กาลครั้งหนึ่ง 'เจ้าชาย' (Dan Stevens) ได้ถูกแม่มดสาปเอาไว้ให้เขากลายเป็นอสูร หนทางเดียวที่จะถอนคำสาปนั้นได้คือต้องรู้จักรักใครสักคนและได้รับความรักตอบจากเธอก่อนดอกกุหลาบวิเศษกลีบสุดท้ายจะร่วงหล่น ส่วน 'เบลล์' (Emma Watson) เป็นหญิงสาวที่รักการอ่านหนังสือจนถูกคนในหมู่บ้านมองด้วยความตลกขบขัน วันหนึ่งพ่อของเธอถูกอสูรจับตัวขังไว้ในปราสาทข้อหาขโมยดอกกุหลาบในปราสาท เธอจึงเสียสละยอมถูกขังตลอดกาลแทนพ่อของเธอ และนั่นก็เป็นจุดเริ่มต้นให้โฉมงามและอสูรได้เรียนรู้ทำความรู้จักกัน
เขียนถึง 'แกสตัน' (Luke Evans) ก่อนละกัน จริง ๆ ในนิทานดั้งเดิมไม่มีตัวละครนี้นะ มาเริ่มมีตอนฉบับหนังฝรั่งเศสปี 1946 พอดิสนี่ย์สร้างแอนิเมชั่นของตัวเองปี 1991 ก็หยิบเอามาเป็นแรงบันดาลใจอ้างอิงในการเขียนบทจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งถือเป็นการเสริมเนื้อเรื่องที่ดีมากเพราะแกสตันถูกนำมาใช้เทียบกับอสูรให้เห็นภาพธีมของเรื่องได้อย่างชัดเจน กล่าวคืออสูรที่แท้จริงพิจารณาจากจิตใจไม่ใช่รูปลักษณ์ภายนอก บทของแกสตันจะเป็นหนุ่มล่ำบึ้กที่ผู้ชายทุกคนใฝ่ฝันอยากจะเป็นแบบเขา ส่วนสาว ๆ ก็หมายปองอยากได้เป็นสามี ทั้งหมดนี้คือการพิจารณาจากเปลือกนอกล้วน ๆ กลับกันเจ้าชายอสูนนั้นมีรูปลักษณ์น่าเกลียดน่ากลัวไม่ชวนให้คนอยากอยู่ใกล้แต่ลึก ๆ ข้างในจิตใจมีความเมตตาอ่อนโยนซ่อนอยู่
แล้วความรักของเบลล์เนี่ยถือเป็นการมองทะลุเปลือกนอกของอสูรไปทั้งหมด หนังมันก้าวข้ามการตกหลุมรักจากรูปร่างหน้าตาไปสำรวจตัวตนข้างในของทั้งสองคน ส่วนหนึ่งที่เราชอบเวอร์ชั่นนี้คือการหยอดปมวัยเด็กของทั้งสองคน มันอาจจะไม่ได้เล่าเยอะแบบให้ความสำคัญแต่พอเรารู้ว่าวัยเด็กของเจ้าชายหลังสูญเสียแม่แล้วถูกพ่อเลี้ยงดูมาจนกลายเป็นคนเห็นแก่ตัวไร้น้ำใจ มันก็ทำให้เราพอเข้าใจและสัมผัสได้ถึงความเปลี่ยนแปลงของเขา เช่นเดียวกับบทของเบลล์ที่มีการเล่าถึงการสูญเสียแม่ตั้งแต่ยังเป็นทารก คือพอทั้งสองคนได้สัมผัสปมวัยเด็กของกันและกันมันทำให้เรารู้สึกว่าพวกเขาดูเป็นมนุษย์ที่จับต้องได้มากกว่าตัวละครราบเรียบในแอนิเมชั่น
มนต์เสน่ห์ดั้งเดิมยังอยู่ครบถ้วน ทั้งดอกกุหลาบสีแดง, ความมีชีวิตชีวาของเหล่าเครื่องใช้ในปราสาท, ฉากเต้นรำแบบเทพนิยาย, และไคลแม็กซ์ที่ทำให้เราตกหลุมรัก Beauty and the Beast คือฉากคลาสสิกที่เจ้าชายคืนร่างแล้วเบลล์จะต้องมองนัยน์ตาเพื่อค้นหาตัวตนของอสูรที่เธอรู้จัก ยอมรับเลยว่าฉากนี้ฟินมาก ยิ่งมาดูฉบับหนังยิ่งรู้สึกฟินเพราะมันเห็นชัดว่าหญิงสาวมองข้ามความหล่อเหลาของเจ้าชายเพื่อจะเช็คให้แน่ใจว่าผู้ชายตรงหน้าของเธอคือคน ๆ เดียวกับที่เธอรู้จักและตกหลุมรัก ฉากโคลสอัพนัยน์ตาคือไฮไลท์ที่ยืนยันความคลาสสิกของโฉมงามกับอสูรโดยแท้จริง
「beauty and the beast (1946)」的推薦目錄:
- 關於beauty and the beast (1946) 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook
- 關於beauty and the beast (1946) 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook
- 關於beauty and the beast (1946) 在 Facebook
- 關於beauty and the beast (1946) 在 Beauty and the Beast (1946) - Trailer - YouTube 的評價
- 關於beauty and the beast (1946) 在 Beauty and the Beast (1946) documentary, Jean Cocteau 的評價
- 關於beauty and the beast (1946) 在 "Beauty and the Beast" (1946) - Pinterest 的評價
beauty and the beast (1946) 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 八卦
== How to แต่งตัวสไตล์เบลล์จาก Beauty and the Beast ==
เชื่อว่าหนึ่งในหนังที่สาว ๆ หลายคนรอคอยประจำเดือนนี้คือ Beauty and the Beast ฉบับคนแสดงกันอย่างแน่นอน เราเองก็เป็นคนหนึ่งที่เคยประทับใจกับความโรแมนติกของโฉมงามกับเจ้าชายอสูรฉบับแอนิเมชั่นเมื่อปี 1991 เรื่องราวของความรักที่มองข้ามรูปลักษณ์ภายนอกเข้าไปสำรวจความดีงามข้างในตัวตนของกันและกัน และที่สำคัญคือฉากเต้นรำสุดตราตรึงยิ่งถ้าใครได้ดูในสมัยนั้นคงต้องทึ่งกับภาพการเคลื่อนไหวต่อเนื่องราวกับมีเวทมนตร์
Beauty and the Beast เล่าเรื่องของ 'เจ้าชาย' ที่ต้องคำสาปให้กลายเป็นอสูร หนทางเดียวที่จะถอนคำสาปนั้นได้คือต้องรู้จักรักใครสักคนและได้รับความรักตอบจากเธอก่อนดอกกุหลาบวิเศษกลีบสุดท้ายจะร่วงหล่น และโอกาสนั้นก็มาถึงเมื่อเขาได้พบกับ 'เบลล์' หญิงสาวที่เสนอตัวถูกจองจำในปราสาทแทนพ่อของเธอ ซึ่งความใกล้ชิดทำให้ทั้งคู่ได้เรียนรู้นิสัยของกันและกัน
ที่เราชอบ Beauty and the Beast ตอนนั้นอีกอย่างคือการสร้างตัวละคร 'แกสตัน' ขึ้นมาใหม่เพราะในนิทานดั้งเดิมไม่มีตัวละครนี้ พูดง่าย ๆ ว่าไม่มีตัวร้ายแต่ว่าคนเขียนบทได้แรงบันดาลใจมาจากฉบับหนังฝรั่งเศสปี 1946 ซึ่งพอมีแกสตันในเรื่องจึงทำให้คำว่า อสูร มันเป็นการเปรียบเทียบชัดเจนดี กล่าวคือแกสตันนั้นรูปลักษณ์ภายนอกเป็นหนุ่มหล่อขวัญใจสาว ๆ ดูดีทุกอย่างแต่ภายในจิตใจชั่วร้ายและเห็นแก่ตัว ขณะเดียวกันเจ้าชายนั้นมีรูปลักษณ์ของอสูรที่ผู้คนต่างหวาดกลัวแต่ลึก ๆ ข้างในจิตใจมีความดีงามอยู่ ซึ่งเบลล์คือคนที่ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงความก้าวร้าวของเจ้าชายอสูรให้กลายเป็นคนอ่อนโยนและรู้จักว่าความรักคือความเสียสละ
เบลล์คือหนึ่งในเจ้าหญิงที่เราชื่นชอบลำดับต้น ๆ ในแง่ของตัวละครที่ความรักถูกบอกเล่าในเรื่องของความเสียสละและการมองลึกลงไปในจิตใจ แต่สำหรับสาว ๆ หลายคนที่ได้เห็น 'เอ็มม่า วัตสัน' แสดงเป็นเบลล์ในตัวอย่างหนังล่าสุดที่มาพร้อมชุดเดรสหรูหราสง่างาม และยังมีชุดน่ารักสวีทหวานชวนฝันก็อาจจะมีโมเม้นต์ว่าอยากแต่งตัวแบบเบลล์บ้าง วันนี้เราจึงขอแนะนำคอลเล็คชั่นล่าสุดจาก JASPAL ซึ่งได้แรงบันดาลใจมาจากหนังเรื่อง Beauty and the Beast ที่หยิบเอาอัตลักษณ์ของเบลล์และผองเพื่อนในปราสาท รวมถึง 'ดอกกุหลาบสีแดง' อันเป็นภาพจดจำของเรื่องมาเนรมิตให้เป็นชุดเสื้อผ้าที่สามารถสวมใส่ได้ทุกวัยในทุกโอกาส
ตอนนี้ Jaspal 'Beauty and the Beast' Collection วางจำหน่ายแล้วที่ร้าน Jaspal ทุกสาขาทั่วประเทศ
beauty and the beast (1946) 在 Facebook 八卦
【馬丁.史柯西斯精選:電影人必看39部非英語電影】
.
2006年,一名剛獲得紐約的短片競賽的美國新銳導演柯林.李維(Colin Levy)有幸與馬丁.史柯西斯(Martin Scorsese)相會。年輕的李維雖然已經開始創作,但是他對電影史不熟,不僅外國電影看得少,甚至連史柯西斯的《計程車司機 Taxi Driver》(1976)和《蠻牛 Raging Bull》(1980)都沒看過。
.
李維問史柯西斯,自己該從哪裡開始。向來支持新導演的史柯西斯慷慨地提供了李維自己的觀影建議,他列出了39部必看的非英語電影。熟悉史柯西斯的影迷都會知道這份名單有多珍貴,因為他可能是涉獵全球電影最廣、最深的一位電影導演。
.
在這份名單之中,仍以歐洲電影為主,包括考克多(Jean Cocteau)、狄.西嘉(Vittorio De Sica)、維斯康提(Luchino Visconti)、羅塞里尼(Roberto Rossellini)、楚浮(Francois Truffaut)、高達(Jean-Luc Godard)、安東尼奧尼(Michelangelo Antonioni)、法斯賓達(Rainer Werner Fassbinder)、溫德斯(Wim Wenders)、荷索(Werner Herzog)之作都獲得點名。日本導演如小津安二郎、溝口健二、黑澤明、大島渚亦有作品入選。
.
.
列表如下(依照史柯西斯個人的排序):
《大都會 Metropolis》(1927)
《吸血鬼 Nosferatu》(1922)
《賭徒馬布斯 Dr. Mabuse the Gambler》(1922)
《拿破崙 Napoleon》(1927)
《遊戲規則 The Rules of the Game》(1939)
《天堂的孩子 Children of Paradise》(1945)
《不設防城市 Rome, Open City》(1945)
《老鄉 Paisan》(1946)
《大地震動 La Terra Trema》(1948)
《單車失竊記 Bicycle Thieves》(1948)
《退休生活 Umberto D》(1952)
《美女與野獸 Beauty and the Beast》(1946)
《東京物語 Tokyo Story》(1953)
《生之慾 Ikiru》(1952)
《七武士 Seven Samurai》(1954)
《雨月物語 Ugetsu》(1953)
《山椒大夫 Sansho the Bailiff》(1954)
《天國與地獄 High and Low》(1963)
《曼哈頓的大人物 Big Deal on Madonna Street》(1958)
《洛可兄弟 Rocco and His Brothers》(1960)
《四百擊 The 400 Blows》(1959)
《槍殺鋼琴師 Shoot the Piano Player》(1960)
《斷了氣 Breathless》(1960)
《不法之徒 Band of Outsiders》(1964)
《安逸人生 Il Sorpasso》(1962)
《情事 L'Avventura》(1960)
《春光乍現 Blow-Up》(1966)
《革命前夕 Before the Revolution》(1964)
《屠夫 Le Boucher》(1970)
《週末 Weekend》(1967)
《絞死刑 Death by Hanging》(1968)
《與四季交易的商人 The Merchant of Four Seasons》(1971)
《恐懼吞噬心靈 Ali: Fear Eats the Soul》(1974)
《瑪麗布朗的婚姻 The Marriage of Maria Braun》(1978)
《公路之王 Kings of the Road》(1976)
《美國朋友 The American Friend》(1977)
《賈斯伯荷西之謎 The Mystery of Kaspar Hauser》(1974)
《天譴 Aguirre, the Wrath of God》(1972)
.
你看了幾部呢?
.
.
(圖為馬丁.史柯西斯。 來源:Victoria Will/Invision/AP)
beauty and the beast (1946) 在 "Beauty and the Beast" (1946) - Pinterest 的八卦
“Beauty and the Beast” (1946) · Fairy tales are preoccupied with subjects so weird yet familiar that it's no wonder we're still thinking about them. At heart ... ... <看更多>
beauty and the beast (1946) 在 Beauty and the Beast (1946) - Trailer - YouTube 的八卦
... <看更多>