"จดหมายเปิดผนึก ถึงคุณอนุทิน ชาญวีรกุล และรัฐมนตรีในสังกัด กรณีสารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด"
ขออนุญาตพูดแบบตรงไปตรงมา ไม่เป็นทางการนะครับ ... ผมว่าคุณอนุทิน และรัฐมนตรีในสังกัด โดนหลอกให้เป็นเครื่องมือในการแบนสารเคมีทางการเกษตรทั้ง 3 ชนิดนี้ โดยที่คุณอนุทินได้รับข้อมูลความรู้ที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง
สังเกตได้จากการให้คำสัมภาษณ์ของแต่ละท่าน ที่เห็นได้ชัดว่ายังมีความไม่เข้าใจที่แท้จริงเกี่ยวกับเรื่องของสารเคมีทั้ง 3 ตัวนี้ โดยเฉพาะในการมองว่าสารทั้ง 3 ตัวเป็นสารพิษอันตรายเหมือนกันหมด ต้องแบนให้ได้โดยเร็วเหมือนกันหมด ... ทั้งๆที่ จริงๆแล้ว สารทั้ง 3 ตัวเป็นสารคนละประเภทกัน ระดับความเป็นพิษก็แตกต่างกัน และวิธีการใช้ให้เหมาะสมนั้น ก็คนละเรื่องกันด้วย
อย่างตัวแรกคือ "คลอร์ไพรีฟอส" ซึ่งเป็นยาฆ่าแมลง ที่มีระดับความเป็นพิษปานกลาง และถ้าใช้ไม่เหมาะสม ก็อาจจะมาถึงผู้บริโภคภายหลังได้ ... อันนี้อยากแบน ก็แบนได้เลยไม่มีใครบ่น ไม่ว่าจะเป็นจากฝั่งของเกษตรกรหรือแม้แต่ผู้ประกอบการค้าสารเคมี เพราะเขาก็ยังมียาฆ่าแมลงอีกเป็นร้อยๆ ชนิดให้ใช้ ... ประเด็นคือเราต้องพยายามทำให้เกษตรกรใช้ยาฆ่าแมลงด้วยวิธีที่เหมาะสมถูกต้องปลอดภัย
แต่การที่ท่านถูกปลูกฝังให้เอาอันตรายของยาฆ่าแมลง มาผสมเป็นเรื่องเดียวกันกับยาฆ่าหญ้าอย่างพาราควอตและไกลโฟเสทนั้นกลายเป็นเรื่องจับแพะชนแกะ สร้างความหวาดกลัวให้กับสังคมเกินเหตุ และผิดจากความเป็นจริงในการใช้งานของมัน
ยาฆ่าหญ้าที่มีประสิทธิภาพดีและราคาถูกอย่าง "พาราควอต" ซึ่งมีประเทศที่ใช้อยู่ทั่วโลกกว่า 80 ประเทศนั้น ... ปัญหาใหญ่ของมันไม่ใช่เรื่องของการที่จะตกค้างมาสู่ผู้บริโภค แต่เป็นเรื่องของการที่มีผู้นำไปใช้กินฆ่าตัวตาย หรือเกษตรกรใช้ผิดวิธีไม่ป้องกันตนเองให้เหมาะสมจนเกิดอันตรายขึ้นได้ จากฤทธิ์ที่เฉียบพลันรุนแรงของมัน
ดังนั้น การแบนพาราควอตจึงกลายเป็นการทำร้ายเกษตรกรที่ใช้สารอย่างถูกต้องอยู่แล้ว สิ่งที่คุณอนุทินและรัฐมนตรีในสังกัดควรจะทำจึงเป็นเรื่องการกำหนดมาตรการเพื่อความปลอดภัย ให้ใช้สารได้เฉพาะเกษตรกรมืออาชีพที่ผ่านการอบรม รวมทั้งมีระเบียบการเก็บรักษาไม่ให้เสี่ยงเป็นอันตราย เหมือนอย่างในนานาอารยประเทศที่เจริญแล้วเขาใช้กัน (ดู Environmental Protection Agency ของสหรัฐ
https://www.epa.gov/pesticide-worker-safety/paraquat-dichloride-training-certified-applicators )
ที่สำคัญคือ ยาฆ่าหญ้าอีกตัวซึ่งก็คือ "ไกลโฟเซต" นั้น ไม่มีเหตุผลสมควรอะไรเลยที่จะต้องไปแบน เพราะเป็นสารที่มีระดับความเป็นพิษต่ำมาก องค์การอนามัยโลก WHO และองค์การอาหารโลก FAO จัดว่ามันเป็นสารที่ใช้ได้โดยไม่ก่อให้อันตรายต่อสุขภาพ ( จาก
https://www.who.int/foodsafety/jmprsummary2016.pdf) องค์กรทางวิทยาศาสตร์ทั่วโลกแทบทุกองค์กร ก็ยืนยันว่ามันไม่ได้เป็นสารก่อมะเร็ง แทบไม่มีประเทศใดเลยที่แบนสารตัวนี้ และมักจะนิยมใช้เป็นทางออกเป็นสารทดแทนเสียด้วยซ้ำ ในกรณีที่จะแบนพาราควอต (แม้ว่าจะประสิทธิภาพไม่ดีเท่าเทียมก็ตาม) แล้วจะไปตีขลุม แบนมันไปด้วยทำไม
สิ่งที่ผมเรียกร้องจากคุณอนุทินและรัฐมนตรีในสังกัดก็คือ ควรจะเปิดรับฟังข้อมูลให้รอบด้าน (ให้ผมไปเล่าแบบสรุปย่อๆ ง่ายๆ ให้ฟังก็ได้ แป๊บเดียวก็เข้าใจ) ไม่ใช่แค่จากคนใกล้ตัวที่ให้ข้อมูลด้านเดียว แล้วทำให้พวกท่านถูกใช้เป็นเครื่องมือในทางที่ผิดได้ ซึ่งสุดท้าย เผือกร้อนนี้ก็จะตกอยู่บนตัวของพวกท่าน และเป็นตราบาปของพรรคของท่านในสายตาของเกษตรกรไทยไปอีกยาวนาน
ด้วยความเคารพและห่วงใย
อาจารย์เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์
(ฝากแชร์ให้ถึงคุณอนุทินเขาด้วยนะครับ)
environmental protection pdf 在 Fah Sarika Facebook 八卦
สรุปคือ ถ้าซื้อถุงผ้าเยอะ ๆ ไม่ได้ใช้แบบประหยัด มันก็ส่งผลกระทบมากกว่าอยู่ดี
จริง ๆ คือจะใช้อะไรก็ได้ แต่ต้องใช้แบบรู้คุณค่า และใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่างหาก ถุงผ้ามีแค่ถุงสองถุงก็พอ พกไปด้วยทุกที่ แบบนี้ถึงจะช่วยได้จริง :)
เชื่อว่าผู้ชายหลายคนเริ่มหันมาพกถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติกกันแล้ว เพราะเราเชื่อว่ามันช่วยลดปริมาณพลาสติกและช่วยรักษาโลกใบนี้ได้ แต่จะเกิดอะไรขึ้นถ้าดันมีคนมาบอกเราว่า “เฮ้ย ถุงผ้านี่แม่งทำลายสิ่งแวดล้อมยิ่งกว่าถุงพลาสติกอีก! โดยเฉพาะถ้าคุณซื้อถุงผ้ามาใช้แค่ครั้งสองครั้ง แล้วซื้อใหม่เสมอที่ไหน Supermarket”
Danish Environmental Protection Agency จากประเทศเดนมาร์กเปิดเผยว่าไป ๆ มา ๆ คนส่วนใหญ่ใช้ถุงผ้าผิดวิธี แทนที่จะช่วยลดปริมาณขยะจากถุงพลาสติก กลับกลายเป็นยิ่งทำลายธรรมชาติยิ่งกว่าเดิมหลายเท่า!! โดยการเปรียบเทียบวัตถุดิบที่นิยมนำมาใช้เป็นถุง shoppting ราว 7 ชนิด แล้วเอามาวัดผลจากอันตรายต่อธรรมชาติใน 16 มิติ ซึ่งเมื่อวัดอันตรายจากการใช้งานของประชาชนทั่วไป เทียบกับความอันตรายต่อธรรมชาติในทุกมิติ ผลที่ได้นั้นกลับทำให้เราประหลาดใจ
.
รายงานระบุว่าการผลิตถุงผ้านั้นใช้ทรัพยากรมากจนกระทบสิ่งแวดล้อมมากที่สุด ดังนั้นตอนที่คนกำลังฮิตมาใช้ถุงผ้า แทนที่จะเลือกถุงผ้าที่มีอยู่แล้ว มักแห่กันไปซื้อถุงผ้าเท่ ๆ ชิค ๆ กันทีละมาก ๆ หรือองค์กรต่าง ๆ ที่หันมาผลิตถุงผ้าแจก เพราะอยากอยู่ในกระแสรักษ์โลก สิ่งเหล่านี้เองที่กระทบกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงถุงผ้าฝ้ายไม่สามารถรีไซเคิลได้ แต่ต้อง Note ไว้ก่อนว่า ถุงพลาสติกที่ใช้ในเดนมาร์กนั้นเป็นถุงพลาสติกแบบ low density polyethylene (LDPE plastic) ซึ่งถูกออกแบบให้สามารถ Recycle ได้ตั้งแต่บ้านเราไปจนถึงระบบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต่างจากบ้านเราที่ยังคงใช้พลาสติกโพลิเอทิลีนย่อยสลายยาก (high density polyethylene: HDPE) และไม่มีระบบรองรับที่ดี ดังนั้นผลกระทบที่พบในบ้านเราจึงไม่อยู่ในการวิจัยครั้งนี้ และเดาไม่ยากว่ามันน่าจะมีผลกระทบรุนแรงกว่าอย่างแน่นอน
.
ถ้าจะใช้ถุงผ้าแบบไม่กระทบสิ่งแวดล้อมต้องทำยังไง?
หลักสำคัญการเข้าใจว่าถุงผ้าในเดนมาร์กนั้นมักจะเป็นแบบ polypropylene, recycled PET-plastic รวมถึงการผลิตทีละจำนวนมากภายใต้การควบคุมผลกระทบทางธรรมชาติของเค้านั้น การนำแต่ละถุงพลาสติกมาใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุดบ่อยครั้งมากเท่าที่จะทำได้ เช่น นำถุงพลาสติกมาเป็นถุงใส่ขยะเท่าที่จะทำได้ และทิ้งในกระบวนการ Recycle ที่ไม่ปล่อยไปสู่ธรรมชาติโดยเฉพาะท้องทะเล กลับเกิดผลกระทบต่อธรรมชาติน้อยกว่าการใช้ถุงผ้าที่มีกระบวนการผลิตที่ยากและซับซ้อนกว่า โดยมีตัวเลขเปรียบเทียบจาก research ของเดนมาร์กว่า การใช้ถุงผ้าให้คุ้มค่าไม่กระทบ Climate Chage คือใช้อย่างน้อย 149 ครั้ง เทียบกับการใช้ถุงพลาสติกแบบ LDPE พร้อมกระบวนการจัดการที่มีประสิทธิภาพอยู่ที่ 43 ครั้ง ถือว่าเป็นตัวเลขที่น่าสนใจทีเดียว เพื่อให้คุ้มกับกระบวนการผลิตถุงผ้าต่อชิ้นที่ทำลายสิ่งแวดล้อมไปมากกว่า (สำหรับประเทศเดนมาร์ก)
.
แม้ Research นี้จะไม่มีตัวเลขที่สะท้อนภาพของประเทศไทยโดยตรง จากความต่างของพลาสติกที่ใช้ และระบบการ Recycle ที่ดีในบ้านเรา แต่ถ้าเราตระหนักถึงความสำคัญของความคุ้มค่าจากถุงผ้าแต่ละอัน ไม่ใช้ลืมหยิบไปก็ซื้อใหม่ไว้เรื่อยเปื่อย การใช้ถุงผ้าใบเดิมให้บ่อยครั้งที่สุด ก็น่าจะช่วยลดขยะจากถุงพลาสติกที่อนาคตยังไม่รู้จะไปทางไหนในบ้านเราได้ไม่มากก็น้อย รวมถึงการรู้จักใช้ถุงพลาสติกให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น ได้มาแล้วเก็บไว้ใช้ซ้ำ เช่น ใช้ใส่ขยะไปทิ้ง ใช้เป็นถุงมือชั่วคราว ส่งกลับไปรีไซเคิล หรือทิ้งในที่ที่รัฐจัดไว้ เท่านี้ก็ช่วยรักษ์โลกและสิ่งแวดล้อมได้เช่นกัน
อย่างไรก็ดี ถ้าเราช่วยกันประหยัดทรัพยากรกันคนละไม้ คนละมือ ใช้ถุงผ้าหรือถุงพลาสติกให้เกิดประโยชน์ที่สุด เข้าใจถึงการได้มาในแต่ละผลิตภัณฑ์ ก็พอจะเป็น Common Sense ที่เราไม่ต้องสงสัยในแต่ละกระบวนการว่า สรุปใครทำร้ายธรรมชาติมากกว่ากัน
เริ่มกันตั้งแต่วันนี้ จะช่วยรักษาโลกใบนี้ได้แน่นอน
Appendix:
https://www2.mst.dk/…/publica…/2018/02/978-87-93614-73-4.pdf
ttps://nordic.businessinsider.com/danish-study-plastic-bags-are-better-for-the-environment-than-organic-cotton-bags--/
environmental protection pdf 在 IELTS Nguyễn Huyền Facebook 八卦
TỪ VỰNG + BÀI MẪU CHỦ ĐỀ ENVIRONMENT
🎗🎗TỪ VỰNG IELTS CHỦ ĐỀ ENVIRONMENT
▪️Carbon dioxide ≈ greenhouse gases (khí thải nhà kính) ≈ emissions (khí thải)
▪️the greenhouse effect: hiệu ứng nhà kính
▪️average global temperatures ≈ the earth’s average temperatures ≈ our planet’s average temperatures: nhiệt độ trung bình toàn cầu/trái đất
▪️human activity: hoạt động của con người
▪️deforestation ≈ forest clearance ≈ illegal logging (chặt cây trái pháp luật) ≈ cutting and burning trees
▪️produce = release + khí thải + into….(v): thải khí thải ra đâu
▪️the burning of fossil fuels: việc đốt nhiên liệu hóa thạch
▪️ozone layer depletion: sự phá hủy tầng ô-zôn
▪️melting of the polar ice caps: việc tan chảy các tảng băng ở cực
▪️sea levels: mực nước biển
▪️extreme weather conditions: những điều kiện thời tiết khắc nghiệt
▪️put heavy pressure on…: đặt áp lực nặng nề lên…
▪️wildlife habitats: môi trường sống của động vật hoang dã
▪️the extinction of many species of animals and plants: sự tuyệt chủng của nhiều loài động thực vật
▪️people’s health: sức khỏe của con người
▪️introduce laws to…: ban hành luật để….
▪️renewable energy from solar, wind or water power: năng lượng tái tạo từ năng lượng mặt trời, gió và nước.
▪️raise public awareness: nâng cao ý thức cộng đồng
▪️promote public campaigns: đẩy mạnh các chiến dịch cộng đồng
▪️posing a serious threat to: gây ra sự đe dọa đối với
▪️power plants = power stations: các trạm năng lượng
▪️absorb: hấp thụ
▪️global warming = climate change: nóng lên toàn cầu/ biến đổi khí hậu
▪️solve = tackle = address = deal with: giải quyết
🎗🎗BÀI MẪU ÁP DỤNG TỪ VỰNG CHỦ ĐỀ ENVIRONMENT
Các bạn hãy phân tích bài văn mẫu bên dưới để xem cách Huyền vận dụng một số từ bên trên vào bài viết nhé. Bài mẫu này do Huyền viết, được chấm bởi thầy John Marks – giám khảo IELTS bên Anh.
ĐỀ BÀI: Global warming is one of the most serious issues that the world is facing today. What are the causes of global warming and what measures can governments and individuals take to tackle the issue?
Dịch đề: Nóng lên toàn cầu là một trong những vấn đề nghiêm trọng nhất mà thế giới đang đối mặt ngày nay. Nguyên nguyên của nóng lên toàn cầu gì gì? Những biện pháp nào mà chính phủ và cá nhân có thể thực hiện để giải quyết vấn đề này?
Các từ/ cụm từ hay được in đậm gạch chân.
One of the most pressing environmental issues which is posing a serious threat to the world is global warming. This essay will look at some primary causes of this and suggest several possible solutions to this problem.
There are a number of reasons why the earth is getting warmer than ever before. The first reason is the levels of greenhouse gases released from power plants to the air are rising at alarming rates. This leads to an increasing concentration of carbon dioxide in our atmosphere, acting as a roof of a greenhouse, trapping heat and causing global warming. Another reason for rising global temperatures is deforestation. It is widely known that trees help absorb carbon dioxide in the air and thus reduce climate change. However, with large areas of forests being cut down for different purposes, carbon dioxide and other heat-trapping gases will continue to rise, contributing to global warming.
There are various measures that could be implemented to tackle the problem of global warming. First, it is necessary for the government to encourage power stations and plants to use more environmentally-friendly energy sources such as nuclear or renewable energy instead of fossil fuels. Second, stricter punishments should be imposed for illegal logging and forest clearance to make sure that forests are properly managed and protected. As individuals, we can help mitigate global warming by planting more trees in our gardens or taking part in environmental protection programmes such as community planting. By taking these actions, this problem would be properly tackled.
In conclusion, there are various factors leading to global warming and steps need to be taken to address this serious issue.
HÌNH VỞ HỌC PDF:
https://drive.google.com/open?id=158FHVIui-IG0ZVP7LqkGnpKBQKryZ9h9
#ieltsnguyenhuyen
-----------------------------------
Khóa học hiện có:
📊Khóa Writing: http://bit.ly/39F5icP
📻Khóa Listening: http://bit.ly/2v9MbbT
📗Khóa Reading: http://bit.ly/3aGL6r3
📣Khóa Speaking: http://bit.ly/2U6FfF9
📝Khóa Vocab: http://bit.ly/336nmtW
📑Khóa Grammar: http://bit.ly/38G2Z89
📘Ebook Ý tưởng: http://bit.ly/3cLDWUi
🏆Điểm học viên: http://bit.ly/2ZdulyS
📩Tư vấn: xin #inbox page để được tư vấn chi tiết.
☎️093.663.5052