QGEN - HR Practice Provider
People คือหนึ่งในปัญหาหลักที่ทำให้คนเก่งหรือ Talent ขององค์กรเลือกที่จะไม่ไปต่อ ซึ่ง Employee Engagement Model ของ QGEN ได้แบ่งรูปแบบความสัมพันธ์กับคนในองค์กรออกเป็น 4 รูปแบบ ที่มีอิทธิพลต่อเหตุผลและความรู้สึกที่ต่างกันไปตามการให้คุณให้โทษ และการสร้างแรงบันดาลใจให้กันและกัน
หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน และลูกค้า คือรูปแบบของคน 4 ประเภทที่ QGEN พูดถึง ซึ่งเมื่อไหร่ก็ตามที่นำไปโยงกับการรักษาคนเก่งหรือ Talent ขององค์กรไว้ หัวหน้าจะเป็นเป้านิ่งลำดับแรกที่หลายคนนึกถึง และอาจจะตัดสินไปแล้วด้วยว่า นี่แหละคือสาเหตุหลักที่ทำให้องค์กรเสียคนเก่งไป
การตัดสินใจลาออกของพนักงาน ไม่ว่าจะเป็นคนในค่าเฉลี่ยขององค์กร หรือ Talent ขององค์กร มีเหตุผลอยู่มากมาย ปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมองค์กรไม่ได้ องค์กรอื่นให้ตำแหน่ง เงินเดือน สวัสดิการ ที่ดีกว่า Work Life Balance ไม่ได้เป็นไปอย่างที่คาดหวัง หรือแม้แต่งานไม่สนุก รู้สึกไม่มีคุณค่า และผังองค์กรที่มีลำดับขั้นเยอะจนทำให้งานไม่เดินหรือล่าช้าไปกว่าที่ควรจะเป็น
หรือถ้าปัญหาของการลาออกเป็นเรื่องของคน ก็มีโอกาสเป็นไปได้ทั้งการมีปัญหากับลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน หรือลูกค้า แต่ก็นั่นล่ะครับ ถึงจะมีเคสให้เห็นอยู่บ้างอย่างนักเตะเล่นไล่โค้ช แต่ก็เป็นส่วนน้อยจริง ๆ ที่จะเกิดขึ้นเมื่อเทียบกับการที่ใครซักคนจะลาออกเพราะหัวหน้า
เหรียญมีสองด้านเสมอ อย่าเพิ่งเร่งตัดสินว่าเป็นเพราะหัวหน้า ภายใต้เงื่อนไขและข้อจำกัดที่หลายคนอาจจะไม่รู้ สิ่งที่หัวหน้าได้ทำไปก็อาจจะเป็นสิ่งที่ดีที่สุดแล้ว ณ เวลานั้นก็ได้ และเช่นกันครับหัวหน้าบางคนอาจจะสร้างแรงบันดาลใจให้พนักงานอยากจะที่เปิด Job Board ในทุกวัน แต่ก็มีไม่น้อยเหมือนกันที่หัวหน้าคือคนสำคัญที่กระตุ้นและเป็นแรงผลักให้หลายคนทำงานอย่างมีความสุข
ความกังวลของหัวหน้าหน้าใหม่หลายคนคือ ทำตัวไม่ถูก ไม่รู้จะบริหารทีมอย่างไร กลัวการตำหนิผู้อื่น กลัวการถูกนินทา นี่คือเรื่องที่ผมมองว่าผู้บริหารและ HR จะต้องให้ความใส่ใจกับหัวหน้าหน้าใหม่ที่แต่ละคนอาจจะมี People Management Skill ที่ไม่เท่ากัน อย่ารอให้เค้ากังวลจนทำตัวไม่ถูก เร่งพัฒนาเค้าด้วยในวันที่เรา Promote เค้าขึ้นไปเป็น Leader
Leadership ตามนิยามของ Jims Collin คือ ศิลปะของการกระตุ้นให้คนในทีมอยากจะทำ ในสิ่งที่เค้าจะต้องทำให้สำเร็จ นี่คือสิ่งที่ผมอยากให้ Leader ในทุกระดับลองไปตีความดู และในงานพื้นฐานของ Leader ในทุกระดับต้องลองไปพิจารณากันอีกทีว่า เราทำเรื่องพื้นฐานเหล่านี้ได้ดีแค่ไหน และถ้าเราทำได้ไม่ดี นี่คือหนึ่งในการส่งสัญญาณว่าคนเก่ง ๆ จะไม่อยู่กับเราหรือเปล่า
1.Target Setting การตั้งเป้าหมายให้กับคนในทีม 2. Assignment การมอบหมายงานให้กับคนในทีมโดยเน้นที่ Strength เป็นที่ตั้ง 3. Monitoring & Tracking การติดตามงานอย่างเหมาะสม และไม่ Micro Management จนขาด Creativity 4 Evaluation and Feedback แยกคนเก่งและไม่เก่งออกจากกันได้ และสามารถให้ข้อมูลเพื่อไปพัฒนาตนเองของทีมแต่ละคนด้วย และ 5 Reward & Recognition ซึ่งเชื่อมโยงกับการตั้งเป้าและการประเมินผล
ขอไม่ลงรายละเอียดใน Content นี้นะครับ แต่ลองไปเช็คดูว่าเราทำครบมั้ย ให้คะแนนตัวเองกันหน่อยว่าเราได้ดีแค่ไหน
ทีนี้กลับมาที่เหตุและผลของการที่คนเก่งลาออก แล้วบอกว่า หัวหน้านี่แหละคือสาเหตุสำคัญ จากประสบการณ์ของผมเอง ผมวิเคราะห์ออกมา 4 หัวข้อใหญ่ ๆ ที่เป็นพฤติกรรมของหัวหน้าซึ่งส่งผลต่อเหตุผล อารมณ์และความรู้สึกของคนทำงาน โดยเฉพาะกับคนเก่ง ๆ
ขอตัดเรื่องหัวหน้าที่ EQ น้อย ๆ ออกไปก่อน เพราะประเด็นนั้นคงไม่จำเป็นต้องคุย ส่วนอีก 4 ข้อ อยากจะให้หัวหน้าไปลองรีวิวตัวของเราเองดู เผื่อว่าเราจะเจอต้นตอของปัญหา และหาวิธีในการแก้ไขได้ ไม่ใช่เพื่อใคร แต่เพื่อรักษาคนเก่งไว้ให้อยู่กับเราต่อไปได้
ข้อแรกคือ Communication หัวหน้าที่สื่อสารไม่เป็น ซึ่งการพูดเก่งไม่ได้หมายความว่าสื่อสารเป็น และถ้าเราย้อนกลับไปดู 5 งานพื้นฐานของหัวหน้า Communication คือองค์ประกอบสำคัญที่จะทำให้กระบวนการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ
ข้อสอง หัวหน้าที่ไม่วางแผน Career Path ให้กับ Talent อย่างเหมาะสม เราต้องไม่ลืมว่า Career Growth คือเหตุผลอันดับต้น ๆ ของ Talent โดยเฉพาะ New Generation หัวหน้าคนไหนที่ลืมเรื่องนี้ไป รีบกลับมาวางแผนซะก่อนที่ Talent ของเราจะไปวางแผนกับองค์กรอื่น
ข้อที่สาม หัวหน้าที่เป็น Center ในทุกเรื่อง ไม่ Empower ให้กับ Talent ในการทำงานทั้งที่ตอนเลือกคนเข้ามา พยายามเลือกคนที่เก่งที่สุด แต่ไม่ให้อำนาจในการทำงานที่เหมาะสม
และข้อสุดท้าย คือหัวหน้าที่ไม่ตัดสินใจ
ทั้ง 4 ข้อนี้เป็นสิ่งที่ผมอยากให้หัวหน้าไปลองพิจารณาดู และถ้าให้ดีลองทำ Feedback โดยให้ทุกคนในทีมบอกเราว่า อะไรคือสิ่งที่เราควรพัฒนา เปิดใจให้มากเพื่อรับฟังเรื่องเหล่านั้น ถ้าเห็นว่านั่นคือ Fact และเราควรจะเร่งพัฒนาปรับปรุงตัวเราเองก็ควรรีบทำซะ
คนเก่งหาไม่ได้ง่าย ๆ รักษาเค้าไว้ให้ดีนะครับ
ใน Content หน้าจะมาเล่าเรื่อง Leader for Employee Experience ซึ่งเป็นอีกแนวทางนึงในการ Retain และ Engage คนเก่งไว้ให้กับองค์กร ฝากติดตามนะครับ
#Leadership #EmployeeEngagement #EmployeeExperience
#QGEN
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過62萬的網紅Bryan Wee,也在其Youtube影片中提到,...
「employee recognition」的推薦目錄:
- 關於employee recognition 在 HR - The Next Gen Facebook
- 關於employee recognition 在 IELTS Fighter - Chiến binh IELTS Facebook
- 關於employee recognition 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook
- 關於employee recognition 在 Bryan Wee Youtube
- 關於employee recognition 在 Travel Thirsty Youtube
- 關於employee recognition 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube
employee recognition 在 IELTS Fighter - Chiến binh IELTS Facebook 八卦
- Luyện Reading, tìm từ vựng hay
MOTIVATIONAL FACTORS AND THE HOSPITALITY INDUSTRY
A critical ingredient in the success of hotels is developing and maintaining superior performance from their employees. How is that accomplished? What Human Resource Management (HRM) practices should organizations invest in to acquire and retain great employees?
Some hotels aim to provide superior working conditions for their employees. The idea originated from workplaces - usually in the non-service sector - that emphasized fun and enjoyment as part of work-life balance. By contrast, the service sector, and more specifically hotels, has traditionally not extended these practices to address basic employee needs, such as good working conditions.
Pfeffer (1994) emphasizes that in order to succeed in a global business environment, organizations must make investment in Human Resource Management (HRM) to allow them to acquire employees who possess better skills and capabilities than their competitors. This investment will be to their competitive advantage. Despite this recognition of the importance of employee development, the hospitality industry has historically been dominated by underdeveloped HR practices (Lucas, 2002).
Lucas also points out that 'the substance of HRM practices does not appear to be designed to foster constructive relations with employees or to represent a managerial approach that enables developing and drawing out the full potential of people, even though employees may be broadly satisfied with many aspects of their work' (Lucas, 2002). In addition, or maybe as a result, high employee turnover has been a recurring problem throughout the hospitality industry. Among the many cited reasons are low compensation, inadequate benefits, poor working conditions and compromised employee morale and attitudes (Maroudas et al., 2008).
Ng and Sorensen (2008) demonstrated that when managers provide recognition to employees, motivate employees to work together, and remove obstacles preventing effective performance, employees feel more obligated to stay with the company. This was succinctly summarized by Michel et al. (2013): '[P]roviding support to employees gives them the confidence to perform their jobs better and the motivation to stay with the organization.' Hospitality organizations can therefore enhance employee motivation and retention through the development and improvement of their working conditions. These conditions are inherently linked to the working environment.
While it seems likely that employees' reactions to their job characteristics could be affected by a predisposition to view their work environment negatively, no evidence exists to support this hypothesis (Spector et al., 2000). However, given the opportunity, many people will find something to complain about in relation to their workplace (Poulston, 2009). There is a strong link between the perceptions of employees and particular factors of their work environment that are separate from the work itself, including company policies, salary and vacations.
Such conditions are particularly troubling for the luxury hotel market, where high-quality service, requiring a sophisticated approach to HRM, is recognized as a critical source of competitive advantage (Maroudas et al., 2008). In a real sense, the services ofhotel employees represent their industry (Schneider and Bowen, 1993). This representation has commonly been limited to guest experiences. This suggests that there has been a dichotomy between the guest environment provided in luxury hotels and the working conditions of their employees.
It is therefore essential for hotel management to develop HRM practices that enable them to inspire and retain competent employees. This requires an understanding of what motivates employees at different levels of management and different stages of their careers (Enz and Siguaw, 2000). This implies that it is beneficial for hotel managers to understand what practices are most favorable to increase employee satisfaction and retention.
Herzberg (1966) proposes that people have two major types of needs, the first being extrinsic motivation factors relating to the context in which work is performed, rather than the work itself. These include working conditions and job security. When these factors are unfavorable, job dissatisfaction may result. Significantly, though, just fulfilling these needs does not result in satisfaction, but only in the reduction of dissatisfaction (Maroudas et al., 2008).
Employees also have intrinsic motivation needs or motivators, which include such factors as achievement and recognition. Unlike extrinsic factors, motivator factors may ideally result in job satisfaction (Maroudas et al., 2008). Herzberg's (1966) theory discusses the need for a 'balance' of these two types of needs.
The impact of fun as a motivating factor at work has also been explored. For example, Tews, Michel and Stafford (2013) conducted a study focusing on staff from a chain of themed restaurants in the United States. It was found that fun activities had a favorable impact on performance and manager support for fun had a favorable impact in reducing turnover.
Their findings support the view that fun may indeed have a beneficial effect, but the framing of that fun must be carefully aligned with both organizational goals and employee characteristics. 'Managers must learn how to achieve the delicate balance of allowing employees the freedom to enjoy themselves at work while simultaneously maintaining high levels of performance' (Tews et al., 2013).
Deery (2008) has recommended several actions that can be adopted at the organizational level to retain good staff as well as assist in balancing work and family life. Those particularly appropriate to the hospitality industry include allowing adequate breaks during the working day, staff functions that involve families, and providing health and well-being opportunities.
Các từ vựng nổi bật:
critical (adj): then chốt
superior (adj): tốt hơn
accomplish (adj): trọn vẹn
retain (v): giữ lại
by contrast: ngược lại
extend (v): kéo dài
emphasize (v): nhấn mạnh
investment (n): đầu tư
competitive (adj): cạnh tranh
recognition (n): sự công nhận
substance (n): cốt lõi
foster (v): thúc đẩy
constructive (adj): có tính xây dựng
managerial (adj): thuộc quản lý
potential (n): tiềm năng
turnover (n): nghỉ việc
compensation (n): lương
morale (n): tinh thần
obstacle (n): chướng ngại
succinctly (adv): súc tích
retention (n): sự duy trì
predisposition (n): khuynh hướng thiên về
separate (adj): riêng biệt
sophisticated (adj): phức tạp
dichotomy (n): sự lưỡng phân
extrinsic (adj): từ bên ngoài
intrinsic (adj): từ bên trong
align (v): sắp hàng
delicate (adj): tinh tế
simultaneously (adv): đồng thời
adequate (adj): đầy đủ
break (n): giờ giải lao
Các bạn cùng tham khảo nhé!
employee recognition 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 八卦
ฟังกันแล้วหรือยัง ?
#แชร์ให้มาเป็นความรู้นะคะ.
ท่านใดอยากจดบริษัท แต่ยังไม่พร้อมควรดูคลิปนี้
ท่านใดจดบริษัทไปแล้ว ยังไม่รู้จะไปต่อยังไง?
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
ท่านใดต้องการหมดความกังวลเรื่องภาษี
มาเรียนรู้เพิ่มเติม สัมมนา #ก้าวสู่บัญชีชุดเดียว
เรียนทั้งหมด 5 ครั้ง
คุ้มค่าที่สุด กับรูปแบบการเรียน
ภาค 1 : เรียน 2 วัน(ติดกัน) 18-19 กรกฎาคม 2562
หรือ เรียนออนไลน์ทางเฟซบุ๊คกลุ่มปิด
ภาค 2 : เรียน 3 วัน เลือกรอบวันที่สะดวกเพื่อเข้าเรียน
เนื้อหาในหลักสูตร
#ภาค_1 : เรียน 2 วันติดกัน
✅หลักการเข้าสู่บัญชีชุดเดียว
✅10 ความเสี่ยงที่สรรพากรจะเข้าตรวจ
✅โอนสินทรัพย์เข้ากิจการให้ถูกต้อง
✅กำหนดผลตอบแทนกรรมการให้เหมาะสม
❌แก้ไขปัญหาเอกสารด้านรายได้
❌แก้ไขปัญหาค่าใช้จ่ายที่ไม่สมบูรณ์
❌แก้ไขปัญหาค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน
❌แก้ไขปัญหาสินค้าคงเหลือ Stock
↗️วางระบบการจดรับ-จ่ายเพื่อควบคุมเงินสด
↗️วางระบบเอกสาร เลือกใช้โปรแกรมบัญชี
↗️ประมาณการภาษีตลอดทั้งปี
↗️วางแผนภาษีประจำปี
🏫 สถานที่
รร.โกเด้นทิวลิป (พระราม 9)
ด้านหลัง รพ.พระราม 9
🕘 เวลาเรียนภาค 1
10.00 - 17.00 น.
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
#ภาค_2 : เรียน 3 วัน เน้น Workshop
🕘 เวลาเรียนภาค 2
13.00 - 17.00 น.
หัวข้อ 1 : การจัดการเอกสารรายได้
หัวข้อ 2: การจัดการเอกสารค่าใช้จ่าย
หัวข้อ 3 : ตรวจสอบภาษี จากสำนักงานบัญชี
📣 Free เพิ่มอีก 1 หัวข้อ
Workshop จดรับจ่ายเพื่อบริหารเงินสดในกิจการ
🕘 เวลาเรียนภาค 2
13.00 - 17.00 น.
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
สัมมนานี้สำหรับเจ้าของกิจการที่ไม่มีพื้นฐานบัญชีภาษี
ยอดการลงทุน 27,000 บาท
เฉพาะแฟนตัวยงรับสวนลด 8,000 บาท
ชำระเพียง 19,000 บาท
💥สำหรับ 50 ท่านแรกเท่านั้น💥
💳 ชำระผ่านบัตรเครดิต ไม่มีค่าธรรมเนียม
ออกใบเสร็จ/ใบกำกับภาษีทุกรายการ
#ค่าเรียนนี้หักภาษีได้_2_เท่า
☎️ สอบถามได้ที่
0948246244 ฝน
หรือ ทักอินบ็อกซ์มาได้เลยค่ะ
Anyone who wants to take note of the company but is not ready, should watch this clip.
Who has taken note of the company and doesn't know how to continue?
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
Who wants to have no tax worries
Let's learn more about the seminar #StepToToCounting account.
Study all 5 times
Totally worth the study style.
Part 1: Study for 2 days (consecutively) 18-19 July 2562
Or study online via Facebook. Closed group.
Part 2: Study 3 days. Choose a convenient day frame to attend class.
Content in the course.
#Part _ 1: Study for 2 consecutive days.
✅ The principle of getting into one account.
✅ 10 risks that the recruits will check.
✅ Transfer assets to business properly.
✅ determine the reward of judges properly.
❌ Fixing income documents
❌ Fixing incomplete expenses
❌ Fixing employee expenses
❌ Fixing stock balance problem
↗️ Putting in a Recognition System - Pay to Control Cash
↗️ Placing a document system, choosing an accounting program.
↗️ Tax estimates throughout the year
↗️ Annual Tax Planning
🏫 The location.
The school. Koden Tulip (Rama 9)
Behind the hospital. Rama 9
🕘 Class time 1
10.00 am-17.00 pm
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
#Part _ 2: Study for 3 days. Focus on Workshop.
🕘 Class time 2
13.00 am-17.00 pm
Topic 1: Managing income documents
Topic 2: Cost document management
Topic 3: Tax check from Accounting Office
📣 Free 1 more topics
Workshop take note of cash management in affairs
🕘 Class time 2
13.00 am-17.00 pm
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
This seminar is for business owners who don't have tax accounting basics.
Investment balance 27,000 baht.
Only big fans. Get garden for 8,000 baht discount.
Pay only 19,000 baht.
For the first 50 people only 💥
💳 Pay via credit card. No fees.
Receipt / Tax invoice for all items.
#ค่าเรียนนี้หักภาษีได้_2_เท่า
☎️ Inquire at
0948246244 rain.
Or inbox me.Translated
employee recognition 在 Bryan Wee Youtube 的評價
employee recognition 在 Travel Thirsty Youtube 的評價
employee recognition 在 スキマスイッチ - 「全力少年」Music Video : SUKIMASWITCH / ZENRYOKU SHOUNEN Music Video Youtube 的評價
employee recognition 在 The Complete Guide To Employee Recognition - Vantage ... 的相關結果
Employee recognition is the act of acknowledging your employees for their contributions. By 'contributions', I don't mean just high performances ... ... <看更多>
employee recognition 在 39 Thoughtful Employee Recognition & Appreciation Ideas 的相關結果
Employee recognition is all about acknowledging the hard work and accomplishments of the individuals and teams within your organization. ... <看更多>
employee recognition 在 Employee Recognition in the Workplace: The Why and How 的相關結果
Employee recognition is the acknowledgment of a company's staff for exemplary performance. Essentially, the goal of employee recognition in the workplace is ... ... <看更多>