又有香港之光!香港天文發燒友Alfred Lee日前拍得精采的「UFO雲」,被美國太空總署 NASA採用刊登在網頁上,這種莢狀雲(Lenticular Cloud)在香港極少出現。去看看:
http://apod.nasa.gov/apod/ap160302.html
#Photonews #Photography #攝影 #香港之光
============================
我們另一個page有更多攝影技術、器材post,請去睇睇
www.facebook.com/photomagazine.hk/
先〔讚好〕再設定〔搶先看 / See First〕
click 入 http://photonews.hk 大量攝影教學
〔攝影同學會〕分享作品 - https://goo.gl/HOn4Ky
〔香港二手相機〕執平機 - https://goo.gl/axU8yb
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過10萬的網紅ΣSigma二次元解密,也在其Youtube影片中提到,►訂閱以獲得更多遊戲資訊 https://www.youtube.com/channel/UCF4r7ZrULUjwkA1mfo-MC9g?sub_confirmation=1 ►追蹤我們的FB粉專以獲得我們的更新資訊 https://www.facebook.com/FromTheOtherWo...
apod 在 Facebook 八卦
APOD計畫,是NASA 和密西根理工大學共同支援的 Astronomy Picture of the Day (APOD) ,每天提供一幅不同的宇宙影像,並請專業的天文學家簡單說明特色。
這麼好的內容,但都是英文看不懂怎麼辦?
沒關係!
逐工一幅天文圖 APOD Taigi 和美國取得正式授權,並協助把這麼多優質的天文美圖和知識都翻譯成台語版。很開心獲得邀請,能一起來用台語向大家介紹宇宙知識。
除了和大家介紹逐工一幅天文圖,我也要點名曾玟學 苗栗縣議員 ,出來打球啊(X),出來用台語唸宇宙專有名詞啊!
--
點這裡去聽我到底介紹了什麼👇
https://www.facebook.com/APOD.Taigi/photos/a.111068994277521/167374325313654/
apod 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 八卦
เราเห็นดวงจันทร์เหมือนกันหรือไม่?
แน่นอนว่ามนุษย์ทุกคนบนโลกเห็นดวงจันทร์ดวงเดียวกัน แต่หากเราทุกคนบนโลกพยายามจะมองดวงจันทร์พร้อมกัน ภาพดวงจันทร์ที่ปรากฏจะแตกต่างกันเล็กน้อย
อันดับแรก ประชากรครึ่งหนึ่งบนโลกจะมองไม่เห็นดวงจันทร์ เนื่องจากพวกเขาจะอยู่บนโลกบริเวณที่หันออกไปจากดวงจันทร์ ส่วนประชากรที่เห็นดวงจันทร์นั้น จะเห็นตำแหน่งของดวงจันทร์แตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อเทียบกับดาวเบื้องหลัง เนื่องจากดวงจันทร์นั้นมีระยะห่างที่ใกล้กว่าดาวฤกษ์มาก ซึ่งเราสามารถเห็นความแตกต่างได้โดยใช้ระยะห่างระหว่างผู้สังเกตเพียงแค่จากเชียงใหม่ไปกรุงเทพ โดยหากเราสามารถวัดมุมมองของดวงจันทร์ที่เปลี่ยนไป เทียบกับระยะห่างระหว่างผู้สังเกต เราก็จะสามารถคำนวณระยะทางถึงดวงจันทร์ได้ วิธีนี้เรียกว่าพารัลแลกซ์ดวงจันทร์ ซึ่งเป็นหลักการเดียวกับที่มนุษย์ใช้วัดระยะทางถึงวัตถุทุกอย่างในชีวิตประจำวันโดยการเปรียบเทียบมุมที่แตกต่างกันระหว่างตาซ้ายกับตาขวา
วิธีการวัดพารัลแลกซ์ดวงจันทร์นั้นมีการวัดกันมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ โดยอริสตาร์คัส ฮิปปาร์คัส และพโทเลมี และสามารถทำได้ไม่ยากในยุคปัจจุบัน โดยใช้กล้องถ่ายภาพและกล้องโทรทรรศน์ธรรมดา และเป็นโครงงานอย่างง่ายๆ ที่นักเรียนและอาจารย์สามารถทำได้ อย่างไรก็ตาม การวัดระยะทางถึงดวงจันทร์โดยใช้วิธีนี้เพื่อให้ได้ความแม่นยำสูงในระดับนั้นทำได้ยากในทางปฏิบัติ เนื่องจาก
1) ดวงจันทร์มีความสว่างมากเมื่อเทียบกับดวงดาว ทำให้มักจะมองไม่เห็นดวงดาวในภาพเดียวกัน
2) ต้องอาศัยผู้สังเกตที่อยู่ห่างกันเป็นระยะห่างที่ไกลมากหลายร้อยหรือพันกิโลเมตร
3) ต้องอาศัยการระบุเวลาที่แม่นยำในการถ่ายภาพ เพื่อให้ได้ภาพของดวงจันทร์
แต่ในวันที่ 19 มกราคม 2019 หรือหนึ่งปีที่แล้ว เกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคาขึ้น ไม่เพียงเท่านั้น ระหว่างที่เกิดจันรุปราคาเต็มดวงนี้ ก็ได้เกิดอุกกาบาตชนเข้ากับดวงจันทร์ ที่สามารถสังเกตเห็นได้พร้อมกันทั่วโลก (ในด้านที่เป็นเวลากลางคืน) และถูกบันทึกเอาไว้พร้อมกันโดยนักดาราศาสตร์จำนวนมากมายที่กำลังสังเกตจันทรุปราคาอยู่
ซึ่งเหตุการณ์นี้ เป็นประจวบเหมาะที่สุดที่จะสามารถวัดระยะห่างถึงดวงจันทร์โดยวิธีพารัลแลกซ์ได้ เนื่องจากเงื่อนไขทั้งสามเบื้องต้นนั้นได้ถูกแก้ไปโดยปริยาย
1) ดวงจันทร์มีความสว่างลดลงอย่างมาก เนื่องจากเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง
2) มีผู้สังเกตจำนวนมาก กำลังสังเกตดวงจันทร์พร้อมกัน ทั่วทุกมุมโลก
3) การระบุเวลาที่เกิดขึ้นสามารถทำได้โดยอัตโนมัติ เนื่องจากหลุมอุกกาบาตที่เกิดขึ้นเป็นตัวยืนยันว่าเวลาที่บันทึกภาพนั้นมีความเหลื่อมล้ำกัน แม่นยำในระดับเสี้ยววินาที
ด้วยเหตุผลเหล่านี้ จึงทำให้ผมเกิดความสนใจที่จะลองทำการวัดระยะทางถึงดวงจันทร์โดยระยะทางพารัลแลกซ์ โดยต้องการจะทราบว่าด้วยเหตุการณ์ที่ประจวบเหมาะเช่นนี้ เราจะสามารถวัดได้แม่นยำเพียงใด และจะสามารถทำสถิติความแม่นยำของการวัดระยะทางโดยวิธีนี้ได้หรือไม่ จึงได้ทำการรวบรวมภาพจันทรุปราคาที่ติดการชนของอุกกาบาตที่ได้ส่งเข้ามาทางเว็บไซท์ Astronomy Picture of the Day (APOD) ที่ได้บันทึกเอาไว้โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นทั่วทุกมุมโลก
จากนั้น ผมได้ติดต่อกับ Jorge I. Zuluaga จาก University of Antioquia ที่กำลังทำการศึกษาการชนของอุกกาบาตบนดวงจันทร์จากภาพถ่ายของนักดาราศาสตร์สมัครเล่นเช่นเดียวกัน และได้มีการ collaborate กัน เพื่อนำภาพที่ได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการชนกันของอุกกาบาต
สิ่งที่ทำให้งานนี้น่าสนใจมากๆ ก็คือข้อมูลที่ได้ทั้งหมดเป็นข้อมูลที่มาจากนักดาราศาสตร์สมัครเล่นทั้งสิ้น สิ่งที่เราสนใจอย่างหนึ่งก็คือ ในยุคปัจจุบันนี้ นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังสามารถมีส่วนร่วมในงานวิจัยทางดาราศาสตร์อีกหรือไม่ ในยุคที่การสังเกตเกือบทั้งหมดถูกทำให้อัตโนมัติโดยหุ่นยนต์ และกล้องโทรทรรศน์ที่ออกแบบมาสำหรับงานวิจัย กล้องโทรทรรศน์หลังบ้านของนักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังสามารถให้ข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ในงานวิจัย และเปิดเผยข้อมูลที่นักดาราศาสตร์อาชีพยังไม่ทราบได้อีกหรือไม่
จากความสงสัยส่วนตัวเกี่ยวกับพารัลแลกซ์ดวงจันทร์ จึงกลายไปเป็นการระบุตำแหน่งการชนของอุกกาบาตจากภาพถ่ายทั้ง 7 ไปจนถึงการวัดความสว่างของการชนเพื่อหาพลังงานจากการชน ซึ่ง collaborator ของผมนำไปเพื่อคำนวณหาเส้นทางเดินของอุกกาบาตที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์นี้ต่อไป
จากการศึกษา ทำให้เราพบว่าการชนของอุกกาบาตนี้นั้นเกิดขึ้นที่พิกัด (−29.43, −67.89) บนดวงจันทร์ และภารกิจของดาวเทียม LRO ในอนาคตอาจจะสามารถยืนยันหลุมอุกกาบาตที่เกิดขึ้นใหม่ในบริเวณนี้ของดวงจันทร์ได้ นอกจากนี้เรายังสามารถคำนวณความสว่างที่เกิดขึ้นจากการชนกันของหลุมอุกกาบาต จากภาพถ่ายโดยกล้องถ่ายภาพธรรมดาของนักดาราศาสตร์สมัครเล่น ซึ่งได้ค่าที่สอดคล้องกับค่าที่วัดได้จาก MIDAS ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์ของนักดาราศาสตร์อาชีพเพียงกล้องเดียวที่บันทึกปรากฏการณ์นี้เอาไว้ โดยแมกนิจูดที่วัดได้มีค่าอยู่ที่ประมาณ 6.7 หรือสามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า หากเราบังเอิญว่ากำลังแหงนหน้ามองดวงจันทร์ในขณะเสี้ยววินาทีนั้นพอดี
แต่ที่สำคัญกว่านั้น คือเราสามารถยืนยันได้ว่าแม้กระทั่งในทุกวันนี้ นักดาราศาสตร์สมัครเล่นก็ยังสามารถให้ข้อมูลอันสำคัญและเป็นส่วนหนึ่งของการไขความลับของธรรมชาติได้อยู่
ส่วนเรื่องของการวัดระยะทางโดยวิธีพารัลแลกซ์ดวงจันทร์นั้น ถึงแม้จะไม่ใช่หัวข้อหลักของงานวิจัยนี้อีกต่อไป แต่เราก็ยังคงใส่รายละเอียดนั้นเอาไว้ในส่วนของ appendix
ในภาพนี้ เป็นภาพดวงจันทร์ระหว่างการเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2019 ปีที่แล้ว โดยภาพทุกภาพถูกบันทึกเอาไว้ในเสี้ยววินาทีเดียวกัน โดยผู้สังเกตจากตำแหน่งบนพื้นโลกที่แตกต่างกัน 7 ตำแหน่ง และภาพดวงจันทร์ทั้ง 7 ภาพถูกนำมาแสดงเอาไว้บนภาพเดียวโดยเทียบกับดาวเบื้องหลังเพื่อแสดงให้เห็นว่าดวงจันทร์ที่ผู้สังเกตแต่ละคนเห็นนั้นแตกต่างกันมากเพียงใด เราจะพบว่าตำแหน่งปรากฏของดวงจันทร์นั้น เป็นการสะท้อนถึงตำแหน่งบนผิวโลกของผู้สังเกตไปโดยปริยาย โดยผู้สังเกตที่อยู่ห่างกันมากที่สุดมีระยะปรากฏของดวงจันทร์ห่างกันถึง 2-3 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางดวงจันทร์
จากข้อมูล เราพบว่าข้อมูลที่มีนั้นสามารถระบุระยะห่างถึงดวงจันทร์ได้แม่นยำในระดับเพียงไม่กี่ร้อยกม. หรือ 0.01% โดยในขณะที่เกิดการชนกันของอุกกาบาตนั้นศูนย์กลางของดวงจันทร์อยู่ห่างจากศูนย์กลางของโลก 356,553 กม. ถึงแม้ว่าการวัดระยะห่างถึงดวงจันทร์ในปัจจุบันสามารถทำได้โดยการยิงเลเซอร์ไปที่ Lunar Laser Ranging experiment แต่การวัดระยะห่างในครั้งนี้ก็น่าจะเป็นการวัดโดยวิธี parallax ที่แม่นยำที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ เป็นเรื่องที่น่าเสียดายว่าไม่ได้มีหน่วยงานใดเก็บบันทึกสถิตินี้เอาไว้ แต่จนถึงทุกวันนี้ผู้เขียนก็ยังไม่สามารถหาบันทึกการวัดระยะห่างดวงจันทร์โดยวิธีพารัลแลกซ์ที่แม่นยำกว่านี้ได้
โดยความแม่นยำของระยะห่างนั้น มีความแม่นยำเพียงพอที่จะสามารถสังเกตเห็นความแตกต่างของระยะห่างระหว่างส่วนผิวของดวงจันทร์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด ไปจนถึงส่วนที่อยู่บริเวณขอบ มากเพียงพอที่เราจะสามารถสังเกตเห็นว่าดวงจันทร์เป็นทรงกลม และดวงจันทร์มีการ "ส่าย" เล็กน้อย เมื่อผู้สังเกตจากสองทวีปทำการมองดวงจันทร์จากคนละฟากของโลก การส่ายนี้เราเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า diurnal motion ซึ่งเราสามารถสังเกตเห็น diurnal motion ได้ในภาพนี้ โดยเฉพาะหากเราใช้เทคนิคการมองภาพสามมิติมามองภาพดวงจันทร์
ข้อมูลทั้งหมดนี้ ได้ถูกตีพิมพ์ลงในวารสาร Monthly Notices of the Royal Astronomical Society เมื่อวานนี้ ซึ่งเป็นเวลาหนึ่งปีหลังจากเกิดอุกกาบาตพอดี [1] แต่สามารถหาอ่านเวอร์ชั่นฟรีได้ทาง arXiv preprint[2]
ซึ่งหากเรากลับมาที่คำถามเดิม ว่าเราสามารถเห็นดวงจันทร์ได้เหมือนกันหรือไม่? คำตอบก็คือ แม้ว่าเราจะเห็นดวงจันทร์ดวงเดียวกัน แต่ดวงจันทร์ที่เราเห็นก็แตกต่างกันเล็กน้อย และด้วยความแตกต่างนี้เอง ที่สามารถช่วยให้เราเข้าใจอะไรได้มากขึ้นอีกนิดหนึ่งเกี่ยวกับเอกภพ
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://academic.oup.com/…/article-abstr…/492/1/1432/5682492
[2] https://arxiv.org/abs/1901.09573
[3] https://www.facebook.com/…/a.255101608033…/932010020342538/…
apod 在 ΣSigma二次元解密 Youtube 的評價
►訂閱以獲得更多遊戲資訊
https://www.youtube.com/channel/UCF4r7ZrULUjwkA1mfo-MC9g?sub_confirmation=1
►追蹤我們的FB粉專以獲得我們的更新資訊
https://www.facebook.com/FromTheOtherWorld/
►Twitch 實況
https://www.twitch.tv/fromtheotherworld2017
►歐付寶Donate網址
https://payment.allpay.com.tw/Broadcaster/Donate/B6BC4AABA0871874F5BF10CC3E6AD182
Music:
Phlex - Light Me Up (Take Me Home Tonight) (feat. Caitlin Gare)
Support Phlex:
http://youtube.com/PhlexOfficial
http://facebook.com/PhlexMusic
http://soundcloud.com/phlex-dubstep
http://twitter.com/CharlesBridle
Support Caitlin Gare:
http://youtube.com/caitling999
http://facebook.com/cgaremusic
http://soundcloud.com/caitlingare
http://twitter.com/caitlin_gare
apod 在 ブライトサイド | Bright Side Japan Youtube 的評價
私たちが住む惑星を周回する人工物。国際宇宙ステーション以上に大きな物はありません。ISSは1秒間に8kmの速度で宇宙を通過します。ISSは、地球の約402km上空を飛んでいるスピードレーサー。もちろん、中には数多くの宇宙飛行士が乗っています。このステーションは、米国、カナダ、ヨーロッパ、ロシア、そして日本の宇宙機関で共有されているからこそ、「国際」という名前が付いているんです。
共同取り組みの目的は、将来の宇宙ミッションの研究。例えば、月や火星に行くなど!その素晴らしい構造は、日中でも太陽が反射して輝いているので、地球からでも見える事があります。一目見てみたいという人は、今あなたが住んでいる町の上をいつ通るのかチェックできるアプリがありますよ。
音楽: https://www.epidemicsound.comより
タイムスタンプ:
乗組員一人当たりのコスト 0:41
ISSに何人の乗組員が乗っているのか 1:20
この写真の魅力 2:09
ISSの写真の撮り方 4:34
現在のISSが何をやっているのか(ネタバレ注意:植物を植えてる!?)5:33
#ISS #宇宙 #ブライトサイド
プレビュー画像引用元:
黒点のない太陽を横切る宇宙ステーション:レイニー・コラクルシオより/NASA、https://apod.nasa.gov/apod/ap190715.html
アニメーションはブライトサイドにより作成されています。
概要:
― ISSは1秒間に8kmの速度で宇宙を通過します。地球を一周するのにかかる時間は1時間半。そして、一日15回も周ります。
―このステーションは、米国、カナダ、ヨーロッパ、ロシア、そして日本の宇宙機関で共有されているからこそ、「国際」という名前が付いています。
―2010年時点での推測コストは、約1500億ドル。乗組員一人当たりのコストは、なんと750万ドルなんです。国際宇宙ステーションが、歴史上最も高価な人口構造と言われているのも、不思議じゃありませんね!
―2019年3月時点で、合計236人が勤務しており、彼らは18ヶ国のさまざまな国を代表しています。
―その素晴らしい構造は、日中でも太陽が反射して輝いているので、地球からでも見える事があります。
―目が奪われるようなタイミングを、コラクルシオがしっかりキャッチして写真に収めたというのは、衝撃的ですよね。
―更に興味深い事と言えば、彼女がその写真を撮った瞬間に、目に見える黒点がなかったという事。これは非常にまれなんです。とは言え、太陽に全く黒点がない良い時期は、今なんです!
―コラクルシオの写真は、実際には2つの別々の写真を合成しています
―現在ISSのクルーが取り組んでいる植物の栽培。今年の11月に、エスパノーラ・チリペッパーを栽培する予定なんです!
―長期的なミッションがある宇宙飛行士にとって、植物の栽培は必要不可欠。そして果物、得にこの唐辛子は、健康にも欠かせないビタミンCがたっぷり入っているので完璧なんです。
―2015年に、宇宙飛行士のスコット・ケリーらは、ガーデニングプログラムの一環としてヒャクニチソウを育てました。彼らは、「べジー」と呼ばれる装置を使ったんです。これは、宇宙で植物を栽培するための、小さな船上の温室の役割を果たします。
―ISSの宇宙飛行士は、他の天体の植民地化を開始した後、私たちが困らないように食料減を作ろうとしています!
ストックマテリアル (写真、動画など):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru
エピデミックサウンド https://www.epidemicsound.com/
ブライトサイドのチャンネル登録 https://goo.gl/31w525
-------------------------------------------------------------------------------------------
5分でできるDIY Youtube https://goo.gl/ffui6
落書きキングダム https://bit.ly/2Sy1lPk
123 GO! Japanese https://bit.ly/2JUFBwB
私たちの実録日記 https://bit.ly/2OHK5sk
わんぱくスライムサム https://bit.ly/2PheoFI
----------------------------------------
声の出演:雪月花(Studio Kiwi)
apod 在 ブライトサイド | Bright Side Japan Youtube 的評價
2000年2月14日。例年通りのバレンタインデー💝花、甘いもの、2000年代の幕開け…歴史に残りそうな日ですね。宇宙船が惑星エロスとの念願のデート。この「デート」は、エンジン不点火によって誤った軌道にずれて標的を逃したため、危うく実現が不可能になるところでした。しかし、エンジニアはさらに1年、NEARに太陽の周りを回らせて、遂に目的の場所に到達することに成功したのです。
惑星エロスは、宇宙船が周りを旋回している太陽系の中で最も小さな物体です。エロスが特別な理由はこれだけではありません。殆どの惑星は木星と火星の軌道上に存在し、我々から安全な距離を保っています。しかし、エロスは例外。エロスは初の地球近傍小惑星(NEA)となったのです!現在我々は地球にかなり近づいてきたこの惑星を慎重に観察しています!
さて、今回はそんなエロスとその他のびっくり宇宙物体を見ていきましょう😲🌌我々の太陽系を訪れた初の訪問者とは?!
#ブライトサイド
写真出典:
エロスの影: By NASA/JPL/JHUAPL – https://photojournal.jpl.nasa.gov/catalog/PIA02487, Public Domain https://creativecommons.org/publicdomain/zero/1.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=81479327
CC BY 3.0 https://creativecommons.org/licenses/by/3.0:
Fried Egg Nebula: By ESO/E. Lagadec - http://www.eso.org/public/images/eso1136a/, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=16745349
銀河核といて座B2: By ESO/APEX & MSX/IPAC/NASA, https://www.eso.org/public/norway/images/eso0924e/?lang
芸術家によるかに座55番星e: By ESA/Hubble, CC BY 4.0 https://creativecommons.org/licenses/by/4.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=47035551
うみへび座: By Adam Block/Mount Lemmon SkyCenter/University of Arizona - http://www.caelumobservatory.com/gallery/abell33.shtml, CC BY-SA 3.0 us https://creativecommons.org/licenses/by-sa/3.0/us/deed.en, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=20593961
CC BY-SA 4.0 https://creativecommons.org/licenses/by-sa/4.0:
並んだ3つの白いiPhone(左から): 4, 5, 6: By Eric Jiang, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=71762135
開いたファルコンウィングドアのテスラ モデル X P100DL:By Turnstange, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=72862715
惑星エロス復元: By NEAR Project, NLR, JHUAPL, Goddard SVS, NASA, Public Domain https://creativecommons.org/publicdomain/zero/1.0, https://apod.nasa.gov/apod/ap010605.html
NASA Image and Video Library
アニメーションはブライトサイド製作です。
ストックマテリアル (写真、動画など):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru
エピデミックサウンド https://www.epidemicsound.com/
ブライトサイドのチャンネル登録 https://goo.gl/31w525
-------------------------------------------------------------------------------------------
声の提供
さくらい声優事務所
apod 在 APOD Videos 的八卦
APOD Videos. @APODVideos29.3K subscribers163 videos. More about this channel. Subscribe. HomeVideosShorts. Shorts. Expanding Plume from DART's Impact. ... <看更多>