於是在實質需求增長時,德國馬上就產生了投資不足的問題。低持有稅也同時導致囤地現象的產生,使得房屋供給的增加更困難。
參考文章一:土地轉型:德國的民宅用地不多了(http://tinyurl.com/yyngp9mh)
事實上,德國雖然有大量移民湧入,但其總人口的增長幅度,卻只屬於歐元區國家的中段區。例如法國在同一時間內的人口成長幅度,幾乎是德國的四倍,卻沒有發生和德國一樣的問題。根據OECD的統計資料顯示,在人口增長約兩百萬人的情形下,法國扣除物價因素後的實質房價,從2010至2017不增反減。
就算是被王伯達認定為人口老化的義大利,從2010年以後迄今也增加了140萬人,人口增幅甚至是德國的2.7倍,房價卻義無反顧地一路下跌。
參考文章二:義大利房價大跌 德國人趁機買度假屋(http://tinyurl.com/y3b2nylk)
相反地,人口外流與老化超級嚴重的前蘇聯國家,包括拉脫維亞,立陶宛與愛沙尼亞,「沒有人口的支持,就算有寬鬆貨幣」,照樣狂漲亂飆。而這幾個歐元區國家都有個共同的特點:房產稅負超低。後兩個國家的房產稅佔GDP比例,甚至只有德國的1/3到1/4。而拉脫維亞的房產稅負與德國接近,在七年間縱使少了1/12的人口(在台灣就相當於六都之一的台南市民全數不見),扣除物價因素後的實質房價卻狂增27%。
為了更能解釋房產稅的影響,我把歐元區17國家在2010-2017當中,人口增長的幅度與實質房價的增幅繪成圖表。人口的資料來自Eurostat。實質房價與房產稅負的資料來自OECD Data。其中房產稅負高低,我是直接將17個國家依照其「平均房產稅收佔GDP比率」加以對分,前8個國家為高,後9個國家為低。選擇歐元區(而非以歐盟或OECD)為範圍,自然是希望排除貨幣政策帶來的影響。歐元區還有馬爾他與賽浦路斯兩個小國,但OECD沒有他們的相關統計故捨棄。
幾個簡單觀察如下:
第一:同樣的人口增長(或減少)幅度,高房產稅負的國家,其實質房價增幅會少於房產稅負低的國家。所以,正如一般人知道的,高房產稅負確實可以壓低房價。
第二:高房產稅負的國家,人口增長對房價的影響比較明確。如圖所示:如果我們不區分稅負高低,人口變化與房價漲跌其實看不出來有什麼關係。以統計術語來說,就是人口對房價變動的解釋力很薄弱。一旦依照房產稅負區分,就很清楚地看出:足夠高的房產稅能讓實質需求的變化更能夠反映在房價上。低房產稅則會讓房價更容易受到非實質供需的因素影響而暴漲。
所以不要以為人口負成長,就能讓房價自動從天上掉下來。沒那麼容易。靠天吃飯要餓死,靠人打仗要失敗;我們不能再作夢,我們不能再發呆。自己的國家自己救,自己的房價自己拆….
eurostat 在 果籽 Youtube 的評價
蔡英文、默克爾、希拉莉、朴槿惠,越來越多女性在職場上擔任要職,雖然很多地方都提倡男女平等,但在外國,男女工資待遇仍有很大差距。根據eurostat數據,在比利時、西班牙、德國等歐盟國家,男士每小時平均工資比女士多一至兩成不等,其中以愛沙尼亞情況最嚴重,差距接近三成。
=========
全新副刊,推動知識文化多元。培養品味,立足香港放眼世界。不畏高牆,我們站在雞蛋一方。
《果籽》 栽種品味,一籽了然。 https://hk.appledaily.com/realtime/lifestyle/
eurostat 在 Eurostat | Europe in statistics - economy, society and ... 的八卦
... <看更多>