พระปรีชาของพระมหากษัตริย์
The wise of the king.Translated
แม่พลอย
บ้านเมืองเราเวลานี้ระส่ำยิ่งกว่าภัยสงคราม ข้าวยากหน้ากากแพง โรคร้ายระบาดความพินาศกำลังจะบังเกิดที่มีคนเอาเงินประเทศมาจ่ายแจก โดยไม่เข้าเรื่องเข้าราวสุดเศร้าใจนักเธอว่าไหมแม่พลอย
แล้วเธอยังพอจำได้ไหมว่าเมื่อครา หลังสงครามโลกครั้งที่2 ล้นเกล้าในหลวงรัชกาลที่9 ท่านเพิ่งครองราชย์ได้ไม่นาน เกิดโรคระบาด เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก แต่ในหลวงของฉันนำพาประเทศให้รอดปลอดภัยมาได้อย่างไร ฉันสะเทือนใจเหลือเกินแล้ว ฉันไปอ่านมาแล้วตื้นตันใจเลยขอเขาเอาเนื้อหาสาระบางส่วนยาวเหยียด มาเผื่อแพร่ให้แม่พลอยและทุกคนได้ตระหนักและตั้งสติกันในวันนี้
___________________________________________
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2489 สืบแทนสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซึ่งเสด็จ สู่สวรรคาลัยโดยกะทันหัน
ขณะนั้นพระองค์ทรงมีพระชนมายุเพียง 18 พรรษา พระองค์ขึ้นครองราชย์หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2488 เพียงปีเดียว
แต่โดยเหตุที่ยังมีพระราชภารกิจต้องศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จึงต้องเสด็จฯกลับไป กระทั่งทรงสำเร็จการศึกษา จึงเสด็จนิวัตกลับประเทศไทยในปี 2492
ช่วงเวลา 3-4 ปีนั้น เป็นช่วงที่ประเทศไทยตกอยู่ในสภาวการณ์สุ่มเสี่ยงทั้งจากการต้องชดใช้หนี้สงคราม และปัญหาเศรษฐกิจที่รุมเร้ารุนแรง เงินในธนาคารแห่งประเทศไทยแทบไม่มี หลังจากถูกญี่ปุ่นยึดเป็นด่านหน้าในการสู้รบกับฝ่ายพันธมิตร เช่นเดียวกับอาหารและทรัพยากรอื่นๆที่ประเทศไทยมี ต้องให้พวกญี่ปุ่นนำไปใช้ประโยชน์ก่อน
แม้ญี่ปุ่นจะประกาศยอมแพ้แล้ว แต่ประเทศและคนไทยยังต้องกัดฟันสู้กับการบูรณะและฟื้นฟูประเทศใหม่ ขณะเดียวกันก็ต้องสู้กับภาวะข้าวยากหมากแพง สินค้าอุปโภค-บริโภคที่มุดลงสู่ตลาดใต้ดิน ทำให้เงินเฟ้อตลอดช่วงสงครามสูงขึ้นเป็น 200-1,000 เปอร์เซ็นต์ เป็นที่มาให้ผู้คนอดอยาก และเจ็บป่วยล้มตายกันจำนวนมากด้วยโรคระบาดที่ไม่อาจรักษาได้
#ขณะที่ช่วงต้นรัชกาลกิจการทางการแพทย์ของไทยยังไม่เจริญก้าวหน้า ขาดแคลนทั้งเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ที่จำเป็น บริการด้านสาธารณสุขก็ไม่แพร่หลาย ผู้เจ็บป่วยที่ยากจนและอยู่ห่างไกลไม่มีโอกาสได้รับการรักษา
#โรคระบาดที่รุนแรงในปีพศ2493และทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากคือ วัณโรค โรคเรื้อน โรคไขสันหลังอักเสบ (โปลิโอ) และอหิวาตกโรค ซึ่งทำให้มีคนไทยตายเฉียบพลันจำนวนมาก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับทราบพระเนตรพระกรรณ ตั้งแต่ที่ทรงนิวัตกลับประเทศไทยในปี 2489 และตลอดช่วงเวลาที่ต้องเสด็จฯกลับไปศึกษาต่อ จึงทรงมีพระราชดำรัสว่า
“...การรักษาความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายเป็นปัจจัยของเศรษฐกิจที่ดีและสังคมที่มั่นคง เพราะร่างกายที่แข็งแรงนั้น โดยปกติจะอำนวยผลให้สุขภาพจิตใจสมบูรณ์ด้วย และเมื่อมีสุขภาพสมบูรณ์ ดีพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว ย่อมมีกำลังทำประโยชน์ สร้างสรรค์ เศรษฐกิจ และสังคมของบ้านเมืองได้เต็มที่ ทั้งไม่เป็นภาระแก่สังคมด้วย คือ เน้นแต่ผู้สร้าง มิใช่ผู้ถ่วงความเจริญ...”
เมื่อทรงทราบว่า สังคมไทยอ่อนแอ และคนไทยเจ็บป่วยด้วยโรคภัยต่างๆมากมาย โดยเฉพาะในช่วงหลังสงครามโลก ซึ่งเป็นเหตุให้ประเทศไทยต้องส่งข้าวให้อังกฤษโดยไม่คิดมูลค่าจากหนี้สงครามที่ญี่ปุ่นดึงไทยเข้าไปร่วมด้วยถึง 1.5 ล้านตัน ขณะที่เศรษฐกิจไทยต้องตกต่ำลงอย่างหนัก ข้าวของเครื่องใช้ที่จำเป็นกลายเป็นสิ่งหายากยิ่ง และต้องเผชิญภาวะยุ่งยากปั่นป่วน เพราะถูกตัดขาดจากบรรดาชาติสัมพันธมิตร
สิ่งแรกที่พระองค์ทรงมุ่งแก้ไขจึงเป็นปัญหาด้านการสาธารณสุข พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์จำนวนมากหรือประมาณ 500,000 บาท เพื่อ สร้างโรงพยาบาล “ปอดเหล็ก” และจัดซื้อเวชภัณฑ์เพื่อสู้กับวัณโรคที่กำลังระบาดหนัก พร้อมกับสนับสนุนให้สภากาชาดไทยผลิตวัคซีน BCG ป้องกันวัณโรค จนกระทั่งทรงปราบวัณโรคสำเร็จในปี 2497
ขณะที่การผลิตวัคซีน BCG เพื่อสู้กับวัณโรคของสภากาชาดไทย ได้ผลเป็นอย่างดีนั้น องค์การสงเคราะห์แม่และเด็กแห่งยูนิเซฟได้สั่งซื้อเพื่อส่งไปให้กับประเทศที่เกิดโรคระบาดเดียวกันนี้ในเอเชียได้ใช้ด้วย
เหตุการณ์นี้ ทำให้พระองค์ทรงมีพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญเพลงพระราชนิพนธ์ “ยามเย็น” พระราชทานแก่วงดนตรีนำไปบรรเลงในงานแสดงดนตรีการกุศลเพื่อหารายได้ช่วยเหลือโครงการรณรงค์ต่อต้านวัณโรคแห่งชาติของสมาคมปราบวัณโรคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ด้วย
พระองค์ยังพระราชทานแบบจำลองเรือรบหลวงศรีอยุธยาซึ่งเป็นผลงานฝีพระหัตถ์ออกประมูลในงานเดียวกัน เพื่อนำรายได้สมทบทุนช่วยเหลือผู้ป่วยวัณโรคซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไปสูงถึง 140,000 คน หรือ 500 คนต่อประชากร 100,000 คน
ในช่วงเวลาเดียวกัน พระราชทานทุนประเดิมเพื่อจัดตั้ง “กองทุนโปลิโอสงเคราะห์” ที่เกิดการระบาดรุนแรงขึ้นในปี 2495 พร้อมออก ประกาศเชิญชวนปวงชาวไทยโดยเสด็จพระราชกุศลด้วยการ “ทรงโซโลแซ็กโซโฟนเพลงตามคำขอ” ทางวิทยุ อ.ส.พระ ราชวังดุสิต
ครั้งนั้น ทำให้ได้เงินจำนวนมากส่งไปพระราชทานแก่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าและมหาวิทยาลัยมหิดล (รพ.ศิริราช) ใช้เป็นทุนก่อสร้างอาคาร และซื้อเวชภัณฑ์เพื่อบำบัดฟื้นฟูผู้ป่วยที่พ้นขีดอันตราย แต่ต้องเป็นอัมพาต
ยังทรงสนับสนุนการค้นคว้าทางวิชาการและก่อสร้างตึก “วชิราลงกรณ์ธาราบำบัด” ไว้เป็นสถานที่รักษาด้วยวิธีทางกายภาพโดยใช้น้ำช่วยพยุงร่างกายระหว่างการบริหารและฟื้นฟูกล้ามเนื้อผู้ป่วยด้วย ผลจากการพัฒนาตามแนวพระราชดำริอย่างต่อเนื่องนี้ ทำให้ปัจจุบันไม่มีรายงานการติดเชื้อโรคโปลิโอ หรือโรคไขสันหลังอักเสบอีกเลย
การระบาดอย่างรุนแรงของโรคร้ายต่างๆในช่วงหลังสงครามโลกดังกล่าว ทำให้คนไทยถูกรุมเร้าด้วย
โรคเรื้อน และอหิวาตกโรคที่มีผลให้ต้องสูญเสียชีวิตกันเป็นจำนวนมาก
นั่นทำให้พระองค์ทรงก่อตั้ง “กองทุนปราบอหิวาตกโรค” ด้วยการให้สภากาชาดไทยจัดซื้ออุปกรณ์เพื่อผลิตวัคซีนได้มากขึ้นอีกหลายเท่าตัว ขณะเดียวกันก็สนับสนุนการจัดหาเครื่องมือเพื่อวิจัยโรค สร้างเครื่องกลั่นน้ำเกลือคุณภาพทัดเทียมต่างชาติขึ้นใช้เอง
และเช่นเดียวกันทรงหาทุนโดยเสด็จพระราชกุศลด้วยการ “เป่าแซ็กโซโฟนตามคำขอ” โดยมีพระบรมราชานุญาตให้ประชาชนโทรศัพท์ขอเพลงผ่านวิทยุ อ.ส.ได้ ทำให้การปราบอหิวาตกโรคของพระองค์สงบลงได้อย่างสิ้นเชิงในเวลาเพียง 1 ปี 5 เดือน นับจากที่ระบาดอย่างรุนแรงในปี 2501
ในปี 2496 ทรงพบโรคภัยอีกโรคขณะเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎร และทอดพระเนตรเห็นผู้ป่วยโรคเรื้อน ซึ่งไม่ได้รับการรักษา และยังคงอยู่ร่วมกับผู้คนปกติทั่วไป จึงพระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ จัดตั้ง “ทุนอานันทมหิดล” แก่กระทรวงสาธารณสุข ให้เป็นทุนเริ่มแรกในการสร้างอาคารสถานพยาบาลโรคเรื้อนขึ้นที่พระประแดง สมุทรปราการ แล้วทรงให้จัดตั้งสถาบันราชประชาสมาสัย เพื่อบำบัดฟื้นฟูและค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับโรคเรื้อน
รวมทั้งฝึกอาชีพให้ผู้ป่วย และสร้างสถานศึกษาเพื่อการอบรมเจ้าหน้าที่ในการบำบัดรักษาผู้ป่วย พร้อมหาสมมติฐานของโรคเพื่อกำจัดโรคนี้ให้หมดไป และทำให้คนไทยหายขาดจากโรคสำเร็จ โดยผู้ป่วยและบุตร 180,000 คนได้รับการรักษาจนหายขาด สามารถดำรงตนเป็นปกติสุขในสังคมได้สมดังพระราชปณิธานที่ตั้งไว้ ขณะเดียวกันยังทำให้ไทยสามารถกำจัดโรคเรื้อนได้สำเร็จเป็นประเทศแรกในภูมิภาคนี้ด้วย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงจัดตั้งหน่วยแพทย์พระราชทาน และพระราชทานเรือ “เวชพาหน์” ในปี 2498 เพื่อออกไปให้บริการประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำ เรือลำนี้จึงนับเป็นเรือบรรเทาทุกข์และรักษาพยาบาลทางน้ำลำแรกและลำเดียวในโลกที่ทรงมุ่งมั่นตั้งพระทัยให้คนไทยหายขาดจากโรคร้ายต่างๆ
ขณะที่การรักษาโรคเรื้อนที่ทำให้ต้องตัดแขนขาของผู้ป่วยก็ได้ทรงจัดตั้งหน่วยแขน-ขาเทียมพระราชทานให้ในปี 2513 พร้อมมีพระราชดำริให้มีการฝึกอบรม “หมอหมู่บ้าน” เพื่อให้ชาวบ้านมีความรู้ด้านการสาธารณสุขพอสมควร เพื่อช่วยเหลือตนเองในท้องถิ่นที่ขาดแคลนสถานพยาบาลต่อเนื่องมาจนถึงในปี 2525
ในข้อมูลของ มูลนิธิปิดทองหลังพระที่ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เป็นเลขาธิการ บันทึกว่า ปี 2492 ซึ่งเสด็จนิวัตกลับมาเยี่ยมพสกนิกรของพระองค์ ทรงมีรับสั่งกับหลวงพยุงเวชศาสตร์ อธิบดีกรมสาธารณสุขว่า “ยาอะไรขาด ถ้าต้องการ ฉันจะหามาให้อีก ฉันอยากเห็นกิจการแพทย์ของเมืองไทยเจริญมากๆ” และเมื่อเสด็จนิวัตกลับประเทศไทย จึงทรงขนยารักษาโรคที่จำเป็นจำนวนมากกลับมาด้วย
มูลนิธิปิดทองหลังพระของคุณชายดิศยังบันทึกเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่หมู่เฮาชาวเราไม่เคยได้รับทราบอีกมากมาย เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยนี้ทำให้รับรู้ว่าทรงงานหนักเพียงใด แม้ในช่วงที่เพิ่งขึ้นครองราชย์ และยังทรงมีพระชนมายุน้อยหากแต่ต้องทรงตัดสินพระทัยช่วยเหลือพสกนิกรของพระองค์ในแทบจะทุกเรื่อง
เช่น ทรงริเริ่มสร้างภาพยนตร์ที่รู้จักกันในนามว่า “ภาพยนตร์ส่วนพระองค์” พระราชทานจัดฉายเพื่อหารายได้ช่วยเหลือทางการแพทย์ อาทิ สร้างตึกอานันทมหิดล ที่ รพ.ศิริราช สร้างตึกวิจัยประสาทที่ รพ.ประสาทพญาไท และพระราชทานทุนวิจัยโรค ประสาทแต่ละชนิดให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
ทรงสร้างอาคารราชสาทิส รพ.สมเด็จเจ้าพระยา เพื่อให้คนไข้มีสถานที่กว้างขวางเพื่อจะได้เดินออกกำลังกายให้มีจิตใจที่ดีขึ้น สร้างตึกวชิราลงกรณ์ สภากาชาดไทย อาคารทางการแพทย์ของ รพ.ภูมิพล เป็นต้น
ในปี พ.ศ.2497 ที่ทรงโปรดเกล้าฯให้ฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ ณ ศาลาเฉลิมกรุง รายได้จากการฉายภาพยนตร์เมื่อ 61 ปีมาแล้วนั้นสูงถึง 444,600.50 บาท กระนั้นก็ยังไม่เพียงพอสำหรับค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง จึงพระราชทานเงินส่วนพระองค์และเงินที่มีผู้โดยเสด็จพระราชกุศลเพิ่มเติมอีกรวม 1,558,561 บาท
เมื่อสร้างอาคารต่างๆเสร็จเรียบร้อย ยังมีเงินคงเหลืออีก 175,064.75 บาท จึงพระราชทานเงินให้สร้างสถาบันอบรมเจ้าหน้าที่และค้นคว้าเรื่องโรคเรื้อนที่สถานพยาบาลพระประแดงในวงเงินประมาณ 1 ล้านบาท
การจะทำให้พสกนิกรที่ยากจนหยุดการทำนาทำไร่แล้วเดินทางไปหาแพทย์เป็นสิ่งที่ยากยิ่ง ในทางตรงข้ามหากเป็นการให้บริการเคลื่อนที่ก็จะเป็นการแก้ปัญหาได้ทางหนึ่ง จึงมีรับสั่งว่า “ฉันต้องการให้หมอช่วยไปดูแลบำบัดทุกข์แก่นักเรียนและประชาชนที่อยู่ในท้องถิ่นกันดารห่างไกลหมอ จะออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมดตามความจำเป็น โดยให้จัดหน่วยเคลื่อนที่โดยรถยนต์ และตระเวนไปตามถนนหนทางในหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลชนบท”
นั่นทำให้คนไทยในถิ่นทุรกันดารมีโอกาสได้พบกับหน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทานมากมาย ตั้งแต่หน่วยทันตกรรม ศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัย แพทย์หู ตา คอ จมูก และโรคภูมิแพ้ หน่วยอบรมหมอหมู่บ้านในพระประสงค์ หน่วยทำอวัยวะเทียมที่พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อก่อตั้งโรงงานผลิตแขน-ขาเทียม และจัดทำโครงการฟื้นฟูสมรรถภาพการทุพพลภาพขึ้น นั่นเอง
พระราชภารกิจที่คนไทยเราไม่เคยได้รับรู้เหล่านี้ ล้วนแต่ได้รับการกล่าวขานจากองค์กรในต่างประเทศมากมาย จึงทรงได้รับรางวัลเหรียญทองด้านการสาธารณสุขระดับสากลเพื่อมวลชน ทั้งจากองค์การอนามัยโลก วิทยาลัยแพทย์รักษาทรวงอกแห่งสหรัฐฯ
เหรียญทองเทิดพระเกียรติในฐานะทรงเป็นผู้นำ ผู้บุกเบิก และผู้ควบคุมปัญหาการขาดสารไอโอดีนในประเทศไทยจากสถาบันที่มีชื่อว่า The International Council for Control of Iodine Deficiency Disorders และรางวัลเหรียญทองสดุดีพระเกียรติในฐานะทรงห่วงใยสุขภาพปอดของประชาคมโลกจากสหพันธ์องค์กรต่อต้านวัณโรค และโรคปอดนานาชาติ
กราบสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณมิรู้ลืม
CR :
https://www.thairath.co.th/content/545303
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過92萬的網紅ochikeron,也在其Youtube影片中提到,This is my favorite healthy high-fiber cake using prune and banana ;) Prune prevents an iron deficiency. Yogurt is good for your intestines. When I s...
「deficiency of iodine」的推薦目錄:
deficiency of iodine 在 Annmitchai Facebook 八卦
แม่พลอย
บ้านเมืองเราเวลานี้ระส่ำระสายยิ่งกว่าภัยสงคราม ข้าวยากหน้ากากแพง โรคระบาดร้ายแรงความพินาศวิบัติกำลังจะบังเกิด ซ้ำร้ายมีคนเอาจะเงินแผ่นดินมาจ่ายแจกโดยไม่เข้าเรื่องเข้าราว สุดเศร้าใจนักเออ..เธอว่าไหมแม่พลอย
แล้วเธอยังพอจำได้ไหมว่าเมื่อครา หลังสงครามโลกครั้งที่2 ล้นเกล้าในหลวงรัชกาลที่9 ท่านเพิ่งครองราชย์ได้ไม่นาน เกิดโรคระบาด เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก แต่ในหลวงของฉันนำพาประเทศให้รอดปลอดภัยมาได้อย่างไร ฉันสะเทือนใจเหลือเกินแล้ว ฉันไปอ่านมาแล้วตื้นตันใจเลยขอเขาเอาเนื้อหาสาระบางส่วนยาวเหยียด มาเผื่อแพร่ให้แม่พลอยและทุกคนได้ตระหนักและตั้งสติกันในวันนี้
___________________________________________
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2489 สืบแทนสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซึ่งเสด็จ สู่สวรรคาลัยโดยกะทันหัน
ขณะนั้นพระองค์ทรงมีพระชนมายุเพียง 18 พรรษา พระองค์ขึ้นครองราชย์หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2488 เพียงปีเดียว
แต่โดยเหตุที่ยังมีพระราชภารกิจต้องศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จึงต้องเสด็จฯกลับไป กระทั่งทรงสำเร็จการศึกษา จึงเสด็จนิวัตกลับประเทศไทยในปี 2492
ช่วงเวลา 3-4 ปีนั้น เป็นช่วงที่ประเทศไทยตกอยู่ในสภาวการณ์สุ่มเสี่ยงทั้งจากการต้องชดใช้หนี้สงคราม และปัญหาเศรษฐกิจที่รุมเร้ารุนแรง เงินในธนาคารแห่งประเทศไทยแทบไม่มี หลังจากถูกญี่ปุ่นยึดเป็นด่านหน้าในการสู้รบกับฝ่ายพันธมิตร เช่นเดียวกับอาหารและทรัพยากรอื่นๆที่ประเทศไทยมี ต้องให้พวกญี่ปุ่นนำไปใช้ประโยชน์ก่อน
แม้ญี่ปุ่นจะประกาศยอมแพ้แล้ว แต่ประเทศและคนไทยยังต้องกัดฟันสู้กับการบูรณะและฟื้นฟูประเทศใหม่ ขณะเดียวกันก็ต้องสู้กับภาวะข้าวยากหมากแพง สินค้าอุปโภค-บริโภคที่มุดลงสู่ตลาดใต้ดิน ทำให้เงินเฟ้อตลอดช่วงสงครามสูงขึ้นเป็น 200-1,000 เปอร์เซ็นต์ เป็นที่มาให้ผู้คนอดอยาก และเจ็บป่วยล้มตายกันจำนวนมากด้วยโรคระบาดที่ไม่อาจรักษาได้
#ขณะที่ช่วงต้นรัชกาลกิจการทางการแพทย์ของไทยยังไม่เจริญก้าวหน้า ขาดแคลนทั้งเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ที่จำเป็น บริการด้านสาธารณสุขก็ไม่แพร่หลาย ผู้เจ็บป่วยที่ยากจนและอยู่ห่างไกลไม่มีโอกาสได้รับการรักษา
#โรคระบาดที่รุนแรงในปีพศ2493และทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากคือ วัณโรค โรคเรื้อน โรคไขสันหลังอักเสบ (โปลิโอ) และอหิวาตกโรค ซึ่งทำให้มีคนไทยตายเฉียบพลันจำนวนมาก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับทราบพระเนตรพระกรรณ ตั้งแต่ที่ทรงนิวัตกลับประเทศไทยในปี 2489 และตลอดช่วงเวลาที่ต้องเสด็จฯกลับไปศึกษาต่อ จึงทรงมีพระราชดำรัสว่า
“...การรักษาความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายเป็นปัจจัยของเศรษฐกิจที่ดีและสังคมที่มั่นคง เพราะร่างกายที่แข็งแรงนั้น โดยปกติจะอำนวยผลให้สุขภาพจิตใจสมบูรณ์ด้วย และเมื่อมีสุขภาพสมบูรณ์ ดีพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว ย่อมมีกำลังทำประโยชน์ สร้างสรรค์ เศรษฐกิจ และสังคมของบ้านเมืองได้เต็มที่ ทั้งไม่เป็นภาระแก่สังคมด้วย คือ เน้นแต่ผู้สร้าง มิใช่ผู้ถ่วงความเจริญ...”
เมื่อทรงทราบว่า สังคมไทยอ่อนแอ และคนไทยเจ็บป่วยด้วยโรคภัยต่างๆมากมาย โดยเฉพาะในช่วงหลังสงครามโลก ซึ่งเป็นเหตุให้ประเทศไทยต้องส่งข้าวให้อังกฤษโดยไม่คิดมูลค่าจากหนี้สงครามที่ญี่ปุ่นดึงไทยเข้าไปร่วมด้วยถึง 1.5 ล้านตัน ขณะที่เศรษฐกิจไทยต้องตกต่ำลงอย่างหนัก ข้าวของเครื่องใช้ที่จำเป็นกลายเป็นสิ่งหายากยิ่ง และต้องเผชิญภาวะยุ่งยากปั่นป่วน เพราะถูกตัดขาดจากบรรดาชาติสัมพันธมิตร
สิ่งแรกที่พระองค์ทรงมุ่งแก้ไขจึงเป็นปัญหาด้านการสาธารณสุข พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์จำนวนมากหรือประมาณ 500,000 บาท เพื่อ สร้างโรงพยาบาล “ปอดเหล็ก” และจัดซื้อเวชภัณฑ์เพื่อสู้กับวัณโรคที่กำลังระบาดหนัก พร้อมกับสนับสนุนให้สภากาชาดไทยผลิตวัคซีน BCG ป้องกันวัณโรค จนกระทั่งทรงปราบวัณโรคสำเร็จในปี 2497
ขณะที่การผลิตวัคซีน BCG เพื่อสู้กับวัณโรคของสภากาชาดไทย ได้ผลเป็นอย่างดีนั้น องค์การสงเคราะห์แม่และเด็กแห่งยูนิเซฟได้สั่งซื้อเพื่อส่งไปให้กับประเทศที่เกิดโรคระบาดเดียวกันนี้ในเอเชียได้ใช้ด้วย
เหตุการณ์นี้ ทำให้พระองค์ทรงมีพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญเพลงพระราชนิพนธ์ “ยามเย็น” พระราชทานแก่วงดนตรีนำไปบรรเลงในงานแสดงดนตรีการกุศลเพื่อหารายได้ช่วยเหลือโครงการรณรงค์ต่อต้านวัณโรคแห่งชาติของสมาคมปราบวัณโรคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ด้วย
พระองค์ยังพระราชทานแบบจำลองเรือรบหลวงศรีอยุธยาซึ่งเป็นผลงานฝีพระหัตถ์ออกประมูลในงานเดียวกัน เพื่อนำรายได้สมทบทุนช่วยเหลือผู้ป่วยวัณโรคซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไปสูงถึง 140,000 คน หรือ 500 คนต่อประชากร 100,000 คน
ในช่วงเวลาเดียวกัน พระราชทานทุนประเดิมเพื่อจัดตั้ง “กองทุนโปลิโอสงเคราะห์” ที่เกิดการระบาดรุนแรงขึ้นในปี 2495 พร้อมออก ประกาศเชิญชวนปวงชาวไทยโดยเสด็จพระราชกุศลด้วยการ “ทรงโซโลแซ็กโซโฟนเพลงตามคำขอ” ทางวิทยุ อ.ส.พระ ราชวังดุสิต
ครั้งนั้น ทำให้ได้เงินจำนวนมากส่งไปพระราชทานแก่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าและมหาวิทยาลัยมหิดล (รพ.ศิริราช) ใช้เป็นทุนก่อสร้างอาคาร และซื้อเวชภัณฑ์เพื่อบำบัดฟื้นฟูผู้ป่วยที่พ้นขีดอันตราย แต่ต้องเป็นอัมพาต
ยังทรงสนับสนุนการค้นคว้าทางวิชาการและก่อสร้างตึก “วชิราลงกรณ์ธาราบำบัด” ไว้เป็นสถานที่รักษาด้วยวิธีทางกายภาพโดยใช้น้ำช่วยพยุงร่างกายระหว่างการบริหารและฟื้นฟูกล้ามเนื้อผู้ป่วยด้วย ผลจากการพัฒนาตามแนวพระราชดำริอย่างต่อเนื่องนี้ ทำให้ปัจจุบันไม่มีรายงานการติดเชื้อโรคโปลิโอ หรือโรคไขสันหลังอักเสบอีกเลย
การระบาดอย่างรุนแรงของโรคร้ายต่างๆในช่วงหลังสงครามโลกดังกล่าว ทำให้คนไทยถูกรุมเร้าด้วย
โรคเรื้อน และอหิวาตกโรคที่มีผลให้ต้องสูญเสียชีวิตกันเป็นจำนวนมาก
นั่นทำให้พระองค์ทรงก่อตั้ง “กองทุนปราบอหิวาตกโรค” ด้วยการให้สภากาชาดไทยจัดซื้ออุปกรณ์เพื่อผลิตวัคซีนได้มากขึ้นอีกหลายเท่าตัว ขณะเดียวกันก็สนับสนุนการจัดหาเครื่องมือเพื่อวิจัยโรค สร้างเครื่องกลั่นน้ำเกลือคุณภาพทัดเทียมต่างชาติขึ้นใช้เอง
และเช่นเดียวกันทรงหาทุนโดยเสด็จพระราชกุศลด้วยการ “เป่าแซ็กโซโฟนตามคำขอ” โดยมีพระบรมราชานุญาตให้ประชาชนโทรศัพท์ขอเพลงผ่านวิทยุ อ.ส.ได้ ทำให้การปราบอหิวาตกโรคของพระองค์สงบลงได้อย่างสิ้นเชิงในเวลาเพียง 1 ปี 5 เดือน นับจากที่ระบาดอย่างรุนแรงในปี 2501
ในปี 2496 ทรงพบโรคภัยอีกโรคขณะเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎร และทอดพระเนตรเห็นผู้ป่วยโรคเรื้อน ซึ่งไม่ได้รับการรักษา และยังคงอยู่ร่วมกับผู้คนปกติทั่วไป จึงพระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ จัดตั้ง “ทุนอานันทมหิดล” แก่กระทรวงสาธารณสุข ให้เป็นทุนเริ่มแรกในการสร้างอาคารสถานพยาบาลโรคเรื้อนขึ้นที่พระประแดง สมุทรปราการ แล้วทรงให้จัดตั้งสถาบันราชประชาสมาสัย เพื่อบำบัดฟื้นฟูและค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับโรคเรื้อน
รวมทั้งฝึกอาชีพให้ผู้ป่วย และสร้างสถานศึกษาเพื่อการอบรมเจ้าหน้าที่ในการบำบัดรักษาผู้ป่วย พร้อมหาสมมติฐานของโรคเพื่อกำจัดโรคนี้ให้หมดไป และทำให้คนไทยหายขาดจากโรคสำเร็จ โดยผู้ป่วยและบุตร 180,000 คนได้รับการรักษาจนหายขาด สามารถดำรงตนเป็นปกติสุขในสังคมได้สมดังพระราชปณิธานที่ตั้งไว้ ขณะเดียวกันยังทำให้ไทยสามารถกำจัดโรคเรื้อนได้สำเร็จเป็นประเทศแรกในภูมิภาคนี้ด้วย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงจัดตั้งหน่วยแพทย์พระราชทาน และพระราชทานเรือ “เวชพาหน์” ในปี 2498 เพื่อออกไปให้บริการประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำ เรือลำนี้จึงนับเป็นเรือบรรเทาทุกข์และรักษาพยาบาลทางน้ำลำแรกและลำเดียวในโลกที่ทรงมุ่งมั่นตั้งพระทัยให้คนไทยหายขาดจากโรคร้ายต่างๆ
ขณะที่การรักษาโรคเรื้อนที่ทำให้ต้องตัดแขนขาของผู้ป่วยก็ได้ทรงจัดตั้งหน่วยแขน-ขาเทียมพระราชทานให้ในปี 2513 พร้อมมีพระราชดำริให้มีการฝึกอบรม “หมอหมู่บ้าน” เพื่อให้ชาวบ้านมีความรู้ด้านการสาธารณสุขพอสมควร เพื่อช่วยเหลือตนเองในท้องถิ่นที่ขาดแคลนสถานพยาบาลต่อเนื่องมาจนถึงในปี 2525
ในข้อมูลของ มูลนิธิปิดทองหลังพระที่ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เป็นเลขาธิการ บันทึกว่า ปี 2492 ซึ่งเสด็จนิวัตกลับมาเยี่ยมพสกนิกรของพระองค์ ทรงมีรับสั่งกับหลวงพยุงเวชศาสตร์ อธิบดีกรมสาธารณสุขว่า “ยาอะไรขาด ถ้าต้องการ ฉันจะหามาให้อีก ฉันอยากเห็นกิจการแพทย์ของเมืองไทยเจริญมากๆ” และเมื่อเสด็จนิวัตกลับประเทศไทย จึงทรงขนยารักษาโรคที่จำเป็นจำนวนมากกลับมาด้วย
มูลนิธิปิดทองหลังพระของคุณชายดิศยังบันทึกเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่หมู่เฮาชาวเราไม่เคยได้รับทราบอีกมากมาย เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยนี้ทำให้รับรู้ว่าทรงงานหนักเพียงใด แม้ในช่วงที่เพิ่งขึ้นครองราชย์ และยังทรงมีพระชนมายุน้อยหากแต่ต้องทรงตัดสินพระทัยช่วยเหลือพสกนิกรของพระองค์ในแทบจะทุกเรื่อง
เช่น ทรงริเริ่มสร้างภาพยนตร์ที่รู้จักกันในนามว่า “ภาพยนตร์ส่วนพระองค์” พระราชทานจัดฉายเพื่อหารายได้ช่วยเหลือทางการแพทย์ อาทิ สร้างตึกอานันทมหิดล ที่ รพ.ศิริราช สร้างตึกวิจัยประสาทที่ รพ.ประสาทพญาไท และพระราชทานทุนวิจัยโรค ประสาทแต่ละชนิดให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
ทรงสร้างอาคารราชสาทิส รพ.สมเด็จเจ้าพระยา เพื่อให้คนไข้มีสถานที่กว้างขวางเพื่อจะได้เดินออกกำลังกายให้มีจิตใจที่ดีขึ้น สร้างตึกวชิราลงกรณ์ สภากาชาดไทย อาคารทางการแพทย์ของ รพ.ภูมิพล เป็นต้น
ในปี พ.ศ.2497 ที่ทรงโปรดเกล้าฯให้ฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ ณ ศาลาเฉลิมกรุง รายได้จากการฉายภาพยนตร์เมื่อ 61 ปีมาแล้วนั้นสูงถึง 444,600.50 บาท กระนั้นก็ยังไม่เพียงพอสำหรับค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง จึงพระราชทานเงินส่วนพระองค์และเงินที่มีผู้โดยเสด็จพระราชกุศลเพิ่มเติมอีกรวม 1,558,561 บาท
เมื่อสร้างอาคารต่างๆเสร็จเรียบร้อย ยังมีเงินคงเหลืออีก 175,064.75 บาท จึงพระราชทานเงินให้สร้างสถาบันอบรมเจ้าหน้าที่และค้นคว้าเรื่องโรคเรื้อนที่สถานพยาบาลพระประแดงในวงเงินประมาณ 1 ล้านบาท
การจะทำให้พสกนิกรที่ยากจนหยุดการทำนาทำไร่แล้วเดินทางไปหาแพทย์เป็นสิ่งที่ยากยิ่ง ในทางตรงข้ามหากเป็นการให้บริการเคลื่อนที่ก็จะเป็นการแก้ปัญหาได้ทางหนึ่ง จึงมีรับสั่งว่า “ฉันต้องการให้หมอช่วยไปดูแลบำบัดทุกข์แก่นักเรียนและประชาชนที่อยู่ในท้องถิ่นกันดารห่างไกลหมอ จะออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมดตามความจำเป็น โดยให้จัดหน่วยเคลื่อนที่โดยรถยนต์ และตระเวนไปตามถนนหนทางในหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลชนบท”
นั่นทำให้คนไทยในถิ่นทุรกันดารมีโอกาสได้พบกับหน่วยแพทย์เคลื่อนที่พระราชทานมากมาย ตั้งแต่หน่วยทันตกรรม ศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัย แพทย์หู ตา คอ จมูก และโรคภูมิแพ้ หน่วยอบรมหมอหมู่บ้านในพระประสงค์ หน่วยทำอวัยวะเทียมที่พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อก่อตั้งโรงงานผลิตแขน-ขาเทียม และจัดทำโครงการฟื้นฟูสมรรถภาพการทุพพลภาพขึ้น นั่นเอง
พระราชภารกิจที่คนไทยเราไม่เคยได้รับรู้เหล่านี้ ล้วนแต่ได้รับการกล่าวขานจากองค์กรในต่างประเทศมากมาย จึงทรงได้รับรางวัลเหรียญทองด้านการสาธารณสุขระดับสากลเพื่อมวลชน ทั้งจากองค์การอนามัยโลก วิทยาลัยแพทย์รักษาทรวงอกแห่งสหรัฐฯ
เหรียญทองเทิดพระเกียรติในฐานะทรงเป็นผู้นำ ผู้บุกเบิก และผู้ควบคุมปัญหาการขาดสารไอโอดีนในประเทศไทยจากสถาบันที่มีชื่อว่า The International Council for Control of Iodine Deficiency Disorders และรางวัลเหรียญทองสดุดีพระเกียรติในฐานะทรงห่วงใยสุขภาพปอดของประชาคมโลกจากสหพันธ์องค์กรต่อต้านวัณโรค และโรคปอดนานาชาติ
กราบสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณมิรู้ลืม
CR :
https://www.thairath.co.th/content/545303
deficiency of iodine 在 辣媽英文天后 林俐 Carol Facebook 八卦
海草~海草~海草~
海草~海草~海草~
漁村子女俐媽在「海帶特展」~
———————————————
❤️ 俐媽英文教室:
🌊 seaweed (n.) 海草
🌊 edible (a.) 可食用的
🌊 algae (n.) 藻類(可別念成「阿給」哦🤣)
🌊 onigiri (n.) 御飯團🍙
🌊 kelp (n.) 海帶
* anatomical (a.) 結構上的
* adhesive (a.) 黏著的
* stalk (n.) 柄
* coast (n.) 海岸
* peninsula (n.) 半島
* reproduce (v.) 繁殖
* culture (v.) 養殖
🌊 kombu (n.) 昆布
* cuisine (n.) 菜餚
* intangible (a.) 無形的
* asset (n.) 資產
* category (n.) 類型
🌊 laver (n.) 紫菜
* flake (n.) 片狀
* strip (n.) 細長條狀
* artificial breeding 人工養殖
————————————————
🥗 海帶的價值:
* prevent and treat “iodine deficiency goiter” 預防治療缺碘性甲狀腺腫
* expel phlegm and treat asthma 化痰平喘
* lower blood-lipid 降血脂
* serve as coronary vasodilators 冠狀動脈血管擴張藥
* be anti-tumor 抑癌/抑腫瘤
* lower cholesterol 降膽固醇
* have laxative effects 潤腸通便
* treat burns and scalds and accelerate wound healing 加速燒燙傷傷口癒合
* inhibit the accumulation of lead and tin in the body 抑制體內的鉛、錫累積
* improve urinary protein content 改善尿蛋白含量
* serve as osmotic diuretics 滲透性利尿劑
* treat renal failures 治療腎功能衰竭
* lower serum creatinine 降低血肌酸酐
————————————————
🌏 我們一起愛海洋、愛地球:
* carbon emission 碳排放量
* global warming 全球暖化
* litter (v.) 亂丟垃圾
* maintain (v.) 維持
* marine (a.) 海洋的
* sustainability (n.) 永續性
———————————————
#俐媽英文教室 #辣媽英文天后林俐carol #海帶特展 #海帶 #昆布 #紫菜 #kombu #kelp #laver #seaweed #marinesustainability #onigiri #marineresources #keelung #keelungcity
deficiency of iodine 在 ochikeron Youtube 的評價
This is my favorite healthy high-fiber cake using prune and banana ;) Prune prevents an iron deficiency. Yogurt is good for your intestines.
When I say healthy, it doesn't mean fat-free or sugar-free because moderate amount of fat and/or sugar is not at all bad for your health, and makes the cake tasty delicious :D
You can substitute the prune with apple! Yummy, too!!!
Happy beauty cake for women!!!
---------------------------------
Prune And Banana Yogurt Cake
Difficulty: Easy
Time: 45min
Number of servings: 20cm (8inch) pie dish
Ingredients:
100g (3.5oz.) prunes
1 banana
50g (1.7oz.) butter
5 tbsp. sugar
2 eggs
150g (5.2oz.) plain yogurt (unsweetened)
100g (3.5oz.) flour
1 tsp. baking powder
butter
flour
powdered sugar
Directions:
1. Preheat oven to 200 degrees C (392 degrees F). Butter and flour a 20cm (8inch) pie dish.
2. Thinly slice banana. Tear prunes into small bits. Keep butter in room temperature.
3. In a large bowl, mix butter and sugar. Then add eggs and plain yogurt and mix until smooth.
4. Sift in flour and baking powder a small amount at a time, and mix well.
5. Pour half of the mixture in the dish, arrange prune bits and banana slices on the mixture, pour the remaining mixture over them.
6. Bake at 200 degrees C (392 degrees F) for 25 minutes, or until lightly browned. (Depending on the heat of the oven, cooking time may differ, so please watch out.)
7. You can either eat at room temperature or chilled! Lightly sprinkle with powdered sugar, and serve with a scoop or vanilla ice cream if you want ;)
↓レシピ(日本語)
http://cooklabo.blogspot.com/2010/08/blog-post_12.html
---------------------------------
Product Details:
Lakanto: 100% Natural Sweetener made from Chinese fruit called 羅漢果 (Luo Han Guo)
http://www.lakanto.jp/english/
http://www.sarayahealth.com/
Yodoran Hikari: Hikari brand of iodine-enriched eggs (premium egg in Japan!)
http://www.nosan.co.jp/english/index.htm
What is Cake Flour?
http://createeathappy.blogspot.jp/2012/05/what-is-cake-flour.html
I use Steam Microwave Oven (national NE-SS30A). Talking oven is kind of standard in Japan. Especially when you get a Microwave Oven it talks. LoL
Music by
Clémentine
はじめてのチュウ
♥Please Subscribe♥
http://www.youtube.com/ochikeron
♥Facebook Fan Page♥ Please "Like" me ;)
http://www.facebook.com/Ochikeron/
♥Visit my Blog for more Recipes♥
http://createeathappy.blogspot.com/
♥My Recipe Posts♥
http://cookeatshare.com/chefs/ochikeron-137433
http://cookpad.com/ami (Japanese)
♥Follow me on twitter♥
http://twitter.com/ochikeron
http://twitter.com/alohaforever (Japanese)
deficiency of iodine 在 Seven Reasons Why You Might Be Deficient in Iodine 的八卦
What causes iodine deficiency ? Find out the 7 surprising reasons why you are deficient in iodine. Check out Dr. Berg's Potassium ... ... <看更多>